SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
พันธุศาสตร์ประชากร
  Population genetics

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
พันธุศาสตร์ประชากร เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความถี่
ของยีนหรือแอลลีล และการเปลี่ยนแปลงความถี่ของจีโนไทป์ในยีนพูล
ของประชากร และปัจจัยที่ทาให้ความถี่ของแอลลีลเปลี่ยนแปลงนั่น
คือเกิดวิวัฒนาการนั่นเอง

 ยีนพูล (gene pool) ของประชากร คือยีนทั้งหมดที่มีอยู่ใน
 ประชากรซึ่งประกอบด้วยแอลลีลทุกแอลลีลของสมาชิกทุกตัวใน
 ประชากร

                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
วิวัฒนาการ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับกลุ่มประชากรไม่ใช่
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสมาชิกแต่ละตัวในประชากรนั้น
    ดังนั้น การเปลียนแปลงลักษณะใหม่ที่เกิดขึ้นในประชากรจะทา
                   ่
ให้เกิดวิวัฒนาการได้นั้น ต้องทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของ
แอลลีลในประชากร

    ความถีของจีโนไทป์ คือ ปริมาณจีโนไทป์ชนิดต่างๆ เมื่อคิด
          ่
เป็นสัดส่วนหรือร้อยละต่อปริมาณจีโนไทป์ทงหมดของยีนในตาแหน่ง
                                       ั้
เดียวกันในประชากร

                                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
ความถีของแอลลีล คือ ปริมาณของแอลลีลชนิดต่าง ๆ
             ่
เมื่อคิดเป็นสัดส่วน หรือร้อยละต่อจานวนแอลลีลทั้งหมดของยีน
ตาแหน่งเดียวกันในประชากร ในกรณีที่ทราบปริมาณจีโนไทป์ชนิด
ต่าง ๆ ในประชากรสามารถคานวณหาความถี่ของแอลลีลแต่ละชนิด
ได้




                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
 ถ้ายีนพูลในประชากรหนึ่งเป็นไปตามทฤษฎีของฮาร์ดี– ไวน์เบิร์ก
  นักเรียนคิดว่าองค์ประกอบทางพันธุกรรมของประชากรมีการ
  เปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพราะเหตุใด
     ตอบ
 ถ้ายีนพูลในประชากรเป็นไปตามทฤษฎีของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
 องค์ประกอบทางพันธุกรรมของประชากรจะคงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
 เนื่องจากความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์คงที่ไม่
 เปลี่ยนแปลง

                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
 นักเรียนคิดว่าในธรรมชาติความถี่ของแอลลีลในประชากรของ
สิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพราะเหตุใด

  ตอบ

ในธรรมชาติความถี่ของแอลลีลในประชากรของสิ่งมีชวิตมีการ
                                                ี
เปลี่ยนแปลง เนื่องจากประชากรของสิ่งมีชีวิตอาจมีการอพยพไป
มาระหว่างกลุมประชากร มีการเลือกจับคู่ผสมพันธุ์กัน มีการ
            ่
คัดเลือกโดยธรรมชาติ หรืออาจกล่าวได้ว่าประชากรไม่อยู่ในภาวะ
สมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
ประชากรของสัตว์ชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในป่าบนเกาะขนาด
เล็กกับที่อาศัยอยู่ในป่าบนเกาะขนาดใหญ่ ประชากรของสัตว์
บริเวณใดทีโ่ ครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีแนวโน้มที่จะ
เป็นไปตามภาวะสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
 ตอบ

ประชากรของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในป่าขนาดใหญ่มีแนวโน้มที่
โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรจะเป็นไปตามภาวะสมดุล
ของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
นักเรียนคิดว่าในธรรมชาติจะเกิดภาวะสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์
เบิร์ก ได้หรือไม่เพราะเหตุใด

ตอบ

      ไม่ได้ เนื่องจากประชากรในธรรมชาติไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขของ
      ภาวะสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก กล่าวคือ ประชากรอาจ
      มีขนาดเล็ก มีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกลุ่มประชากร
      อาจเกิดมิวเทชัน สมาชิกมีการเลือกคู่ผสมพันธุ์กัน และเกิด
      การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
สรุป

ประชากรจะอยู่ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก หรือ ไม่เกิด
วิวัฒนาการ จะต้องมีเงื่อนไขคือ มีประชากรขนาดใหญ่
ไม่มีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกลุ่มประชากร ไม่เกิดมิวเทชัน
สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่า ๆ กัน และไม่เกิดการ
คัดเลือกโดยธรรมชาติ


                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
กิจกรรมที่ 18.1 การใช้ทฤษฎีของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก

จุดประสงค์ของกิจกรรม เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้ทฤษฎีของฮาร์ดี –
ไวน์เบิร์กในการคานวณหาความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์ใน
ประชากรได้




                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
1) ในประชากรกลุ่มหนึ่งพบว่ามีประชากรหมู่เลือด Rh-
อยู่ 16% เมื่อประชากรนี้อยู่ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
จงคานวณหาความถี่ของแอลลีลในประชากร
       ตอบ

หมู่เลือด Rh- เป็นลักษณะด้อยจึงมีความถี่ของจีโนไทป์
               q2 = 16/100 = 0.16
ดังนั้น ความถี่ของแอลลีล q ในประชาการเท่ากับ 0.4
ขณะที่ความถี่ของแอลลีล p เท่ากับ 1 – 0.4 = 0.6

                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
2) ประชากรของหนู ณ ทุ่งหญ้าแห่งหนึ่งอยู่ในภาวะสมดุลของฮาร์ด-ไวน์
                                                            ี
 เบิร์ก พบว่า 36% ของประชากรหนูสีเทาซึ่งเป็นลักษณะด้อย (aa)
 นอกจากนั้นเป็นหนูสีดาซึ่งเป็นลักษณะเด่น
       2.1) จานวนประชากรของหนูที่มีจีโนไทป์แบบเฮเทอโรไซกัสเป็นเท่าใด
      ตอบ
ประชากรหนูสีเทาที่มีลักษณะด้อยมีความถี่ของจีโนไทป์ เท่ากับ q2=36/100 = 0.36
             ดังนั้น ความถี่ของแอลลีล        q ในประชาการเท่ากับ 0.6
                     ขณะที่ความถี่ของแอลลีล p เท่ากับ 1 – 0.6 = 0.4
ดังนั้น สามารถหาความถี่ของจีโนไทป์ของประชากรที่มีจีโนไทป์แบบเฮเทอโรไซกัสได้จาก
ค่า 2pq ซึ่งมีค่าเท่ากับ 2(0.4)(0.6) = 0.48 หรือคิดเป็น 48% ของประชากร
หนูทั้งหมด
                                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
2.2) ความถี่ของแอลลีล a ในยีนพูลของประชากรเป็นเท่าใด

 ตอบ       ความถี่ของแอลลีล a ในยีนพูลของประชากรเท่ากับ q = 0.6

2.3) ถ้าประชากรหนูมีจานวน 500 ตัว จะมีหนูที่มีลักษณะขนสีดาที่มีจโี นไทป์
แบบฮอมอไซกัสกี่ตัว
  ตอบ
ประชากรหนูทมีลักษณะขนสีดาที่มีจีโนไทป์แบบฮอมอไซกัสสามารถหาได้จาก
             ี่
ค่า p2 ซึ่งมีค่าเท่ากับ (0.4)(0.4) = 0.16 ถ้าประชากรหนูมีจานวน
500 ตัว จะมีหนูที่มีลักษณะขนสีดาที่มีจโี นไทป์แบบฮอมอไซกัสเท่ากับ
(16/100)(500) = 80 ตัว
                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
The End


          ฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 

More from Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

พันธุศาสตร์ประชากร