SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
รายงาน
เรื่อง การจัดการในบ้าน
จัดทำโดย
นายอนุพันธ์ พยัคฆ์ เลขที่ 1
นายวุฒิชัย มูลศรี เลขที่ 3
นายสมประสงค์ สารักษ์ เลขที่ 9
นางสาวเวทกา สัญจรดี เลขที่ 17
นางสาวขวัญฤทัย ผลชะอุ่ม เลขที่ 18
นางสาวสุธิดา ศรีมันตะ เลขที่ 19
นางสาวสุดารัตน์ กลมเกลี่ยง เลขที่ 42
นางสาวสุธาธาร โอบอ้วน เลขที่ 43
เสนอ
คุณครูจิราพร ยศศรีสุราษฏร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
การจัดการในบ้าน
1.การจัดการด้านการวางแผนการทางานและการใช้ทรัพยากรในบ้าน
การจัดการด้านการวางแผนการทางานและการใช้ทรัพยากรในบ้าน เป็นการบริการหรือคิด
ตระเตรียมล่วงหน้าเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆในบ้าน เช่น การประกอบอาหาร การทา
ความสะอาดในบ้าน การทาสวนครัว เป็นต้น
ทรัพยำกรที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกำรด้ำนวำงแผนกำรทำงำน ในการจัดการนั้นจะ
เกี่ยวข้องกับทรัพยากรต่างๆ ดังนี้
(1) ทรัพยากรส่วนบุคคล เป็นสิ่งที่มีประจาตัวบุคคล เช่น เวลา แรงงาน ความสามารถ
สติปัญญา เป็นต้น
(2) ทรัพยากรประเภทวัสดุและบริการ เป็นสิ่งของหรือบริการที่อานวยความสะดวกให้แก่
ครอบครัว เช่น เงิน สิ่งของเครื่องใช้ อาหาร รวมทั้งงานปริการจากภาครัฐและเอกชน เช่น
โรงเรียน การไฟฟ้า การประปา เป็นต้น
(3)ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ
สมาชิกในครอบครัว เช่น ดิน ฟ้า อากาศ ฤดูกาล แม่น้าลาคลอง เป็นต้น
1.1 การจัดการด้านวางแผนการทางาน
งานบ้านมีหลายรูปแบบ การเรียนรู้เพื่อการวางแผนการทางานในบ้านจะช่วยให้สามารถทางาน
ทุกอย่างในบ้านได้ตามต้องการ ดังต่อไปนี้
1)สำรวจและวิเครำะห์งำน เป็นขั้นตอนสารวจงานที่ได้รับมอบหมายและกิจวัตรส่วนตัว
พร้อมวิเคราะห์และเขียนบันทึกว่าจะทาในวันใด เวลาใด
2)วำงแผน ในการวางแผนทางานบ้านนั้น ควรกาหนดเวลาในการทางานบ้านที่รับผิดชอบไว้
ล่วงหน้าว่าจะทางานใด ในเวลาใด
3)ปฏิบัติงำนตำมแผน เป็นขั้นตอนการทางานตามตารางที่กาหนดไว้ และจดบันทึกงานที่ไม่
สามารถทาให้หรือต้องดาเนินการปรับปรุงแก้ไข พร้อมทั้งควรหาแนวทางแก้ไขว่าจะทาได้อย่างไร
4)กำรประเมินผล การประเมินผลในที่นี้เป็นการสารวจประสิทธิภาพของแผนงานที่ใช้ว่าทา
ได้จริงหรือไม่ ผลที่ได้รับเป็นไปตามความคาดหวังหรือไม่ และไม่ควรเข้าข้างตนเอง
การประเมินผลสามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้
1.ใช้การสังเกตและพิจารณาว่าจุดไหนเป็นอย่างไร แล้วบันทึกไว้ เช่น เวลาในการทางานน้อย
ไป ตัดหญ้าตอนบ่ายแดดร้อนมากควรเปลี่ยนเวลา แล้วแก้ลงในแผนงานที่ปฏิบัติใหม่
2.ให้สมาชิกในบ้านร่วมแสดงความคิดเห็น โดยเปิดโอกาสให้สมาชิกวิพากษ์วิจารณ์แผนงานที่
ทา เพื่อนาข้อมูลมาพัฒนาต่อไป
3.เปรียบเทียบกับมาตรฐานของผู้อื่น โดยดูผลงานผู้อื่นว่าเป็นอย่างไร เช่น เปรียบเทียบความ
เรียบของการรีดผ้า เปรียบเทียบเวลาในการทางานบ้านของตนเองกับผู้อื่น เป็นต้น
4.เขียนจาแนกระดับคุณภาพแล้วพิจารณาว่าตนเองอยู่ในระดับใด ถ้าพบว่าตนเอง ระดับกลาง
และระดับต่า ควรปรับปรุงให้ดีขึ้น
1.2 ประโยชน์ของการวางแผนการทางาน
การวางแผนการทางานมีประโยชน์ ดังนี้
1.ช่วยให้ผู้ที่รับผิดชอบงานทราบล่วงหน้าว่าจะทางานใด เมื่อใด
2.สามารถทางานที่รับผิดชอบได้สาเร็จตามที่มุ่งหวัง
3.ฝึกนิสัยให้เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ มีเหตุผล และรอบคอบ
4.ก่อให้เกิดการประหยัดทั้งเวลาและแรงงาน
5.ฝึกให้เกิดนิสัยในการทางาน ต่อไปจะทาได้รวดเร็วและเกิดความผิดพลาดน้อย
1.3 ข้อควรคานึงในการวางแผนการใช้ทรัพยากรในครอบครัว
สาหรับการวางแผนการใช้ทรัพยากรในครอบครัว จะต้องคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1.เวลำ ทุกคนมีเวลาท่ากัน คือ วันละ 24 ชั่วโมง แต่ละคนใช้เวลาในการทางานไม่เท่ากัน ผู้ที่
จัดการกับเวลาได้เป็นอย่างดีจึงจะใช้เวลาของแต่ละวันทางานได้อย่างคุ้มค่า
2.แรงงำน เกี่ยวพันกับสุขภาพ ผู้มีสุขภาพดีย่อมได้เปรียบกว่าผู้ที่มีสุขภาพไม่ดี และการรู้จัก
จัดการเรื่องแรงงานจะช่วยให้เสียเวลาในการทางานน้อยลง
3.ควำมรู้ สติปัญญำ ในการวางแผนใช้ทรัพยากรส่วนบุคคล จะต้องคานึงถึงภูมิความรู้ความ
ถนัดของแต่ละบุคคล เพื่อจะได้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.ควำมสำมำรถ เป็นทรัพยากรส่วนบุคคลที่แต่ละคนมีไม่เหมือนกันและไม่เท่ากัน การ
ทางานบ้านจะต้องพิจารณาถึงความสามารถของบุคคลด้วย เพราะการที่ได้ทางานตาม
ความสามารถจะช่วยให้ทางานได้ดี
5.ทักษะ ในการทางานบ้านจะต้องใช้ทักษะกระบวนการใช้งาน ทักษะการแก้ปัญหาเมื่อเกิด
อุปสรรคหรือข้อผิดพลาดจากการทางาน
6.เงิน ในครอบครัวจะต้องมีการหาเงินมาเลี้ยงดูครอบครัว จึงต้องมีการบริหารจัดการวาง
แผนการใช้เงิน
1.4 การจัดการการเงินของครอบครัว
ในการจัดการการเงินของครอบครัว สมาชิกควรปฏิบัติ ดังนี้
1)มีกำรวำงแผนกำรใช้เงินของครอบครัวที่ดี สมาชิกในครอบครัวควรรู้จักวางแผนใช้
จ่ายเงินในเรื่องต่างๆ ให้เหมาะสมกับรายได้ โดยจัดวางแผนประมาณรายจ่ายหรือทา
งบประมาณและจัดแยกเป็นหมู่
2)มีกำรปฏิบัติตำมแผนกำรใช้เงิน ในการปฏิบัติตามแผนการใช้เงินนั้น ควรระวังและ
ควบคุมดูแลให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้
3)มีกำรประเมินผล ในการประเมินผลการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณที่วางไว้ ควรมีการ
ตรวจสอบค่าใช้จ่าย พิจารณาถึงความคุ้มค่าของเงินที่จ่ายไป พิจารณาถึงความพอใจของสมาชิก
รายจ่ายที่วางไว้มากไปหรือน้อยไป
2.อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการทาความสะอาดบ้าน
อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการทาความสะอาดบ้านมีหลายชนิด ซึ่งเราควรพิจารณาเลือกให้
เหมาะสมและใช้งานให้ถูกต้องตามชนิดของเครื่องมือ อุปกรณ์เหล่านั้น ได้แก่
เครื่องดูดฝุ่น
เครื่องดูดฝุ่นเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นิยมใช้กันทั่วไป มีหลายรูปแบบให้เลือกใช้ โดยพิจารณา
ดังนี้
1.ประสิทธิภาพการใช้งานที่สามารถใช้ทาความสะอาดได้หลายลักษณะ เช่น ดูดฝุ่นตามพื้น
พรม เป็นต้น
2.สะดวกและปลอดภัยต่อการใช้งาน
3.มีการรับรองคุณภาพของเครื่อง
4มีความแข็งแรง ทนทาน
5.มีขายทั่วไป สามารถซ่อมแซมได้เมื่อเกิดการชารุดและหาซื้ออะไหล่ได้ง่าย ราคาไม่แพง
1)กำรใช้ ใช้ตามประสิทธิที่ระบุไว้ เช่น ดูดฝุ่น ดูดเศษผงที่พื้น ที่พรม
2)กำรเก็บรักษำ เช็ดฝุ่นและม้วนสายไฟให้เรียบร้อย
ไม้กวาด
ไม้กวาดเป็นเครื่องมือสาหรับทาความสะอาดพื้นต่างๆ มีหลายชนิดซึ่งควรเลือกใช้ให้เหมาะสม
กับลักษณะของงาน ดังนี้
1)ไม้กวำดดอกหญ้ำ ด้ามจับทาด้วยไม้กลม ยาว ปลายทาด้วยดอกหญ้ามัดติดกับด้าม
(1)กำรเลือก ควรเลือกด้ามจับที่ไม่มีมอดกิน จับถนัดมือ และปลายดอกหญ้ามีความหนา
พอสมควร
(2)กำรใช้ ใช้กวาดพื้นแห้งและเรียบ เช่น พื้นไม้ พื้นซีเมนต์ พื้นหินอ่อน เป็นต้น
(3)กำรเก็บรักษำ เอาเชือกร้อยที่ปลายไม้กวาด แขวนให้ปลายไม้กวาด แขวนให้ปลายดอก
หญ้าสูงกว่าพื้นเล็กน้อย
2)ไม้กวาดทางมะพร้าว ทาด้วยทางมะพร้าว ที่พบเห็นทั่วไปมี 2 ชนิด คือ ชนิดมีปลอกสวม
และชนิดมีด้ามจับยาวมาก ซึ่งทาด้วยไม้ไผ่กลม
(1)กำรเลือก ควรเลือกด้ามตรงจับเหมาะมือ ด้ามไม่มีมอดกันกิน
(2)กำรใช้ ใช้กวาดพื้นผิวหยาบ เช่น พื้นดินหรือพื้นที่มีน้าขัง ใช้กวาดน้าเมื่อล้างพื้น
ประเภทต่างๆ เช่น พื้นซีเมนต์ เป็นต้น
(3)กำรเก็บรักษำ เก็บในที่ร่มและที่แห้ง ไม่ควรตากแดดหรือตากฝน
3)ไม้กวาดเสี้ยนตาล ปลายสาหรับกวาดทาด้วยเสี้ยนตาล ส่วนด้ามทาด้วยไม้ไผ่กลมเล็ก
ยาวประมาณ 3 เมตร
(1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีด้ามตรง เสี้ยนตาลมัดติดกับด้ามแน่นหนา
(2)กำรใช้ ใช้ทาความสะอาดบริเวณที่สูง เช่น กวาดเพดาน ปัดหยากไย่ เป็นต้น
(3)กำรเก็บรักษำ เก็บในที่ร่มและที่แห้ง ไม่ตากแดด ตากฝน วางตั้งกับพื้น หรือวางพิงเอา
ด้ามลง
4)ไม้กวาดไม้ไผ่ ทาจากไม้ไผ่ทั้งด้ามจับและปลายไม้กวาด ปลายไม้กวาด มีลักณะะเป็นีี่
หลายซี่ มัดด้วยเชือกหรือหวายแผ่เป็นแผง
(1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีด้ามตรง ไม่เล็กหรือไม่ใหญ่เกินไป ไม่มีมอดกัดกิน รอยมักแน่หนา
(2)กำรใช้ ใช้กวาดใบไม้ในสนาม กวาดเศษกระดาษบนพื้น
(3)กำรเก็บรักษำ เก็บในที่ร่มและที่แห้ง ไม่ควรตากแดดหรือตากฝน จัดเก็บโดยการแขวน
หรือวางราบกับพื้น หรือวางตั้งกับพื้น หรือวางพิงเอาด้ามลงก็ได้
5)ไม้กวาดขนไก่ เป็นพู่ทาด้วยขนไก่ ยาวประมาะ 25-50 เีนติเมตร ด้ามจับมีทั้งที่เป็น
หวายและพลาสติก ที่ปลายด้ามมักจะโค้งงอ หรือมีเชือกร้อยเป็นห่วงไว้สาหรับแขวน
(1)กำรเลือก ควรเลือกท่าขนติดแน่นกับด้ามและหนาพอสมควร
(2)กำรใช้ ใช้ปัดฝุ่นตามที่ต่างๆ เช่น บนโต๊ะ เก้าอี้ ขอบหน้าต่าง เป็นต้น
(3)กำรเก็บรักษำ ควรเก็บในที่แห้ง โดยวิธีแขวนและเคาะฝุ่นออกให้หมดก่อนจัดเก็บ
6)ไม้กวาดไนลอน ปัจจุบันมีผู้ผลิตไม้กวาดและไม้ปัดฝุ่นทาด้วยเส้นใยไนลอน มีหลายชนิด
ทั้งที่ใช้กวาดพื้นเรียบเช่นเดียวกันกับไม้กวาดดอกหญ้า ชนิดกวาดพื้นหยาบเช่นเดียวกันกับไม้
กวาดทางมะพร้าว และบางชนิดจะเป็นพู่ใช้ปัดฝุ่นเช่นเดียวกันกับไม้กวาดขนไก่
(1)กำรเลือก ควรเลือกที่ด้ามจับมีขนาดเหมาะมือ
(2)กำรใช้ เลือกใช้ตามลักษณะงาน
(3)กำรเก็บรักษำ จัดเก็บโดยวิธีแขวน เพื่อไม่ให้ปลายไม้กวาดเสียรูปทรง
แปรงขัด
แปรงขัดเป็นเครื่องมือใช้สาหรับขัดสิ่งสกปรกเพื่อทาความสะอาดบ้านและสิ่งของเครื่องใช้
ต่างๆ จึงควรพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสม โดยแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
1)แปรงลวด ลักษณะขนแปรงสั้น ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ทาด้วยเส้นลวด ผนึกติดแน่น
บนแผงไม้ มีทั้งรูปร่างกลมรี รูปร่างเหลี่ยมยาว มีด้ามจับเพื่อใช้ขัดตามซอกมุม
(1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีลักษณะกลมรี กระชับเมื่อต้องการขัด เหมาะสาหรับพื้นที่กว้าง ไม่
มีซอกมุม
(2)กำรใช้ ใช้ขัดพื้นซีเมนต์ พื้นหินขัดที่สกปรกมาก
(3)กำรเก็บรักษำ ก่อนการจัดเก็บเพื่อป้องกันสนิม จะต้องตากให้ขนแปรงแห้งและเก็บเข้าที่
2)แปรงพลาสติก ขนแปรงทาด้วยพลาสติก มีทั้งชนิดที่มีด้ามจับและไม่มีด้ามจับ ทั้ง 2
ชนิดใช้ประโยชน์ต่างกัน
(1)กำรเลือก ควรเลือกที่ขนแปรงเรียบ เรียงกันแน่น จับกระชับมือ
(2)กำรใช้ ใช้ขัดโถส้วม
(3)กำรเก็บรักษำ เก็บในที่แห้ง
3)แปรงไนลอน ลักณะะขนแปรงสั้นประมาะ 1.5 เีนติเมตร ทาด้วยไนลอน ีึ่งมีความ -
อ่อนกว่าขนแปรงพลาสติกผนึกติดแน่นบนแผงไม้
(1)กำรเลือก ควรเลือกที่ขนแปรงแน่นหนาและจับกระชับมือ
(2)กำรใช้ ใช้ปัดฝุ่นละอองบนกระเป๋าเสื้อผ้า หรือใช้ขัดกระเป๋า รองเท้า และอื่นๆ
(3)กำรเก็บรักษำ จัดเก็บในที่แห้งให้เรียบร้อย
ฝอยขัด แผ่นขัด
แผ่นขัดมีหลายลักษณะให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม เช่น เป็นแผ่นขัดสี่เหลี่ยม ทาด้วยไฟ
เบอร์ บางแบบประกบติดกับฟองน้า ขนาดจับเหมาะมือ ส่วนฝอยขัดมีลักษณะเป็นเส้นฝอยจับกัน
เป็นก้อน
(1)กำรเลือก ควรเลือกชนิดที่มีความทนทาน ราคาไม่แพงเกินไป
(2)กำรใช้ ใช้ขัดภาชนะและสิ่งสกปรก
(3)กำรเก็บรักษำ หลังใช้แล้วต้องล้าให้สะอาด บีบหรือสะบัดเอาน้าออกให้หมดและผึ่งแห้ง
แผ่นฟองน้า
แผ่นฟองน้ามีหลายชนิด มีความหนาแตกต่างกันและหลากสีสัน ทาให้มองดูน่าใช้
(1)กำรเลือก เลือกแผ่นฟองน้าที่มีความหนาและขนาดเหมาะมือ
(2)กำรใช้ ใช้สาหรับล้างสิ่งของที่ทาด้วยแก้ว จานชามกระเบื้อง
(3)กำรเก็บรักษำ ปฏิบัติเช่นเดียวกับแผ่นขัด
ไม้ถูพื้น
ไม้ถูพื้นจะมีลักษณะเป็นด้ามยาว ส่วนปลายทาจากผ้า หรือแผ่นฟองน้า มีหลายรูปแบบให้
เลือกใช้
(1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีความทนทาน เส้นใยซับน้าได้ดี โดยเลือกใช้ให้เหมาะกับชนิดของ
พื้นที่จะทาความสะอาด
(2)กำรใช้ ใช้ถูพื้นต่างๆในบ้าน
(3)กำรเก็บรักษำ ซักส่วนปลายให้สะอาด ผึ่งให้แห้ง และจัดเก็บโดยวิธีแขวน
ถังและกะละมัง
ถังและกะละมังมันมีหลายขนาดให้เลือกใช้ มีทั้งที่เป็นโลหะและพลาสติก
(1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีความหนา ถ้าเป็นประเภทมีหู เลือกที่หูแน่นหนา ไม่หลุดหรือ
แตกหักได้ง่าย
(2)กำรใช้ ใช้ใส่น้าเพื่อซักล้างและทาความสะอาดสิ่งของต่างๆ
(3)กำรเก็บรักษำ ล้างให้สะอาด ผึ่งแดดให้แห้ง และจัดเก็บโดยวิธีคว่าหรือแขวน
สารทาความสะอาด
สารทาความสะอาดที่มีขายอยู่ทั่วไปมีหลายชนิด หลายยี่ห้อแต่ละชนิดมีลักษณะและคุณสมบัติ
ในการใช้งานต่างกัน สารทาความสะอาดแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
1)ผงซักฟอก มีทั้งชนิดเป็นผงและชนิดของเหลว
(1)กำรเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ เลือกตามความเหมาะสม
(2)กำรใช้ ใช้งานตามที่ระบุในฉลาก เช่น ใช้ทาความสะอาด ซักล้างทั่วไป เป็นต้น
(3)กำรเก็บรักษำ ปิดฝาให้สนิท จัดเก็บในที่แห้ง และให้พ้นมือเด็ก
2)น้ายาล้างจาน มีทั้งชนิดที่เป็นของเหลวและเป็นครีม
(1)กำรเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ พิจารณาประสิทธิภาพให้เหมาะสมกับราคาและ
การใช้งาน
(2)กำรใช้ ใช้ล้างจาน ชาม และภาชนะอื่นๆ
(3)กำรเก็บรักษำ ถ้าเป็นกล่องหรือแบบขวดให้ปิดฝาให้สนิท ถ้าเป็นแบบถุงให้ปิดปากถุงให้
สนิท วางในที่หยิบใช้สะดวก และพ้นจากมือเด็ก
3)น้ายาขัดและผงขัด มีทั้งชนิดที่เป็นของเหลวและเป็นผง
(1)กำรเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ พิจารณาประสิทธิภาพให้เหมาะสมกับราคาและ
การใช้งาน เช่น ใช้สาหรับขัดสุขภัณฑ์ ขัดภาชนะเครื่องครัว ขัดเครื่องเรือนโลหะ เป็นต้น
(2)กำรใช้ ใช้ทาความสะอาดพื้น ขัดภาชนะ ตามที่ระบุไว้ในฉลาก
(3)กำรเก็บรักษำ ปิดฝาให้สนิท วางในที่หยิบใช้สะดวก และให้พ้นมือเด็ก
3.การทาความสะอาดบ้าน
ในการดูแลรักษาบ้านให้สะอาดเรียบร้อย น่าอยู่ ควรทางานตามที่ได้วางแผนไว้ เลือกใช้
เครื่องมือให้เหมาะสมกับชนิดของงาน เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมก่อนการทางาน ถ้าเป็น
เครื่องใช้ไฟฟ้า ควรสารวจความเรียบร้อยก่อนนามาใช้งาน นอกจากนี้ ควรเรียนรู้หลักการทา
ความสะอาดต่างๆ ดังนี้
3.1 หลักกำรปัดกวำด
ในการปัดกวาดควรทาเป็นประจาอย่างน้อยวันละครั้ง โดยมีหลักการ ดังนี้
1.กวาดจากที่สูงมาหาที่ต่า คือ กวาดจากเพดาน ฝาผนัง หลังตู้ แล้วจึงกวาดพื้น
2.ก่อนทาการกวาดควรปิดพัดลมหรือประตูหน้าต่างก่อน กวาดไปทางเดียวกัน แล้วจงกวาด
เศษผงทิ้งด้วยที่ตักผง
3.กวาดจากขอบหรือมุมด้านในออกไปด้านนอก และขณะกวาดไม่ควรยกปลายไม้กวาดสูง
เกินไป เพราะจะทาให้ฝุ่นผงกระจาย
4.หากขณะทาการกวาดมีพัดลม เพื่อป้องกันมิให้ฝุ่นละอองเข้าจมูกและปาก ผู้กวาดควรอยู่
เหนือทิศทางลม
3.2 หลักการเช็ดถู
ในการเช็ดถูทาความสะอาดบ้าน ควรปฏิบัติ ดังนี้
1.ก่อนการเช็ดถูพื้น ควรปัดกวาดเศษผง ฝุ่นออกให้หมด
2.เช็ดถูบริเวณที่อยู่สูงก่อนการเช็ดถูบริเวณที่อยู่ต่า เช่น เช็ดถูตู้ก่อนตัวตู้ เป็นต้น
3.ถูจากส่วนหน้าเข้าหาตัว โดยถูถอยหลังเพื่อป้องกันรอยด่างจากการเหยียบพื้น
4.ใช้ผ้าที่ซับน้าได้ดีและไม่มีละออง เช่น ผ้าขนหนู ผ้าฝ้าย เป็นต้น
3.3 กำรทำควำมสะอำดส่วนต่ำงๆในบ้ำน
บ้านประกอบด้วยส่วนต่างๆ เช่น เพดาน พื้น ฝาผนัง หน้าต่าง ประตู เป็นต้น ซึ่งควรดูแล
รักษาให้สะอาดอยู่เสมอ ดังนี้
1)เพดำน เป็นส่วนที่อยู่ด้านบนสุดของบ้าน ความสกปรกบนเพดานเกิดจากฝุ่นละออง ทาให้
เพดานสกปรกและรุงรังไม่น่ามอง ซึ่งควรทาความสะอาด ดังนี้
1.ก่อนการกวาดควรปิดจมูกและปากด้วยผ้า เพื่อนป้องกันฝุ่นเข้าจมูกและปาก
2.ใช้ไม้กวาดทางมะพร้าวชนิดมีด้ามยาวเขี่ยเก็บหยากไย่ให้หมด
3.กวาดพื้นเพื่อเก็บเศษผงที่หล่มสู่พื้น
2)ฝาผนัง ควรทาความสะอาด ดังนี้
1.ดูดฝุ่นด้วยเครื่องดูดฝุ่นหรือกวาดด้วยไม้กวานขนไก่
2.ใช้ผ้าชุบน้าบิดพอหมาดๆแล้วเช็ดให้ทั่ว
3)ประตู หน้ำต่ำง ควรทาความสะอาด ดังนี้
1.ปัดฝุ่นด้วยไม้กวาดขนไก่
2.ใช้ผ้าชุบน้าบิดพอหมาดเช็ดให้ทั่ว แต่ถ้าเป็นประตู หน้าต่างกระจก ให้ใช้น้ายาเช็ดกระจก
หรือใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ชุบน้าพอหมาดเช็ดถูหลายๆครั้งจนกว่ากระจกใส
4)กำรทำควำมสะอำดพื้น การทาความสะอาดพื้นประเภทต่างๆ ดังนี้
(1)พื้นไม้ ควรทาความสะอาดด้วยไม้กวาดดอกหญ้าก่อน และถูด้วยผ้าหรือไม้ถูพื้นชุบน้า
บิดพอหมาดๆ
(2)พื้นหินขัดและพื้นซีเมนต์ ราดน้าผสมน้ายาขัดและถูด้วยแปรง แล้วล้างน้าสะอาด
(3)พื้นกระเบื้องยางหรือเสื่อน้ามัน ใช้ผ้าสะอาดจุ่มลงในน้าผสมผงซักฟอกแล้วขัดถูดังกล่าว
ควรระวังไม่ให้พื้นกระเบื้องถูกน้ามาก เพราะจาทาให้กระเบื้องร่อนและหลุดจากพื้น
3.4 การทาความสะอาดห้องต่างๆในบ้าน
บ้านโดยทั่วไปจะแบ่งเป็นห้องๆเพื่อประโยชน์ใช้สอยที่ต่างกัน ในการดูแลรักษาห้องต่างๆให้
สวยงามและสะอาดอยู่เสมอ ควรปฏิบัติ ดังนี้
1)ห้องนอน เป็นห้องส่วนตัวที่ใช้สาหรับพักผ่อนและทากิจกรรมต่างๆที่ต้องการความเป็น
ส่วนตัว เช่น เขียนจดหมาย อ่านหนังสือ แต่งตัว เป็นต้น ดังนั้น เราควรดูแลรักษาส่วนต่างๆและ
สิ่งของในห้องนอนให้สะอาดน่าใช้อยู่เสมอ โดยปฏิบัติ ดังนี้
(1)ที่นอน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม ควรเก็บที่นอน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม และคลุมเตียงด้วยผ้าคลุม
เตียงให้เรียบร้อยทุกวัน
(2)ตู้โต๊ะ ควรจัดให้เป็นระเบียบและเช็ดถูให้สะอาด
(3)หน้าต่าง ควรเปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกขณะทาความสะอาด
(4)มุ้งลวด ควรทาความสะอาดโดยปัดฝุ่นประมาณสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และล้างลวดประมาณ
เดือนละ 1 ครั้ง
2)ห้องรับแขก เป็นห้องที่ใช้สาหรับต้อนรับผู้ที่มาเยี่ยมเยียน จึงควรอยู่บริเวะส่วนหน้าของ
บ้าน ควรเป็นห้องที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก และควรจัดห้องให้เรียบร้อย สวยงาม ดังนั้น ควรดูแล
รักษาความสะอาด ดังนี้
(1)โต๊ะ เก้าอี้รับแขก ควรปัดฝุ่นและเช็ดถูทุกวัน
(2)ภาพติดฝาผนัง ควรปัดด้วยด้วยไม้กวาดขนไก่ ประมาณสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
(3)วิทยุและโทรทัศน์ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าแห้งทุกวัน
(4)หนังสือ ควรจัดวางให้เป็นระเบียบ
(5)ของใช้อื่นๆ ที่วางในห้องรับแขก ควรดูแลและทาความสะอาดอยู่เสมอ
3)ห้องพระ ควรดูแลทาความสะอาด ดังนี้
(1)โต๊ะหมู่บูชาและอุปกรณ์เครื่องใช้ ควรทาความสะอาดอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
(2)รูปรัชกาลต่างๆ ถ้ามีควรตั้งโต๊ะต่างหากไว้บูชา โกศบรรจุอัฐิหมั่นเช็ดฝุ่นหรือเก็บไว้ใน
ตู้เล็กๆกันเด็กเล่นตกหล่น
(3)หนังสือธรรมมะ ควรหมั่นเช็ดถูปัดฝุ่นละอองอยู่เสมอ
(4)พระเครื่อง เหรียญพระ ควรติดไว้ในกรอบบุด้วยกามะหยี่ เพราะดูแลรักษาทาความ
สะอาดได้ง่าย
4)ห้องแต่งตัว ควรดูแลรักณาความสะอาด ดังนี้
(1)โต๊ะเครื่องแป้งและของใช้ที่จาเป็นในการแต่งตัว ควรจัดวางไว้บนโต๊ะ แป้ง หวี กระจก
น้าหอม ควรทาความสะอาดอยู่เสมอ
(2)ตู้เสื้อผ้า ควรจัดให้เรียบร้อยและจัดแยกประเภทของเสื้อผ้าไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น เสื้อ
กระโปรง กางเกง ชุดชั้นใน ผ้าเช็ดหน้า เป็นต้น
(3)รางตากผ้า ควรมีราวตากผ้าสาหรับตากผ้าเล็กๆน้อย เช่น ผ้าเช็ดตัว เสื้อคลุม เสื้อนอน
เป็นต้น
(4)ถังขยะ สาหรับทิ้งเศษกระดาษ เศษผงอื่นๆ ควรจัดตั้งไว้ข้างโต๊ะเครื่องแป้งโดยใช้
ถุงพลาสติกเปล่ารองไว้ด้านใน จะทาให้ถังไม่สกปรกและรวบเก็บขยะทิ้งได้ง่าย
5)ห้องครัว เป็นห้องที่ใช้สาหรับประกอบอาหาร เก็บอุปกระ์ เครื่องมือเครื่องใช้และเครื่อง
ปรุงในการประกอบอาหาร เพื่อไม่ให้มีกลิ่นรบกวนผู้อยู่อาศัยขณะประกอบอาหารจึงควรจัดอยู่
ห่างจากห้องรับแขกและห้องนอน ถ้าทาได้ควรมีพัดลมดูดควันและกลิ่นออกพ้นตัวบ้าน
นอกจากนี้ ควรจัดให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก โดยดูแลรักษา ดังนี้
(1)เตาไฟ หลังจากใช้งานควรปิดและทาความสะอาดทุกครั้ง
(2)หม้อ กระทะ จาม ชาม ช้อน หลังจากใช้งานควรล้างให้สะอาดและคว่าให้แห้งสนิท
(3)โต๊ะและตู้กับข้าว หลังการใช้งานควรจัดเก็บและทาความสะอาดทุกครั้ง
6)ห้องน้า ส่วนมากสมาชิกในบ้านจะใช้ห้องน้าร่วมกัน ดังนั้น ควรช่วยกันรักณาให้สะอาด
การทาความสะอาดห้องน้า ควรปฏิบัติ ดังนี้
(1)ราวตากผ้าหรือที่สาหรับแขวนผ้าเช็ดตัว ต้องหมั่นเช็ดถูทาความสะอาด
(2)อ่างล้างหน้าหรืออ้างอาบน้า ต้องทาความสะอาดทุกครั้ง โดยใช้ผงขัดเงา
(3)หัวก๊อกน้า จานสบู่ กรอบกระจก ควรเช็ดน้าให้แห้งแล้วใช้ผ้าชุบ
(4)กระจกแต่งตัว ต้องเช็ดให้สะอาดอยู่เสมอ
(5)ฝาห้อง เพดาน หน้าต่าง ควรทาความสะอาด ปัดฝุ่น หยากไย่เสมอ
(6)โคมไฟหรือหลอดไฟ ควรใช้ผ้าเช็ดเพื่อป้องกันไม่ให้หยากไย่หรือฝุ่นเกาะ
3.5 การดูแลรักษาบริเวณบ้าน
บริเวณบ้านเป็นส่วนที่อยู่รอบๆตัวบ้าน ควรดูแลรักษาให้สะอาดและถูกสุขลักษณะ
1)บริเวณรั้ว ประตู และถนนเข้าบ้าน ควรดูแลรักษา ดังนี้
1.ประตูบ้านและรั้วบ้าน ถ้าเป็นเหล็กดัดควรหมั่นดูแลรักษา ถ้ามีสนิมจับให้ขัดด้วยกระดาษ
ทรายและทาสีกันสนิม แล้วทาสีน้ามันทับ
2.รั้วซีเมนต์ ควรปัดกวาดทาความสะอาดเดือนละ 1 ครั้ง
3.รั้วต้นไม้ เช่น รั้วกระถิน มะเขือเทศ เป็นต้น ควรตัดแต่งเป็นประจาเพื่อไม่ให้รกและต้นไม้
เสียรูปทรง
4.ถนนทางเข้าบ้าน ควรดูแลรักษาโดยกวาดหรือล้างให้สะอาดอยู่เสมอ
5.ไม่ควรนาถังขยะวางไว้หน้าบ้าน เพราะจะทาให้สุนัข แมวมาคุ้ยเขี่ยเศษอาหาร
2)บริเวณลานบ้าน สนามหญ้า และสวน ควรดูแลรักณา ดังนี้
1.กวาดให้สะอาด ถ้ามีใบไม้ร่วงให้เก็บกวาดทุกวัน
2.ตัดหญ้าเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมทั้งตัดแต่งกิ่งไม้ ใส่ปุ๋ย และพรวนดินต้นไม้
3.บริเวณทางเดิน ควรนาแผ่นอิฐ หรือแผ่นกรวดล้าง หรือแผ่นหินกาบวางเป็นระยะให้เดิน
ได้สะดวก
4.พื้นที่บริเวณที่เป็นหลุมบ่อ ให้กลบถมเพื่อหลีกเลี่ยงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
3)บริเวณรอบตัวบ้ำนและทำงระบบน้ำ ควรดูแลรักษา ดังนี้
1.กวาดบริเวณให้สะอาด อย่าให้มีน้ามันขังเพราะจะทาให้ส่งกลิ่นเหม็น
2.ไม่ควรวางสิ่งของรอบๆบ้าน จะทาให้มีน้าขังเพราะจะทาให้ส่งกลิ่นเหม็น
3.ถ้ามีภาชนะใส่น้า เช่น โอ่ง ตุ่ม หรือถังน้า ควรปิดฝาให้มิดชิด
4.ไม่ควรทิ้งขยะหรือเศษอาหารลงในทางระบายน้า เพราะจะทาให้น้าไหลผ่านไม่สะดวก
5.ถ้าเป็นทางระบายน้าแบบเปิด ควรกวาดทุกสัปดาห์ เพื่อให้น้าไหลผ่านได้สะดวก
3.6 การดูแลรักษาเครื่องเรือน
เครื่องเรือนเป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่ช่วยตกแต่งภายในบ้านให้สวยงาม อาทิ ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ ชุด
รับแขก ควรดูแลรักษาให้ถูกวิธีตามลักษณะและชนิดของวัสดุ ซึ่งมีวิธีการ ดังนี้
1)เครื่องเรือนประเภทไม้ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบน้าบิดหมาด ถ้าสกปรกมากควรใช้
ฟองน้าชุบน้าผสมผงซักฟอกถู แล้วใช้ผ้าชุบน้าสะอาดจนหมดน้าผงซักฟอก
2)เครื่องเรือนประเภทหนัง ควรปัดฝุ่นและใช้เศษผ้าชุบน้ายาขัดเงาทาให้ทั่วและขัดด้วย
แปรงขนสัตว์จนขึ้นเงา
3)เครื่องเรือนประเภทพลำสติกและเครื่องเคลือบ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบน้าบิด
หมาด
4)เครื่องเรือนประเภทเครื่องเงิน ควรทาความสะอาดบ่อยๆโดยขัดด้วยน้ายาขัดเครื่องเงิน
5)เครื่องเรือนประเภททองเหลือง ควรทาความสะอาดโดยขัดด้วยน้ายาขัดทองเหลืองหรือ
ขัดด้วยน้ามะขามเปียก แล้วล้างด้วยน้าสะอาด เช็ดด้วยผ้าแห้ง
6)เครื่องเรือนประเภทเครื่องแก้วและกระจก ถ้าเป็นกระจกให้เช็ดถูด้วยน้ายาเช็ดกระจก
แต่ถ้าเป็นแก้วควรล้างด้วยน้าผงซักฟอกแล้วล้างให้สะอาด
4.ความปลอดภัยในการทางานบ้าน
ในการดูแลรักษาบ้านให้สะอาด สวยงามน่าอยู่นั้น เราควรระมัดระวังในเรื่องต่างๆ เพื่อให้เกิด
ความปลอดภัยจากการทางานบ้าน ดังนี้
4.1 ควำมปลอดภัยจำกกำรใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ำ
การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้
1.ก่อนการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้งควรอ่านคาแนะนาอย่าละเอียดให้เข้าใจและปฏิบัติตาม
อย่างเคร่งครัด
2.ควรตรวจดูสายไฟ ปลั๊กไฟ หากมีรอยชารุดจะต้องซ่อมแซมให้เรียบร้อยก่อนการนามาใช้
3.ไม่ใช้มือเปียกน้าเสียบปลั๊กหรือดึงปลั๊กไฟ
4.ระวังอย่าให้สายไฟแช่น้าเพราะอาจจะเกิดอันตรายจากกระแสไฟ
5.อย่าให้สายไฟไฟใกล้เตาไฟเพราะจะทาให้สายไฟละลายเสียหายและเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ได้
6.เมื้อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเสร็จต้องถอดปลั๊กให้เรียบร้อยทุกครั้ง
4.2 ความปลอดภัยจากการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้
1.ศึกษาวิธีใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ก่อนการใช้งาน เพื่อให้เข้าใจวิธีใช้อย่างถูกต้อง
2.ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้เหมาะสมกับงาน เช่น การนามีดหั่นมาสับเศษไม้ จะทาให้
คมมีดเสีย เป็นต้น
3.ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการทางานอย่าระมัดระวัง ไม่ประมาท ทั้งระวังการแตกหัก
เสียหาย
4.ควรจัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องมือที่เป็นของมีคมให้พ้นมือเด็กและเก็บอุปกรณ์ที่มีน้าหนักมากไว้
บนพื้น
5.เมื่อปรุงอาหารประเภทเคี่ยวหรือตุ๋นโดยใช้หม้ออัดความดัน ควรตั้งนาฬิกากาหนดเวลา และ
บอกสัญญาณเตือนเพื่อกันลืม ซึ่งอาจจะทาให้อาหารไหม้ หรือหม้ออัดความดันระเบิดได้
4.3 ความปลอดภัยจากการใช้สารซักฟอกและสารเคมี
การใช้สารซักฟอกและสารเคมีต่างๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้
1.เมื้อใช้เสร็จแล้ว ล้างเท้าให้สะอาดทันที
2.หลีกเลี่ยงการใช้หรือการสัมผัสสารเคมี เช่น ใช้ปุ๋ยคอกแทนปุ๋ยวิทยาศาสตร์ซักผ้าขาวบ่อยๆ
ให้สะอาดดีกว่าทิ้งให้ผ้าหมองคล้า แล้วนาไผฟอกขาวด้วยสารเคมี เป็นต้น
3.เมื่อจาเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่มีสารเคมี จะต้องหาทางป้องกันตนเองให้ปลอดภัยโดยการ
สวมถุงมือ ใช้ผ้าปิดจมูก เป็นต้น
4.ควรเก็บให้มิดชิดและพ้นมือเด็ก
5.ให้เขียนชื่อบอกไว้ที่ข้างกล่องหรือข้างขวดเพื่อป้องกันการหยิบใช้ผิดพลาด
4.4 ความปลอดภัยจากวิธีการทางาน
วิธีหรือขั้นตอนการทางานปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้
1.วางแผนการทางานอย่างเป็นระเบียบ เป็นขั้นตอน และปฏิบัติตามขั้นตอนที่วางไว้
2.เมื่อกวาดเพดานหรือปัดฝุ่น ควรมีผ้าปิดจมูกเพื่อป้องกันฝุ่นเข้าจมูกและควรอยู่เหนือลม
3.เมื่อหยิบของหรือทาความสะอาดที่สูง ควรใช้บันไดหรือยืนบนโต๊ะแทนการเขย่ง เพราะจะทา
ให้ยืนไม่ถนัดและอาจจะหกล้มได้
4.เมื่อถูพื้นหรือขัดห้องน้า ควรทาจากด้านในออกด้านนอก โดยไม่เหยียบพื้นที่ถูเสร็จใหม่ๆ
เพราจะทาให้เป็นรอยและลื่นหกล้มได้
5.ระมัดระวังและมีสมาธินาการทางาน ไม่หยอกล้อหรือเล่นกันในขณะทางาน
6.ไม่ควรทางานในขณะที่ร่างกายยังไม่พร้อม เช่น เจ็บป่วย ง่วงนอน เป็นต้น
7.ใช้เครื่องมือป้องกันให้เหมาะสมกับงาน เช่น ใช้ผ้าจับของร้อนเมื่อของร้อนออกจากเตาไฟ
สวมหน้ากากและถุงมือขณะฉีดยาฆ่าแมลง เป็นต้น
8.ไม่หักโหมทางานเกินไป งานที่ต้องออกแรงมาก เช่น ยกของหนัก ขัดพื้น เลื่อยไม้
หรืออื่นๆ ต้องหยุดปฏิบัติงานเมื่อรู้สึกว่าไม่สามารถปฏิบัติต่อไปได้
9.ลดมลภาวะที่เกิดจากการทางาน เช่น ใช้เครื่องดูดควันในขณะประกอบอาหาร หรือใช้
เครื่องดูดฝุ่นแทนการกวาดฝุ่นด้วยไม้กวาด เป็นต้น
10.ควรจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ให้เป็นระเบียบร้อย ไม่วางเกะกะขวางทางเดิน
4.5 ควำมปลอดภัยจำกกำรใช้บริเวณต่ำงๆของบ้ำน
การใช้บริเวณต่างๆของบ้านเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้
1.ควรให้ห้องและบริเวณต่างๆมีแสงสว่างเพียงพอ เพื่อให้มองเห็นได้ชัดเมื่อทางานทั้งยังเกิด
ความสะดวกในการดูแลรักษาและทาความสะอาด
2.เมื่อมีน้าหรืออาหารหกลงบนพื้นครัว ให้รับเช็ดให้สะอาดและแห้งทันที เพื่อป้องกันการลื่น
หกล้ม
3.พยายามให้พื้นห้องน้าแห้งอยู่เสมอ
4.ปิดแก๊ส ปิดก๊อกน้าหลังการใช้งานทุกครั้ง
5.การจัดตกแต่งบ้านและบริเวณบ้าน
5.1 หลักในกำรจัดตกแต่งบ้ำน
การจัดตกแต่งบ้านให้สวยงาม น่าอยู่ ควรคานึงถึงหลักการ ดังนี้
1)ควำมปลอดภัย ในการจัดตกแต่งบ้าน ควรคานึงถึงความปลอดภัยของสมาชิกในบ้าน โดย
การเลือกเครื่องตกแต่งบ้านที่ไม่มีมุมแหลม ไม่ตกแต่งบ้าน ไม่วางเกะกะขวางทางเดิน และควร
ป้องกันอันตรายที่เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก
2)ถูกสุขลักษณะและสะอำด ในการจัดตกแต่งบ้านจะต้องให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก และให้
มีแสงสว่างเพียงพอ รวมทั้งควรทาความสะอาดเครื่องเรือนให้สะอาดอยู่เสมอ
3)ควำมสะดวก ในการจัดตกแต่งบ้านควรคานึงถึงความสะอาดในการทากิจกรรมต่างๆโดย
การจัดแนวทางเดินระหว่างส่วนต่างๆของบ้านให้สัมพันธ์กัน
4)ควำมสบำย การจัดตกแต่งบ้านให้มีความหมาย ควรจัดให้มีเครื่องช่วยป้องกันความจ้าของ
แสงแดด เช่น ม่าน มู่ลี่ ก็ให้มีช่องระบายความร้อนและมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก สามารถมองเห็น
ทิวทัศน์ในบ้านหรือนอกบ้านที่ทาให้เกิดความเพลิดเพลินได้ เป็นต้น
5)ความมีระเบียบและความสวยงาม ในการจัดตกแต่งเครื่องเรือนควรมีความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย สิ่งของที่จัดวางถ้ามีมากเกินไปหรือจัดวางไม่เป็นระเบียบ จะทาให้ความสวยงามลดลง
6)ควำมประหยัด ในการจัดตกแต่งบ้านควรคานึงถึงความประหยัดทั้งเวลา แรงงาน และเงิน
โดยพิจารณาเรื่องเวลาในการดูแลรักษา ทาความสะอาด ราคาสิ่งของที่มาใช้ตกแต่งบ้าน การใช้
เครื่องทุ่นแรงจะทาให้ช่วยประหยัดเวลาและแรงงาน แต่ก่อนการซื้อควรพิจารณาราคากับความ
คุ้มค่าในการใช้สอย
5.2 กำรจัดตกแต่งห้องต่ำงๆ
ภายในบ้านแต่ละหลังจะมีห้องต่างๆมากมาย เช่น ห้องนอน ห้องครัว ห้องอาหาร ห้องรับแขก
ห้องน้า เป็นต้น ซึ่งแต่ละห้องก็มีประโยชน์ใช้สอยแตกต่าง ดังนั้น ในการจัดตกต่างๆห้องต่าง ควร
จัดให้เหมาะสม ดังนี้
1)กำรจัดแต่งห้องนอน ห้องนอนเป็นห้องส่วนตัวที่ให้ความรู้สึกสบายที่สุดของบ้าน ใช้
พักผ่อนคลายความเครียดและใช้ทากิจกรรมส่วนตัวอื่นๆ เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง เป็นต้น
ปัจจัยที่ควรคานึงถึงในการจัดตกแต่งห้องนอน มีดังนี้
(1)มีความเป็นส่วนตัว ไม่มีเสียงรบกวน ประตูสามารถปิดด้านในและด้านนอกเพื่อความ
เป็นส่วนตัวได้
(2)มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น มีหน้าต่าง ช่องระบายอากาศ มีพัด
ลมหรือเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ไม่ควรจัดวางหัวเตียงนอนให้ชิดหน้าต่าง เพราะถ้าได้รับลม
มากๆจะทาให้เป็นหวัดได้ง่าย
(3)ใช้สีห้องนอนตามที่ผู้ใช้ชอบ ควรคานึงถึงความต้องการของผู้ใช้ โดยทั่วไปจะตกแต่ง
ห้องนอนสีเย็นเพราะให้ความรู้สึกเย็นสบาย
(4)เลือกเครื่องเรือนห้องนอนที่เหมาะสม เช่น เตียง ตู้ โต๊ะเขียนหนังสือ เป็นต้น ควรเลือก
ให้มีขนาดเหมาะสมกับการจัดวางเครื่องเรือน
(5)จัดให้มีสิ่งของเครื่องใช้ตามความจาเป็นและเหมาะสม เช่น จัดหาโทรทัศน์ วิทยุ นาฬิกา
หรืออาจจะใช้มุมใดมุมหนึ่งของห้องนอนเป็นที่สาหรับแต่งตัว โดยจัดวางของใช้ส่วนตัว ตู้เสื้อผ้า
หรือเครื่องใช้ส่วนตัวอื่นๆ เช่น กระเป่าถือ ชุดชั้นใน เป็นต้น
2) การจัดตกแต่งห้องครัว ห้องครัวเป็นห้องที่ใช้ประกอบอาหาร ควรจัดให้เหมาะสมกับการ
ใช้สอย นอกจากนี้ยังเป็นห้องที่ต้องทาความสะอาดบ่อยที่สุด เพราะป้องห้องที่ใช้เตรียมอาหาร
ประกอบอาหาร เสิร์ฟอาหาร และเก็บล้างอาหาร
ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงในกำรจัดตกแต่งห้องครัว มีดังนี้
(1)จัดวางเครื่องใช้ให้เป็นหมวดหมู่ โดยคานึงถึงการสะดวกในการหยิบสิ่งของเครื่องใช้
รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบได้ง่าย ดังนี้
1.มีพื้นที่หรือบริเวณเตรียมอาหาร ซึ่งเป็นที่ใช้สาหรับเตรียมและประกอบอาหาร โดยจัด
ให้มีอ่างสาหรับล้างอยู่ตรงกลาง ใต้โต๊ะเป็นตู้สาหรับเก็บเครื่องใช้ในการประกอบอาหาร เช่น มีด
ครก เขียง หม้อ กระทะ เป็นต้น
2.มีหน่วยหุงต้ม ซึ่งประกอบด้วย เตาชนิดต่างๆ หรือเตาชนิดใดชนิดหนึ่งตามฐานะหรือ
ตามความต้องการ เช่น เตาไฟ เตาแก๊ส ซึ่งอาจจัดให้อยู่ถัดจากโต๊ะประกอบอาหาร และให้มี
ตะแกรงพักของร้อน มีฐานะสาหรับพักอาหารที่เสร็จจากการปรุงและยกลงจากเตาไฟ เป็นต้น
3.มีหน่วยสาหรับเก็บอุปกระ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เช่น จาน ช้อน ส้อม อาหารแห้ง รวมทั้ง
ตู้ใส่อาหารที่ประกอบอาหารเสร็จแล้ว เป็นต้น
(2)จัดให้มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น มีช่องระบายอากาศ
หน้าต่าง เครื่องดูดควัน และควรตกแต่งด้วยการใช้สีให้ความสว่างและเกิดความสะอาดตา เช่น สี
ขาว สีฟ้าอ่อน สีเหลืองอ่อน เป็นต้น
(3)จัดให้มีที่รองรับขยะหรือเศษอาหาร เมื่อประกอบอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้วควรนาขยะ
ออกจากห้องครัว เพราะขยะในห้องครัวส่วนใหญ่จะเป็นเศษผัก เศษอาหารหรือของสด ซึ่งเน่าเสีย
ได้ง่าย หากทิ้งไว้จะส่งกลิ่นเหม็น เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวัน แมลงสาบ และมด ซึ่งอาจจะเป็น
พาหนะโรคมาสู่สมาชิกในครอบครัวได้
3) กำรจัดตกแต่งห้องอำหำร ห้องอาหารเป็นห้องที่ใช้รับประทานอาหาร บางบ้านที่จะใช้
เป็นที่ทากิจกรรมต่างๆ เช่น อ่านหนังสือ เย็บผ้า ประดิษฐ์สิ่งของ เป็นต้น
หลักกำรที่ควรคำนึงถึงในกำรจัดตกแต่งอำหำร มีดังนี้
1.มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น มีช่องระบายอากาศหรือมีหน้าต่าง
เป็นต้น
2.การใช้สีในห้องอาหาร ควรใช้สีสบายตา เช่น สีเหลืองอ่อน สีส้มอ่อน สีเขียวอ่อน
สีชมพูอ่อน เป็นต้น
3.การจัดวางโต๊ะ เก้าอี้ ควรจัดวางให้สามารถเลื่อนเก้าอี้และลุกนั่งได้สะดวก
4.จัดหาจาน ชามใส่อาหารที่ช่วยให้อาหารมองดูน่ารับประทาน
5.จัดหาภาพแขวนผนังประเภทอาหารหรือภาพที่เกี่ยวข้องกับอาหาร เช่น ภาพผัก ผลไม้
เครื่องดื่มต่างๆ เป็นต้น
4) กำรจัดตกแต่งห้องรับแขก ห้องรับแขกเป็นห้องที่มีใช้สาหรับรับแขกที่มาเยี่ยมเยียนบ้าน
หรือใช้เป็นที่พักผ่อน นั่งเล่น อ่านหนังสือ สังสรรค์ ฟังเพลง หรือทากิจกรรมอื่นๆร่วมกับสมาชิก
ในครอบครัว
หลักกำรที่ควรคำนึงถึงในกำรจัดตกแต่งห้องรับแขก มีดังนี้
1.คานึงถึงความสบาย โดยเลือกใช้เครื่องเรือนที่ออกแบบให้เพื่อนั่งสบาย มีแสงสว่างพอ และ
ควรจัดวางเครื่องเรือนให้เหมาะสม สะดวกต่อการพูดคุยสนทนา
2.ควรจัดวางเครื่องเรือนให้สะดวกในการดูแลรักษา ทาความสะอาด และมีความสะดวกในการ
ทากิจกรรมต่างๆ
3.คานึงถึงสีเครื่องเรือน โดยจัดเครื่องเรือนให้มีสีกลมกลืนกับผนังห้อง ตลอดจนความมี
ระเบียบ ความสะอาดของห้อง เช่น สีที่ให้ความสดใส สวยงาม เป็นต้น
4.มีความเป็นสัดส่วน โดยจัดให้มีประตูเข้าออกเท่าที่จาเป็น เพราะการมีประตูมากจะทาให้
กลุ่มสนทนาไม่มีความเป็นส่วนตัว และประตูควรอยู่ส่วนหน้าของบ้าน
5.ควรจัดให้สวยสะดุดตาเป็นพิเศษ เพราะถือเป็นห้องที่เป็นหน้าเป็นตาของบ้านควรจัดให้มีตู้
สาหรับจัดวางสิ่งสวยงามแปลกตาหรือจัดวางสิ่งของที่เชิดหน้าชูตาของบ้าน
5)กำรจัดตกแต่งห้องน้ำ ห้องน้าเป็นห้องที่มีความชื้นสูง จึงควรให้มีพัดลมผ่านสะดวก เพื่อ
ทาให้พื้นแห้ง มีแสงสว่าง และควรจัดให้มีอุปกรณ์เครื่องใช้อานวยสะดวกอย่างครบครัน เช่น มี
ราวพาดฟ้า กระจกเงา อ่างล้างหน้า สบู่ และอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ ห้องน้ามีหลายรูปแบบ ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับรสนิยม กาลังทรัพย์ของเจ้าของบ้าน รวมทั้งสภาพแวดล้อมต่างๆซึ่งสามารถจัดแยก
ประเภทได้ดังนี้
5.1) ห้องน้ำแบบดั้งเดิม เป็นแบบที่ใช้กันทั่วไปในชนบท หรือในบ้านของคนไทยเป็นส่วน
ใหญ่ ส่วนประกอบสาคัญที่สุดก็คือ ต้องมีตุ่มสาหรับใส่น้า 1-2 ใบ อยู่ในห้องน้า น้าที่ใช้จะเป็น
น้าประปา น้าบ่อ หรือน้าคลอง
5.2) ห้องน้าที่มีฝักบัวและก๊อกน้า เป็นห้องน้าที่อยู่ในอาคารบ้านเรือนสมัยใหม่ีึ่งอยู่ใน
ย่านที่ใช้น้าประปาหรือบาดาล
5.3) ห้องน้ำที่ใช้อ่ำงอำบน้ำ เป็นห้องน้าที่มีความทันสมัยตามแบบตะวันตกมีราคาแพง
มีอุปกรณ์และสุขภัณฑ์ครบครัน เช่น อ่างอาบน้า ก๊อกน้าเย็น ที่ใส่กระดาษชาระ เป็นต้น ส่วนมาก
ห้องน้ามักจะรวมห้องสุขาไว้ด้วย
หลักกำรที่ควรคำนึงถึงในกำรจัดตกแต่งห้องน้ำ มีดังนี้
1.ควรจัดห้องน้าให้มีเพียงพอกับสมาชิกในครอบครัว
2.จัดให้มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก
3.การใช้สีในห้องน้าควรเป็นสีอ่อน เย็นตา เช่น สีเขียวอ่อน สีเหลืองอ่อน สีฟ้าอ่อน สีชมพูอ่อน
เป็นต้น และควรนาไม้ประดับมาตกแต่งเพื่อความสวยงาม สดชื่น
4.จัดให้มีเครื่องใช้อานวยความสะดวกในห้องน้า เช่น อ่างอาบน้า ถังใส่น้า ฝักบัวอาบน้า ที่วาง
สบู่ อ่างล้างมือ ถังขยะ เป็นต้น
6) การจัดตกแต่งห้องสุขา ห้องสุขาเป็นห้องที่มีความจาเป็นเพราะทุกคนต้องใช้เป็นกิจวัตร
ประจาวัน ปัจจุบันนิยมสร้างอยู่ด้วยกันกับห้องน้าโดยแบ่งเป็นสัดส่วน ส่วนนอกเป็นห้องน้า ส่วน
ในเป็นห้องสุขา สุขาที่อยู่ในบ้านมักจัดให้ติดกับห้องรับแขกหรือยู่ติดกับห้องนอนเพื่อสะดวกแก่
การใช้สอย ทั้งนี้ ควรรักษาความสะอาดเพื่อไม่ให้มีกลิ่นรบกวน หรือพื้นเปียกและมีรอยเปรอะ
เปื้อน
5.3 กำรจัดตกแต่งบริเวณบ้ำน
บริเวณบ้าน ได้แก่ ส่วนที่อยู่รอบๆบ้าน ควรดูแลตกแต่งให้สะอาดตา สวยงาม สดชื่นและ
ปลอดภัย ดังนี้
1.สนำมหญ้ำ ควรดูแลโดยหมั่นตัดหญ้าให้สั้นอยู่เสมอ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้เกิด
ความสวยงามและความปลอดภัยจากสัตว์มีพิษ เช่น งู ตะขาบ และหากมีหลุม มีบ่อ หรือมีแอ่งน้า
ขังควรถมให้เรียบร้อย เพื่อกันการหกล้ม หรือป้องกันแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
2.บริเวณขอบสนำม อาจจะปลูกต้นไม้ เช่น มะม่วง ชมพู่ ตะแบก เพื่อความร่มรื่น สวยงาม
หรือจัดสวนหย่อม ปลูกพืชผักสวนครัว เพราะนอกจากจะใช้ประโยชน์ได้แล้วยังทาให้เกิดความ
สวยงาม และควรจัดให้มีแผ่นหินเป็นทางเท้าในสนาม เป็นต้น
3.ถนนเข้าสู่ตัวบ้าน ควรปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ เช่น เข็ม กุหลาบ บานชื่น ดาวเรือง เป็นต้น
เพื่อความสวยงาม สดชื่น
4.ระเบียงหน้ำบ้ำนหรือมุมบ้ำน ควรจัดวางไม้กระถางประเภทไม้ปลูกในร่ม เช่น พลูด่าง
วาสนา หรืออาจจะนาโมบาย หรือไม้แขวนแขวนไว้ที่ชายคาบ้าน จะทาให้บริเวณบ้านมีความ
สวยงาม สดชื่น และน่าอยู่ยิ่งขึ้น
สรุป
ในการดูแลรักษาบ้านให้สะอาด สวยงามและน่าอยู่นั้น จาเป็นจะต้องรู้จักเลือกใช้อุปกรณ์
เครื่องมือเครื่องใช้ในการทาความสะอาดให้เหมาะสมกับงาน รู้จักวิธีการ ขั้นตอนในการทาความ
สะอาด รู้จักทาความสะอาด และดูแลรักษาห้องต่างๆ เครื่องเรือนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
รวมทั้งจะต้องทางานด้วยความระมักระวัง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานด้วย
นอกจากนี้ การจัดตกแต่งบ้านให้สะอาด สวยงามและน่าอยู่ จะต้องคานึงถึงหลักการต่างๆ
เช่น หลักความปลอดภัย ความสะดวกสบาย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม และความ
ประหยัด ในการจัดตกห้องแต่งๆ ไม่ว่าจะเป็นห้องนอน ห้องรับแขก ห้องอาหาร ห้องครัว ห้องน้า
และบริเวณอื่นๆ ของบ้าน ควรคานึงถึงประโยชน์ใช้สอยในการทากิจกรรมต่างๆ ของสมาชิกใน
ครอบครัว ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวอาศัยอยู่อย่างมีความสุข

More Related Content

What's hot

โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ให้รัก นำทาง
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
vittaya411
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
noeypornnutcha
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
Tanchanok Pps
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 

What's hot (20)

คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน

ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
Natsima Chaisuttipat
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11
Opp Phurinat
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
varut
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
nam--nam-thanaporn
 
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
Thawinan Emsiranunt
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน (20)

ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
Bastard teak (Herbarium)
Bastard teak (Herbarium)Bastard teak (Herbarium)
Bastard teak (Herbarium)
 
010
010010
010
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
10
1010
10
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from lukhamhan school

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
lukhamhan school
 

More from lukhamhan school (10)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน

  • 2. จัดทำโดย นายอนุพันธ์ พยัคฆ์ เลขที่ 1 นายวุฒิชัย มูลศรี เลขที่ 3 นายสมประสงค์ สารักษ์ เลขที่ 9 นางสาวเวทกา สัญจรดี เลขที่ 17 นางสาวขวัญฤทัย ผลชะอุ่ม เลขที่ 18 นางสาวสุธิดา ศรีมันตะ เลขที่ 19 นางสาวสุดารัตน์ กลมเกลี่ยง เลขที่ 42 นางสาวสุธาธาร โอบอ้วน เลขที่ 43 เสนอ คุณครูจิราพร ยศศรีสุราษฏร์
  • 3.
  • 5. 1.การจัดการด้านการวางแผนการทางานและการใช้ทรัพยากรในบ้าน การจัดการด้านการวางแผนการทางานและการใช้ทรัพยากรในบ้าน เป็นการบริการหรือคิด ตระเตรียมล่วงหน้าเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆในบ้าน เช่น การประกอบอาหาร การทา ความสะอาดในบ้าน การทาสวนครัว เป็นต้น ทรัพยำกรที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกำรด้ำนวำงแผนกำรทำงำน ในการจัดการนั้นจะ เกี่ยวข้องกับทรัพยากรต่างๆ ดังนี้ (1) ทรัพยากรส่วนบุคคล เป็นสิ่งที่มีประจาตัวบุคคล เช่น เวลา แรงงาน ความสามารถ สติปัญญา เป็นต้น (2) ทรัพยากรประเภทวัสดุและบริการ เป็นสิ่งของหรือบริการที่อานวยความสะดวกให้แก่ ครอบครัว เช่น เงิน สิ่งของเครื่องใช้ อาหาร รวมทั้งงานปริการจากภาครัฐและเอกชน เช่น โรงเรียน การไฟฟ้า การประปา เป็นต้น (3)ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ สมาชิกในครอบครัว เช่น ดิน ฟ้า อากาศ ฤดูกาล แม่น้าลาคลอง เป็นต้น
  • 6. 1.1 การจัดการด้านวางแผนการทางาน งานบ้านมีหลายรูปแบบ การเรียนรู้เพื่อการวางแผนการทางานในบ้านจะช่วยให้สามารถทางาน ทุกอย่างในบ้านได้ตามต้องการ ดังต่อไปนี้ 1)สำรวจและวิเครำะห์งำน เป็นขั้นตอนสารวจงานที่ได้รับมอบหมายและกิจวัตรส่วนตัว พร้อมวิเคราะห์และเขียนบันทึกว่าจะทาในวันใด เวลาใด 2)วำงแผน ในการวางแผนทางานบ้านนั้น ควรกาหนดเวลาในการทางานบ้านที่รับผิดชอบไว้ ล่วงหน้าว่าจะทางานใด ในเวลาใด 3)ปฏิบัติงำนตำมแผน เป็นขั้นตอนการทางานตามตารางที่กาหนดไว้ และจดบันทึกงานที่ไม่ สามารถทาให้หรือต้องดาเนินการปรับปรุงแก้ไข พร้อมทั้งควรหาแนวทางแก้ไขว่าจะทาได้อย่างไร 4)กำรประเมินผล การประเมินผลในที่นี้เป็นการสารวจประสิทธิภาพของแผนงานที่ใช้ว่าทา ได้จริงหรือไม่ ผลที่ได้รับเป็นไปตามความคาดหวังหรือไม่ และไม่ควรเข้าข้างตนเอง
  • 7. การประเมินผลสามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ 1.ใช้การสังเกตและพิจารณาว่าจุดไหนเป็นอย่างไร แล้วบันทึกไว้ เช่น เวลาในการทางานน้อย ไป ตัดหญ้าตอนบ่ายแดดร้อนมากควรเปลี่ยนเวลา แล้วแก้ลงในแผนงานที่ปฏิบัติใหม่ 2.ให้สมาชิกในบ้านร่วมแสดงความคิดเห็น โดยเปิดโอกาสให้สมาชิกวิพากษ์วิจารณ์แผนงานที่ ทา เพื่อนาข้อมูลมาพัฒนาต่อไป 3.เปรียบเทียบกับมาตรฐานของผู้อื่น โดยดูผลงานผู้อื่นว่าเป็นอย่างไร เช่น เปรียบเทียบความ เรียบของการรีดผ้า เปรียบเทียบเวลาในการทางานบ้านของตนเองกับผู้อื่น เป็นต้น 4.เขียนจาแนกระดับคุณภาพแล้วพิจารณาว่าตนเองอยู่ในระดับใด ถ้าพบว่าตนเอง ระดับกลาง และระดับต่า ควรปรับปรุงให้ดีขึ้น
  • 8. 1.2 ประโยชน์ของการวางแผนการทางาน การวางแผนการทางานมีประโยชน์ ดังนี้ 1.ช่วยให้ผู้ที่รับผิดชอบงานทราบล่วงหน้าว่าจะทางานใด เมื่อใด 2.สามารถทางานที่รับผิดชอบได้สาเร็จตามที่มุ่งหวัง 3.ฝึกนิสัยให้เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ มีเหตุผล และรอบคอบ 4.ก่อให้เกิดการประหยัดทั้งเวลาและแรงงาน 5.ฝึกให้เกิดนิสัยในการทางาน ต่อไปจะทาได้รวดเร็วและเกิดความผิดพลาดน้อย
  • 9. 1.3 ข้อควรคานึงในการวางแผนการใช้ทรัพยากรในครอบครัว สาหรับการวางแผนการใช้ทรัพยากรในครอบครัว จะต้องคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1.เวลำ ทุกคนมีเวลาท่ากัน คือ วันละ 24 ชั่วโมง แต่ละคนใช้เวลาในการทางานไม่เท่ากัน ผู้ที่ จัดการกับเวลาได้เป็นอย่างดีจึงจะใช้เวลาของแต่ละวันทางานได้อย่างคุ้มค่า 2.แรงงำน เกี่ยวพันกับสุขภาพ ผู้มีสุขภาพดีย่อมได้เปรียบกว่าผู้ที่มีสุขภาพไม่ดี และการรู้จัก จัดการเรื่องแรงงานจะช่วยให้เสียเวลาในการทางานน้อยลง 3.ควำมรู้ สติปัญญำ ในการวางแผนใช้ทรัพยากรส่วนบุคคล จะต้องคานึงถึงภูมิความรู้ความ ถนัดของแต่ละบุคคล เพื่อจะได้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.ควำมสำมำรถ เป็นทรัพยากรส่วนบุคคลที่แต่ละคนมีไม่เหมือนกันและไม่เท่ากัน การ ทางานบ้านจะต้องพิจารณาถึงความสามารถของบุคคลด้วย เพราะการที่ได้ทางานตาม ความสามารถจะช่วยให้ทางานได้ดี 5.ทักษะ ในการทางานบ้านจะต้องใช้ทักษะกระบวนการใช้งาน ทักษะการแก้ปัญหาเมื่อเกิด อุปสรรคหรือข้อผิดพลาดจากการทางาน 6.เงิน ในครอบครัวจะต้องมีการหาเงินมาเลี้ยงดูครอบครัว จึงต้องมีการบริหารจัดการวาง แผนการใช้เงิน
  • 10. 1.4 การจัดการการเงินของครอบครัว ในการจัดการการเงินของครอบครัว สมาชิกควรปฏิบัติ ดังนี้ 1)มีกำรวำงแผนกำรใช้เงินของครอบครัวที่ดี สมาชิกในครอบครัวควรรู้จักวางแผนใช้ จ่ายเงินในเรื่องต่างๆ ให้เหมาะสมกับรายได้ โดยจัดวางแผนประมาณรายจ่ายหรือทา งบประมาณและจัดแยกเป็นหมู่ 2)มีกำรปฏิบัติตำมแผนกำรใช้เงิน ในการปฏิบัติตามแผนการใช้เงินนั้น ควรระวังและ ควบคุมดูแลให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ 3)มีกำรประเมินผล ในการประเมินผลการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณที่วางไว้ ควรมีการ ตรวจสอบค่าใช้จ่าย พิจารณาถึงความคุ้มค่าของเงินที่จ่ายไป พิจารณาถึงความพอใจของสมาชิก รายจ่ายที่วางไว้มากไปหรือน้อยไป
  • 11. 2.อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการทาความสะอาดบ้าน อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการทาความสะอาดบ้านมีหลายชนิด ซึ่งเราควรพิจารณาเลือกให้ เหมาะสมและใช้งานให้ถูกต้องตามชนิดของเครื่องมือ อุปกรณ์เหล่านั้น ได้แก่ เครื่องดูดฝุ่น เครื่องดูดฝุ่นเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นิยมใช้กันทั่วไป มีหลายรูปแบบให้เลือกใช้ โดยพิจารณา ดังนี้ 1.ประสิทธิภาพการใช้งานที่สามารถใช้ทาความสะอาดได้หลายลักษณะ เช่น ดูดฝุ่นตามพื้น พรม เป็นต้น 2.สะดวกและปลอดภัยต่อการใช้งาน 3.มีการรับรองคุณภาพของเครื่อง 4มีความแข็งแรง ทนทาน 5.มีขายทั่วไป สามารถซ่อมแซมได้เมื่อเกิดการชารุดและหาซื้ออะไหล่ได้ง่าย ราคาไม่แพง 1)กำรใช้ ใช้ตามประสิทธิที่ระบุไว้ เช่น ดูดฝุ่น ดูดเศษผงที่พื้น ที่พรม 2)กำรเก็บรักษำ เช็ดฝุ่นและม้วนสายไฟให้เรียบร้อย
  • 12. ไม้กวาด ไม้กวาดเป็นเครื่องมือสาหรับทาความสะอาดพื้นต่างๆ มีหลายชนิดซึ่งควรเลือกใช้ให้เหมาะสม กับลักษณะของงาน ดังนี้ 1)ไม้กวำดดอกหญ้ำ ด้ามจับทาด้วยไม้กลม ยาว ปลายทาด้วยดอกหญ้ามัดติดกับด้าม (1)กำรเลือก ควรเลือกด้ามจับที่ไม่มีมอดกิน จับถนัดมือ และปลายดอกหญ้ามีความหนา พอสมควร (2)กำรใช้ ใช้กวาดพื้นแห้งและเรียบ เช่น พื้นไม้ พื้นซีเมนต์ พื้นหินอ่อน เป็นต้น (3)กำรเก็บรักษำ เอาเชือกร้อยที่ปลายไม้กวาด แขวนให้ปลายไม้กวาด แขวนให้ปลายดอก หญ้าสูงกว่าพื้นเล็กน้อย
  • 13. 2)ไม้กวาดทางมะพร้าว ทาด้วยทางมะพร้าว ที่พบเห็นทั่วไปมี 2 ชนิด คือ ชนิดมีปลอกสวม และชนิดมีด้ามจับยาวมาก ซึ่งทาด้วยไม้ไผ่กลม (1)กำรเลือก ควรเลือกด้ามตรงจับเหมาะมือ ด้ามไม่มีมอดกันกิน (2)กำรใช้ ใช้กวาดพื้นผิวหยาบ เช่น พื้นดินหรือพื้นที่มีน้าขัง ใช้กวาดน้าเมื่อล้างพื้น ประเภทต่างๆ เช่น พื้นซีเมนต์ เป็นต้น (3)กำรเก็บรักษำ เก็บในที่ร่มและที่แห้ง ไม่ควรตากแดดหรือตากฝน
  • 14. 3)ไม้กวาดเสี้ยนตาล ปลายสาหรับกวาดทาด้วยเสี้ยนตาล ส่วนด้ามทาด้วยไม้ไผ่กลมเล็ก ยาวประมาณ 3 เมตร (1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีด้ามตรง เสี้ยนตาลมัดติดกับด้ามแน่นหนา (2)กำรใช้ ใช้ทาความสะอาดบริเวณที่สูง เช่น กวาดเพดาน ปัดหยากไย่ เป็นต้น (3)กำรเก็บรักษำ เก็บในที่ร่มและที่แห้ง ไม่ตากแดด ตากฝน วางตั้งกับพื้น หรือวางพิงเอา ด้ามลง
  • 15. 4)ไม้กวาดไม้ไผ่ ทาจากไม้ไผ่ทั้งด้ามจับและปลายไม้กวาด ปลายไม้กวาด มีลักณะะเป็นีี่ หลายซี่ มัดด้วยเชือกหรือหวายแผ่เป็นแผง (1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีด้ามตรง ไม่เล็กหรือไม่ใหญ่เกินไป ไม่มีมอดกัดกิน รอยมักแน่หนา (2)กำรใช้ ใช้กวาดใบไม้ในสนาม กวาดเศษกระดาษบนพื้น (3)กำรเก็บรักษำ เก็บในที่ร่มและที่แห้ง ไม่ควรตากแดดหรือตากฝน จัดเก็บโดยการแขวน หรือวางราบกับพื้น หรือวางตั้งกับพื้น หรือวางพิงเอาด้ามลงก็ได้
  • 16. 5)ไม้กวาดขนไก่ เป็นพู่ทาด้วยขนไก่ ยาวประมาะ 25-50 เีนติเมตร ด้ามจับมีทั้งที่เป็น หวายและพลาสติก ที่ปลายด้ามมักจะโค้งงอ หรือมีเชือกร้อยเป็นห่วงไว้สาหรับแขวน (1)กำรเลือก ควรเลือกท่าขนติดแน่นกับด้ามและหนาพอสมควร (2)กำรใช้ ใช้ปัดฝุ่นตามที่ต่างๆ เช่น บนโต๊ะ เก้าอี้ ขอบหน้าต่าง เป็นต้น (3)กำรเก็บรักษำ ควรเก็บในที่แห้ง โดยวิธีแขวนและเคาะฝุ่นออกให้หมดก่อนจัดเก็บ
  • 17. 6)ไม้กวาดไนลอน ปัจจุบันมีผู้ผลิตไม้กวาดและไม้ปัดฝุ่นทาด้วยเส้นใยไนลอน มีหลายชนิด ทั้งที่ใช้กวาดพื้นเรียบเช่นเดียวกันกับไม้กวาดดอกหญ้า ชนิดกวาดพื้นหยาบเช่นเดียวกันกับไม้ กวาดทางมะพร้าว และบางชนิดจะเป็นพู่ใช้ปัดฝุ่นเช่นเดียวกันกับไม้กวาดขนไก่ (1)กำรเลือก ควรเลือกที่ด้ามจับมีขนาดเหมาะมือ (2)กำรใช้ เลือกใช้ตามลักษณะงาน (3)กำรเก็บรักษำ จัดเก็บโดยวิธีแขวน เพื่อไม่ให้ปลายไม้กวาดเสียรูปทรง
  • 18. แปรงขัด แปรงขัดเป็นเครื่องมือใช้สาหรับขัดสิ่งสกปรกเพื่อทาความสะอาดบ้านและสิ่งของเครื่องใช้ ต่างๆ จึงควรพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสม โดยแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้ 1)แปรงลวด ลักษณะขนแปรงสั้น ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ทาด้วยเส้นลวด ผนึกติดแน่น บนแผงไม้ มีทั้งรูปร่างกลมรี รูปร่างเหลี่ยมยาว มีด้ามจับเพื่อใช้ขัดตามซอกมุม (1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีลักษณะกลมรี กระชับเมื่อต้องการขัด เหมาะสาหรับพื้นที่กว้าง ไม่ มีซอกมุม (2)กำรใช้ ใช้ขัดพื้นซีเมนต์ พื้นหินขัดที่สกปรกมาก (3)กำรเก็บรักษำ ก่อนการจัดเก็บเพื่อป้องกันสนิม จะต้องตากให้ขนแปรงแห้งและเก็บเข้าที่
  • 19. 2)แปรงพลาสติก ขนแปรงทาด้วยพลาสติก มีทั้งชนิดที่มีด้ามจับและไม่มีด้ามจับ ทั้ง 2 ชนิดใช้ประโยชน์ต่างกัน (1)กำรเลือก ควรเลือกที่ขนแปรงเรียบ เรียงกันแน่น จับกระชับมือ (2)กำรใช้ ใช้ขัดโถส้วม (3)กำรเก็บรักษำ เก็บในที่แห้ง
  • 20. 3)แปรงไนลอน ลักณะะขนแปรงสั้นประมาะ 1.5 เีนติเมตร ทาด้วยไนลอน ีึ่งมีความ - อ่อนกว่าขนแปรงพลาสติกผนึกติดแน่นบนแผงไม้ (1)กำรเลือก ควรเลือกที่ขนแปรงแน่นหนาและจับกระชับมือ (2)กำรใช้ ใช้ปัดฝุ่นละอองบนกระเป๋าเสื้อผ้า หรือใช้ขัดกระเป๋า รองเท้า และอื่นๆ (3)กำรเก็บรักษำ จัดเก็บในที่แห้งให้เรียบร้อย
  • 21. ฝอยขัด แผ่นขัด แผ่นขัดมีหลายลักษณะให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม เช่น เป็นแผ่นขัดสี่เหลี่ยม ทาด้วยไฟ เบอร์ บางแบบประกบติดกับฟองน้า ขนาดจับเหมาะมือ ส่วนฝอยขัดมีลักษณะเป็นเส้นฝอยจับกัน เป็นก้อน (1)กำรเลือก ควรเลือกชนิดที่มีความทนทาน ราคาไม่แพงเกินไป (2)กำรใช้ ใช้ขัดภาชนะและสิ่งสกปรก (3)กำรเก็บรักษำ หลังใช้แล้วต้องล้าให้สะอาด บีบหรือสะบัดเอาน้าออกให้หมดและผึ่งแห้ง
  • 22. แผ่นฟองน้า แผ่นฟองน้ามีหลายชนิด มีความหนาแตกต่างกันและหลากสีสัน ทาให้มองดูน่าใช้ (1)กำรเลือก เลือกแผ่นฟองน้าที่มีความหนาและขนาดเหมาะมือ (2)กำรใช้ ใช้สาหรับล้างสิ่งของที่ทาด้วยแก้ว จานชามกระเบื้อง (3)กำรเก็บรักษำ ปฏิบัติเช่นเดียวกับแผ่นขัด
  • 23. ไม้ถูพื้น ไม้ถูพื้นจะมีลักษณะเป็นด้ามยาว ส่วนปลายทาจากผ้า หรือแผ่นฟองน้า มีหลายรูปแบบให้ เลือกใช้ (1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีความทนทาน เส้นใยซับน้าได้ดี โดยเลือกใช้ให้เหมาะกับชนิดของ พื้นที่จะทาความสะอาด (2)กำรใช้ ใช้ถูพื้นต่างๆในบ้าน (3)กำรเก็บรักษำ ซักส่วนปลายให้สะอาด ผึ่งให้แห้ง และจัดเก็บโดยวิธีแขวน
  • 24. ถังและกะละมัง ถังและกะละมังมันมีหลายขนาดให้เลือกใช้ มีทั้งที่เป็นโลหะและพลาสติก (1)กำรเลือก ควรเลือกที่มีความหนา ถ้าเป็นประเภทมีหู เลือกที่หูแน่นหนา ไม่หลุดหรือ แตกหักได้ง่าย (2)กำรใช้ ใช้ใส่น้าเพื่อซักล้างและทาความสะอาดสิ่งของต่างๆ (3)กำรเก็บรักษำ ล้างให้สะอาด ผึ่งแดดให้แห้ง และจัดเก็บโดยวิธีคว่าหรือแขวน
  • 25. สารทาความสะอาด สารทาความสะอาดที่มีขายอยู่ทั่วไปมีหลายชนิด หลายยี่ห้อแต่ละชนิดมีลักษณะและคุณสมบัติ ในการใช้งานต่างกัน สารทาความสะอาดแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้ 1)ผงซักฟอก มีทั้งชนิดเป็นผงและชนิดของเหลว (1)กำรเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ เลือกตามความเหมาะสม (2)กำรใช้ ใช้งานตามที่ระบุในฉลาก เช่น ใช้ทาความสะอาด ซักล้างทั่วไป เป็นต้น (3)กำรเก็บรักษำ ปิดฝาให้สนิท จัดเก็บในที่แห้ง และให้พ้นมือเด็ก
  • 26. 2)น้ายาล้างจาน มีทั้งชนิดที่เป็นของเหลวและเป็นครีม (1)กำรเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ พิจารณาประสิทธิภาพให้เหมาะสมกับราคาและ การใช้งาน (2)กำรใช้ ใช้ล้างจาน ชาม และภาชนะอื่นๆ (3)กำรเก็บรักษำ ถ้าเป็นกล่องหรือแบบขวดให้ปิดฝาให้สนิท ถ้าเป็นแบบถุงให้ปิดปากถุงให้ สนิท วางในที่หยิบใช้สะดวก และพ้นจากมือเด็ก
  • 27. 3)น้ายาขัดและผงขัด มีทั้งชนิดที่เป็นของเหลวและเป็นผง (1)กำรเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ พิจารณาประสิทธิภาพให้เหมาะสมกับราคาและ การใช้งาน เช่น ใช้สาหรับขัดสุขภัณฑ์ ขัดภาชนะเครื่องครัว ขัดเครื่องเรือนโลหะ เป็นต้น (2)กำรใช้ ใช้ทาความสะอาดพื้น ขัดภาชนะ ตามที่ระบุไว้ในฉลาก (3)กำรเก็บรักษำ ปิดฝาให้สนิท วางในที่หยิบใช้สะดวก และให้พ้นมือเด็ก
  • 28. 3.การทาความสะอาดบ้าน ในการดูแลรักษาบ้านให้สะอาดเรียบร้อย น่าอยู่ ควรทางานตามที่ได้วางแผนไว้ เลือกใช้ เครื่องมือให้เหมาะสมกับชนิดของงาน เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมก่อนการทางาน ถ้าเป็น เครื่องใช้ไฟฟ้า ควรสารวจความเรียบร้อยก่อนนามาใช้งาน นอกจากนี้ ควรเรียนรู้หลักการทา ความสะอาดต่างๆ ดังนี้ 3.1 หลักกำรปัดกวำด ในการปัดกวาดควรทาเป็นประจาอย่างน้อยวันละครั้ง โดยมีหลักการ ดังนี้ 1.กวาดจากที่สูงมาหาที่ต่า คือ กวาดจากเพดาน ฝาผนัง หลังตู้ แล้วจึงกวาดพื้น 2.ก่อนทาการกวาดควรปิดพัดลมหรือประตูหน้าต่างก่อน กวาดไปทางเดียวกัน แล้วจงกวาด เศษผงทิ้งด้วยที่ตักผง 3.กวาดจากขอบหรือมุมด้านในออกไปด้านนอก และขณะกวาดไม่ควรยกปลายไม้กวาดสูง เกินไป เพราะจะทาให้ฝุ่นผงกระจาย 4.หากขณะทาการกวาดมีพัดลม เพื่อป้องกันมิให้ฝุ่นละอองเข้าจมูกและปาก ผู้กวาดควรอยู่ เหนือทิศทางลม
  • 29. 3.2 หลักการเช็ดถู ในการเช็ดถูทาความสะอาดบ้าน ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1.ก่อนการเช็ดถูพื้น ควรปัดกวาดเศษผง ฝุ่นออกให้หมด 2.เช็ดถูบริเวณที่อยู่สูงก่อนการเช็ดถูบริเวณที่อยู่ต่า เช่น เช็ดถูตู้ก่อนตัวตู้ เป็นต้น 3.ถูจากส่วนหน้าเข้าหาตัว โดยถูถอยหลังเพื่อป้องกันรอยด่างจากการเหยียบพื้น 4.ใช้ผ้าที่ซับน้าได้ดีและไม่มีละออง เช่น ผ้าขนหนู ผ้าฝ้าย เป็นต้น 3.3 กำรทำควำมสะอำดส่วนต่ำงๆในบ้ำน บ้านประกอบด้วยส่วนต่างๆ เช่น เพดาน พื้น ฝาผนัง หน้าต่าง ประตู เป็นต้น ซึ่งควรดูแล รักษาให้สะอาดอยู่เสมอ ดังนี้ 1)เพดำน เป็นส่วนที่อยู่ด้านบนสุดของบ้าน ความสกปรกบนเพดานเกิดจากฝุ่นละออง ทาให้ เพดานสกปรกและรุงรังไม่น่ามอง ซึ่งควรทาความสะอาด ดังนี้ 1.ก่อนการกวาดควรปิดจมูกและปากด้วยผ้า เพื่อนป้องกันฝุ่นเข้าจมูกและปาก 2.ใช้ไม้กวาดทางมะพร้าวชนิดมีด้ามยาวเขี่ยเก็บหยากไย่ให้หมด 3.กวาดพื้นเพื่อเก็บเศษผงที่หล่มสู่พื้น
  • 30. 2)ฝาผนัง ควรทาความสะอาด ดังนี้ 1.ดูดฝุ่นด้วยเครื่องดูดฝุ่นหรือกวาดด้วยไม้กวานขนไก่ 2.ใช้ผ้าชุบน้าบิดพอหมาดๆแล้วเช็ดให้ทั่ว 3)ประตู หน้ำต่ำง ควรทาความสะอาด ดังนี้ 1.ปัดฝุ่นด้วยไม้กวาดขนไก่ 2.ใช้ผ้าชุบน้าบิดพอหมาดเช็ดให้ทั่ว แต่ถ้าเป็นประตู หน้าต่างกระจก ให้ใช้น้ายาเช็ดกระจก หรือใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ชุบน้าพอหมาดเช็ดถูหลายๆครั้งจนกว่ากระจกใส 4)กำรทำควำมสะอำดพื้น การทาความสะอาดพื้นประเภทต่างๆ ดังนี้ (1)พื้นไม้ ควรทาความสะอาดด้วยไม้กวาดดอกหญ้าก่อน และถูด้วยผ้าหรือไม้ถูพื้นชุบน้า บิดพอหมาดๆ (2)พื้นหินขัดและพื้นซีเมนต์ ราดน้าผสมน้ายาขัดและถูด้วยแปรง แล้วล้างน้าสะอาด (3)พื้นกระเบื้องยางหรือเสื่อน้ามัน ใช้ผ้าสะอาดจุ่มลงในน้าผสมผงซักฟอกแล้วขัดถูดังกล่าว ควรระวังไม่ให้พื้นกระเบื้องถูกน้ามาก เพราะจาทาให้กระเบื้องร่อนและหลุดจากพื้น
  • 31. 3.4 การทาความสะอาดห้องต่างๆในบ้าน บ้านโดยทั่วไปจะแบ่งเป็นห้องๆเพื่อประโยชน์ใช้สอยที่ต่างกัน ในการดูแลรักษาห้องต่างๆให้ สวยงามและสะอาดอยู่เสมอ ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1)ห้องนอน เป็นห้องส่วนตัวที่ใช้สาหรับพักผ่อนและทากิจกรรมต่างๆที่ต้องการความเป็น ส่วนตัว เช่น เขียนจดหมาย อ่านหนังสือ แต่งตัว เป็นต้น ดังนั้น เราควรดูแลรักษาส่วนต่างๆและ สิ่งของในห้องนอนให้สะอาดน่าใช้อยู่เสมอ โดยปฏิบัติ ดังนี้ (1)ที่นอน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม ควรเก็บที่นอน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม และคลุมเตียงด้วยผ้าคลุม เตียงให้เรียบร้อยทุกวัน (2)ตู้โต๊ะ ควรจัดให้เป็นระเบียบและเช็ดถูให้สะอาด (3)หน้าต่าง ควรเปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกขณะทาความสะอาด (4)มุ้งลวด ควรทาความสะอาดโดยปัดฝุ่นประมาณสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และล้างลวดประมาณ เดือนละ 1 ครั้ง
  • 32. 2)ห้องรับแขก เป็นห้องที่ใช้สาหรับต้อนรับผู้ที่มาเยี่ยมเยียน จึงควรอยู่บริเวะส่วนหน้าของ บ้าน ควรเป็นห้องที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก และควรจัดห้องให้เรียบร้อย สวยงาม ดังนั้น ควรดูแล รักษาความสะอาด ดังนี้ (1)โต๊ะ เก้าอี้รับแขก ควรปัดฝุ่นและเช็ดถูทุกวัน (2)ภาพติดฝาผนัง ควรปัดด้วยด้วยไม้กวาดขนไก่ ประมาณสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (3)วิทยุและโทรทัศน์ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าแห้งทุกวัน (4)หนังสือ ควรจัดวางให้เป็นระเบียบ (5)ของใช้อื่นๆ ที่วางในห้องรับแขก ควรดูแลและทาความสะอาดอยู่เสมอ
  • 33. 3)ห้องพระ ควรดูแลทาความสะอาด ดังนี้ (1)โต๊ะหมู่บูชาและอุปกรณ์เครื่องใช้ ควรทาความสะอาดอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง (2)รูปรัชกาลต่างๆ ถ้ามีควรตั้งโต๊ะต่างหากไว้บูชา โกศบรรจุอัฐิหมั่นเช็ดฝุ่นหรือเก็บไว้ใน ตู้เล็กๆกันเด็กเล่นตกหล่น (3)หนังสือธรรมมะ ควรหมั่นเช็ดถูปัดฝุ่นละอองอยู่เสมอ (4)พระเครื่อง เหรียญพระ ควรติดไว้ในกรอบบุด้วยกามะหยี่ เพราะดูแลรักษาทาความ สะอาดได้ง่าย
  • 34. 4)ห้องแต่งตัว ควรดูแลรักณาความสะอาด ดังนี้ (1)โต๊ะเครื่องแป้งและของใช้ที่จาเป็นในการแต่งตัว ควรจัดวางไว้บนโต๊ะ แป้ง หวี กระจก น้าหอม ควรทาความสะอาดอยู่เสมอ (2)ตู้เสื้อผ้า ควรจัดให้เรียบร้อยและจัดแยกประเภทของเสื้อผ้าไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น เสื้อ กระโปรง กางเกง ชุดชั้นใน ผ้าเช็ดหน้า เป็นต้น (3)รางตากผ้า ควรมีราวตากผ้าสาหรับตากผ้าเล็กๆน้อย เช่น ผ้าเช็ดตัว เสื้อคลุม เสื้อนอน เป็นต้น (4)ถังขยะ สาหรับทิ้งเศษกระดาษ เศษผงอื่นๆ ควรจัดตั้งไว้ข้างโต๊ะเครื่องแป้งโดยใช้ ถุงพลาสติกเปล่ารองไว้ด้านใน จะทาให้ถังไม่สกปรกและรวบเก็บขยะทิ้งได้ง่าย
  • 35. 5)ห้องครัว เป็นห้องที่ใช้สาหรับประกอบอาหาร เก็บอุปกระ์ เครื่องมือเครื่องใช้และเครื่อง ปรุงในการประกอบอาหาร เพื่อไม่ให้มีกลิ่นรบกวนผู้อยู่อาศัยขณะประกอบอาหารจึงควรจัดอยู่ ห่างจากห้องรับแขกและห้องนอน ถ้าทาได้ควรมีพัดลมดูดควันและกลิ่นออกพ้นตัวบ้าน นอกจากนี้ ควรจัดให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก โดยดูแลรักษา ดังนี้ (1)เตาไฟ หลังจากใช้งานควรปิดและทาความสะอาดทุกครั้ง (2)หม้อ กระทะ จาม ชาม ช้อน หลังจากใช้งานควรล้างให้สะอาดและคว่าให้แห้งสนิท (3)โต๊ะและตู้กับข้าว หลังการใช้งานควรจัดเก็บและทาความสะอาดทุกครั้ง
  • 36. 6)ห้องน้า ส่วนมากสมาชิกในบ้านจะใช้ห้องน้าร่วมกัน ดังนั้น ควรช่วยกันรักณาให้สะอาด การทาความสะอาดห้องน้า ควรปฏิบัติ ดังนี้ (1)ราวตากผ้าหรือที่สาหรับแขวนผ้าเช็ดตัว ต้องหมั่นเช็ดถูทาความสะอาด (2)อ่างล้างหน้าหรืออ้างอาบน้า ต้องทาความสะอาดทุกครั้ง โดยใช้ผงขัดเงา (3)หัวก๊อกน้า จานสบู่ กรอบกระจก ควรเช็ดน้าให้แห้งแล้วใช้ผ้าชุบ (4)กระจกแต่งตัว ต้องเช็ดให้สะอาดอยู่เสมอ (5)ฝาห้อง เพดาน หน้าต่าง ควรทาความสะอาด ปัดฝุ่น หยากไย่เสมอ (6)โคมไฟหรือหลอดไฟ ควรใช้ผ้าเช็ดเพื่อป้องกันไม่ให้หยากไย่หรือฝุ่นเกาะ
  • 37. 3.5 การดูแลรักษาบริเวณบ้าน บริเวณบ้านเป็นส่วนที่อยู่รอบๆตัวบ้าน ควรดูแลรักษาให้สะอาดและถูกสุขลักษณะ 1)บริเวณรั้ว ประตู และถนนเข้าบ้าน ควรดูแลรักษา ดังนี้ 1.ประตูบ้านและรั้วบ้าน ถ้าเป็นเหล็กดัดควรหมั่นดูแลรักษา ถ้ามีสนิมจับให้ขัดด้วยกระดาษ ทรายและทาสีกันสนิม แล้วทาสีน้ามันทับ 2.รั้วซีเมนต์ ควรปัดกวาดทาความสะอาดเดือนละ 1 ครั้ง 3.รั้วต้นไม้ เช่น รั้วกระถิน มะเขือเทศ เป็นต้น ควรตัดแต่งเป็นประจาเพื่อไม่ให้รกและต้นไม้ เสียรูปทรง 4.ถนนทางเข้าบ้าน ควรดูแลรักษาโดยกวาดหรือล้างให้สะอาดอยู่เสมอ 5.ไม่ควรนาถังขยะวางไว้หน้าบ้าน เพราะจะทาให้สุนัข แมวมาคุ้ยเขี่ยเศษอาหาร
  • 38. 2)บริเวณลานบ้าน สนามหญ้า และสวน ควรดูแลรักณา ดังนี้ 1.กวาดให้สะอาด ถ้ามีใบไม้ร่วงให้เก็บกวาดทุกวัน 2.ตัดหญ้าเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมทั้งตัดแต่งกิ่งไม้ ใส่ปุ๋ย และพรวนดินต้นไม้ 3.บริเวณทางเดิน ควรนาแผ่นอิฐ หรือแผ่นกรวดล้าง หรือแผ่นหินกาบวางเป็นระยะให้เดิน ได้สะดวก 4.พื้นที่บริเวณที่เป็นหลุมบ่อ ให้กลบถมเพื่อหลีกเลี่ยงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 3)บริเวณรอบตัวบ้ำนและทำงระบบน้ำ ควรดูแลรักษา ดังนี้ 1.กวาดบริเวณให้สะอาด อย่าให้มีน้ามันขังเพราะจะทาให้ส่งกลิ่นเหม็น 2.ไม่ควรวางสิ่งของรอบๆบ้าน จะทาให้มีน้าขังเพราะจะทาให้ส่งกลิ่นเหม็น 3.ถ้ามีภาชนะใส่น้า เช่น โอ่ง ตุ่ม หรือถังน้า ควรปิดฝาให้มิดชิด 4.ไม่ควรทิ้งขยะหรือเศษอาหารลงในทางระบายน้า เพราะจะทาให้น้าไหลผ่านไม่สะดวก 5.ถ้าเป็นทางระบายน้าแบบเปิด ควรกวาดทุกสัปดาห์ เพื่อให้น้าไหลผ่านได้สะดวก
  • 39. 3.6 การดูแลรักษาเครื่องเรือน เครื่องเรือนเป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่ช่วยตกแต่งภายในบ้านให้สวยงาม อาทิ ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ ชุด รับแขก ควรดูแลรักษาให้ถูกวิธีตามลักษณะและชนิดของวัสดุ ซึ่งมีวิธีการ ดังนี้ 1)เครื่องเรือนประเภทไม้ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบน้าบิดหมาด ถ้าสกปรกมากควรใช้ ฟองน้าชุบน้าผสมผงซักฟอกถู แล้วใช้ผ้าชุบน้าสะอาดจนหมดน้าผงซักฟอก 2)เครื่องเรือนประเภทหนัง ควรปัดฝุ่นและใช้เศษผ้าชุบน้ายาขัดเงาทาให้ทั่วและขัดด้วย แปรงขนสัตว์จนขึ้นเงา 3)เครื่องเรือนประเภทพลำสติกและเครื่องเคลือบ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบน้าบิด หมาด 4)เครื่องเรือนประเภทเครื่องเงิน ควรทาความสะอาดบ่อยๆโดยขัดด้วยน้ายาขัดเครื่องเงิน 5)เครื่องเรือนประเภททองเหลือง ควรทาความสะอาดโดยขัดด้วยน้ายาขัดทองเหลืองหรือ ขัดด้วยน้ามะขามเปียก แล้วล้างด้วยน้าสะอาด เช็ดด้วยผ้าแห้ง 6)เครื่องเรือนประเภทเครื่องแก้วและกระจก ถ้าเป็นกระจกให้เช็ดถูด้วยน้ายาเช็ดกระจก แต่ถ้าเป็นแก้วควรล้างด้วยน้าผงซักฟอกแล้วล้างให้สะอาด
  • 40. 4.ความปลอดภัยในการทางานบ้าน ในการดูแลรักษาบ้านให้สะอาด สวยงามน่าอยู่นั้น เราควรระมัดระวังในเรื่องต่างๆ เพื่อให้เกิด ความปลอดภัยจากการทางานบ้าน ดังนี้ 4.1 ควำมปลอดภัยจำกกำรใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ำ การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1.ก่อนการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้งควรอ่านคาแนะนาอย่าละเอียดให้เข้าใจและปฏิบัติตาม อย่างเคร่งครัด 2.ควรตรวจดูสายไฟ ปลั๊กไฟ หากมีรอยชารุดจะต้องซ่อมแซมให้เรียบร้อยก่อนการนามาใช้ 3.ไม่ใช้มือเปียกน้าเสียบปลั๊กหรือดึงปลั๊กไฟ 4.ระวังอย่าให้สายไฟแช่น้าเพราะอาจจะเกิดอันตรายจากกระแสไฟ 5.อย่าให้สายไฟไฟใกล้เตาไฟเพราะจะทาให้สายไฟละลายเสียหายและเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ได้ 6.เมื้อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเสร็จต้องถอดปลั๊กให้เรียบร้อยทุกครั้ง
  • 41. 4.2 ความปลอดภัยจากการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1.ศึกษาวิธีใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ก่อนการใช้งาน เพื่อให้เข้าใจวิธีใช้อย่างถูกต้อง 2.ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้เหมาะสมกับงาน เช่น การนามีดหั่นมาสับเศษไม้ จะทาให้ คมมีดเสีย เป็นต้น 3.ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการทางานอย่าระมัดระวัง ไม่ประมาท ทั้งระวังการแตกหัก เสียหาย 4.ควรจัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องมือที่เป็นของมีคมให้พ้นมือเด็กและเก็บอุปกรณ์ที่มีน้าหนักมากไว้ บนพื้น 5.เมื่อปรุงอาหารประเภทเคี่ยวหรือตุ๋นโดยใช้หม้ออัดความดัน ควรตั้งนาฬิกากาหนดเวลา และ บอกสัญญาณเตือนเพื่อกันลืม ซึ่งอาจจะทาให้อาหารไหม้ หรือหม้ออัดความดันระเบิดได้
  • 42. 4.3 ความปลอดภัยจากการใช้สารซักฟอกและสารเคมี การใช้สารซักฟอกและสารเคมีต่างๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1.เมื้อใช้เสร็จแล้ว ล้างเท้าให้สะอาดทันที 2.หลีกเลี่ยงการใช้หรือการสัมผัสสารเคมี เช่น ใช้ปุ๋ยคอกแทนปุ๋ยวิทยาศาสตร์ซักผ้าขาวบ่อยๆ ให้สะอาดดีกว่าทิ้งให้ผ้าหมองคล้า แล้วนาไผฟอกขาวด้วยสารเคมี เป็นต้น 3.เมื่อจาเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่มีสารเคมี จะต้องหาทางป้องกันตนเองให้ปลอดภัยโดยการ สวมถุงมือ ใช้ผ้าปิดจมูก เป็นต้น 4.ควรเก็บให้มิดชิดและพ้นมือเด็ก 5.ให้เขียนชื่อบอกไว้ที่ข้างกล่องหรือข้างขวดเพื่อป้องกันการหยิบใช้ผิดพลาด
  • 43. 4.4 ความปลอดภัยจากวิธีการทางาน วิธีหรือขั้นตอนการทางานปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1.วางแผนการทางานอย่างเป็นระเบียบ เป็นขั้นตอน และปฏิบัติตามขั้นตอนที่วางไว้ 2.เมื่อกวาดเพดานหรือปัดฝุ่น ควรมีผ้าปิดจมูกเพื่อป้องกันฝุ่นเข้าจมูกและควรอยู่เหนือลม 3.เมื่อหยิบของหรือทาความสะอาดที่สูง ควรใช้บันไดหรือยืนบนโต๊ะแทนการเขย่ง เพราะจะทา ให้ยืนไม่ถนัดและอาจจะหกล้มได้ 4.เมื่อถูพื้นหรือขัดห้องน้า ควรทาจากด้านในออกด้านนอก โดยไม่เหยียบพื้นที่ถูเสร็จใหม่ๆ เพราจะทาให้เป็นรอยและลื่นหกล้มได้ 5.ระมัดระวังและมีสมาธินาการทางาน ไม่หยอกล้อหรือเล่นกันในขณะทางาน 6.ไม่ควรทางานในขณะที่ร่างกายยังไม่พร้อม เช่น เจ็บป่วย ง่วงนอน เป็นต้น 7.ใช้เครื่องมือป้องกันให้เหมาะสมกับงาน เช่น ใช้ผ้าจับของร้อนเมื่อของร้อนออกจากเตาไฟ สวมหน้ากากและถุงมือขณะฉีดยาฆ่าแมลง เป็นต้น
  • 44. 8.ไม่หักโหมทางานเกินไป งานที่ต้องออกแรงมาก เช่น ยกของหนัก ขัดพื้น เลื่อยไม้ หรืออื่นๆ ต้องหยุดปฏิบัติงานเมื่อรู้สึกว่าไม่สามารถปฏิบัติต่อไปได้ 9.ลดมลภาวะที่เกิดจากการทางาน เช่น ใช้เครื่องดูดควันในขณะประกอบอาหาร หรือใช้ เครื่องดูดฝุ่นแทนการกวาดฝุ่นด้วยไม้กวาด เป็นต้น 10.ควรจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ให้เป็นระเบียบร้อย ไม่วางเกะกะขวางทางเดิน 4.5 ควำมปลอดภัยจำกกำรใช้บริเวณต่ำงๆของบ้ำน การใช้บริเวณต่างๆของบ้านเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1.ควรให้ห้องและบริเวณต่างๆมีแสงสว่างเพียงพอ เพื่อให้มองเห็นได้ชัดเมื่อทางานทั้งยังเกิด ความสะดวกในการดูแลรักษาและทาความสะอาด 2.เมื่อมีน้าหรืออาหารหกลงบนพื้นครัว ให้รับเช็ดให้สะอาดและแห้งทันที เพื่อป้องกันการลื่น หกล้ม 3.พยายามให้พื้นห้องน้าแห้งอยู่เสมอ 4.ปิดแก๊ส ปิดก๊อกน้าหลังการใช้งานทุกครั้ง
  • 45. 5.การจัดตกแต่งบ้านและบริเวณบ้าน 5.1 หลักในกำรจัดตกแต่งบ้ำน การจัดตกแต่งบ้านให้สวยงาม น่าอยู่ ควรคานึงถึงหลักการ ดังนี้ 1)ควำมปลอดภัย ในการจัดตกแต่งบ้าน ควรคานึงถึงความปลอดภัยของสมาชิกในบ้าน โดย การเลือกเครื่องตกแต่งบ้านที่ไม่มีมุมแหลม ไม่ตกแต่งบ้าน ไม่วางเกะกะขวางทางเดิน และควร ป้องกันอันตรายที่เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก 2)ถูกสุขลักษณะและสะอำด ในการจัดตกแต่งบ้านจะต้องให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก และให้ มีแสงสว่างเพียงพอ รวมทั้งควรทาความสะอาดเครื่องเรือนให้สะอาดอยู่เสมอ 3)ควำมสะดวก ในการจัดตกแต่งบ้านควรคานึงถึงความสะอาดในการทากิจกรรมต่างๆโดย การจัดแนวทางเดินระหว่างส่วนต่างๆของบ้านให้สัมพันธ์กัน 4)ควำมสบำย การจัดตกแต่งบ้านให้มีความหมาย ควรจัดให้มีเครื่องช่วยป้องกันความจ้าของ แสงแดด เช่น ม่าน มู่ลี่ ก็ให้มีช่องระบายความร้อนและมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก สามารถมองเห็น ทิวทัศน์ในบ้านหรือนอกบ้านที่ทาให้เกิดความเพลิดเพลินได้ เป็นต้น
  • 46. 5)ความมีระเบียบและความสวยงาม ในการจัดตกแต่งเครื่องเรือนควรมีความเป็นระเบียบ เรียบร้อย สิ่งของที่จัดวางถ้ามีมากเกินไปหรือจัดวางไม่เป็นระเบียบ จะทาให้ความสวยงามลดลง 6)ควำมประหยัด ในการจัดตกแต่งบ้านควรคานึงถึงความประหยัดทั้งเวลา แรงงาน และเงิน โดยพิจารณาเรื่องเวลาในการดูแลรักษา ทาความสะอาด ราคาสิ่งของที่มาใช้ตกแต่งบ้าน การใช้ เครื่องทุ่นแรงจะทาให้ช่วยประหยัดเวลาและแรงงาน แต่ก่อนการซื้อควรพิจารณาราคากับความ คุ้มค่าในการใช้สอย 5.2 กำรจัดตกแต่งห้องต่ำงๆ ภายในบ้านแต่ละหลังจะมีห้องต่างๆมากมาย เช่น ห้องนอน ห้องครัว ห้องอาหาร ห้องรับแขก ห้องน้า เป็นต้น ซึ่งแต่ละห้องก็มีประโยชน์ใช้สอยแตกต่าง ดังนั้น ในการจัดตกต่างๆห้องต่าง ควร จัดให้เหมาะสม ดังนี้ 1)กำรจัดแต่งห้องนอน ห้องนอนเป็นห้องส่วนตัวที่ให้ความรู้สึกสบายที่สุดของบ้าน ใช้ พักผ่อนคลายความเครียดและใช้ทากิจกรรมส่วนตัวอื่นๆ เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง เป็นต้น
  • 47. ปัจจัยที่ควรคานึงถึงในการจัดตกแต่งห้องนอน มีดังนี้ (1)มีความเป็นส่วนตัว ไม่มีเสียงรบกวน ประตูสามารถปิดด้านในและด้านนอกเพื่อความ เป็นส่วนตัวได้ (2)มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น มีหน้าต่าง ช่องระบายอากาศ มีพัด ลมหรือเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ไม่ควรจัดวางหัวเตียงนอนให้ชิดหน้าต่าง เพราะถ้าได้รับลม มากๆจะทาให้เป็นหวัดได้ง่าย (3)ใช้สีห้องนอนตามที่ผู้ใช้ชอบ ควรคานึงถึงความต้องการของผู้ใช้ โดยทั่วไปจะตกแต่ง ห้องนอนสีเย็นเพราะให้ความรู้สึกเย็นสบาย (4)เลือกเครื่องเรือนห้องนอนที่เหมาะสม เช่น เตียง ตู้ โต๊ะเขียนหนังสือ เป็นต้น ควรเลือก ให้มีขนาดเหมาะสมกับการจัดวางเครื่องเรือน (5)จัดให้มีสิ่งของเครื่องใช้ตามความจาเป็นและเหมาะสม เช่น จัดหาโทรทัศน์ วิทยุ นาฬิกา หรืออาจจะใช้มุมใดมุมหนึ่งของห้องนอนเป็นที่สาหรับแต่งตัว โดยจัดวางของใช้ส่วนตัว ตู้เสื้อผ้า หรือเครื่องใช้ส่วนตัวอื่นๆ เช่น กระเป่าถือ ชุดชั้นใน เป็นต้น
  • 48. 2) การจัดตกแต่งห้องครัว ห้องครัวเป็นห้องที่ใช้ประกอบอาหาร ควรจัดให้เหมาะสมกับการ ใช้สอย นอกจากนี้ยังเป็นห้องที่ต้องทาความสะอาดบ่อยที่สุด เพราะป้องห้องที่ใช้เตรียมอาหาร ประกอบอาหาร เสิร์ฟอาหาร และเก็บล้างอาหาร ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงในกำรจัดตกแต่งห้องครัว มีดังนี้ (1)จัดวางเครื่องใช้ให้เป็นหมวดหมู่ โดยคานึงถึงการสะดวกในการหยิบสิ่งของเครื่องใช้ รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบได้ง่าย ดังนี้ 1.มีพื้นที่หรือบริเวณเตรียมอาหาร ซึ่งเป็นที่ใช้สาหรับเตรียมและประกอบอาหาร โดยจัด ให้มีอ่างสาหรับล้างอยู่ตรงกลาง ใต้โต๊ะเป็นตู้สาหรับเก็บเครื่องใช้ในการประกอบอาหาร เช่น มีด ครก เขียง หม้อ กระทะ เป็นต้น 2.มีหน่วยหุงต้ม ซึ่งประกอบด้วย เตาชนิดต่างๆ หรือเตาชนิดใดชนิดหนึ่งตามฐานะหรือ ตามความต้องการ เช่น เตาไฟ เตาแก๊ส ซึ่งอาจจัดให้อยู่ถัดจากโต๊ะประกอบอาหาร และให้มี ตะแกรงพักของร้อน มีฐานะสาหรับพักอาหารที่เสร็จจากการปรุงและยกลงจากเตาไฟ เป็นต้น
  • 49. 3.มีหน่วยสาหรับเก็บอุปกระ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เช่น จาน ช้อน ส้อม อาหารแห้ง รวมทั้ง ตู้ใส่อาหารที่ประกอบอาหารเสร็จแล้ว เป็นต้น (2)จัดให้มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น มีช่องระบายอากาศ หน้าต่าง เครื่องดูดควัน และควรตกแต่งด้วยการใช้สีให้ความสว่างและเกิดความสะอาดตา เช่น สี ขาว สีฟ้าอ่อน สีเหลืองอ่อน เป็นต้น (3)จัดให้มีที่รองรับขยะหรือเศษอาหาร เมื่อประกอบอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้วควรนาขยะ ออกจากห้องครัว เพราะขยะในห้องครัวส่วนใหญ่จะเป็นเศษผัก เศษอาหารหรือของสด ซึ่งเน่าเสีย ได้ง่าย หากทิ้งไว้จะส่งกลิ่นเหม็น เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวัน แมลงสาบ และมด ซึ่งอาจจะเป็น พาหนะโรคมาสู่สมาชิกในครอบครัวได้ 3) กำรจัดตกแต่งห้องอำหำร ห้องอาหารเป็นห้องที่ใช้รับประทานอาหาร บางบ้านที่จะใช้ เป็นที่ทากิจกรรมต่างๆ เช่น อ่านหนังสือ เย็บผ้า ประดิษฐ์สิ่งของ เป็นต้น หลักกำรที่ควรคำนึงถึงในกำรจัดตกแต่งอำหำร มีดังนี้ 1.มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น มีช่องระบายอากาศหรือมีหน้าต่าง เป็นต้น
  • 50. 2.การใช้สีในห้องอาหาร ควรใช้สีสบายตา เช่น สีเหลืองอ่อน สีส้มอ่อน สีเขียวอ่อน สีชมพูอ่อน เป็นต้น 3.การจัดวางโต๊ะ เก้าอี้ ควรจัดวางให้สามารถเลื่อนเก้าอี้และลุกนั่งได้สะดวก 4.จัดหาจาน ชามใส่อาหารที่ช่วยให้อาหารมองดูน่ารับประทาน 5.จัดหาภาพแขวนผนังประเภทอาหารหรือภาพที่เกี่ยวข้องกับอาหาร เช่น ภาพผัก ผลไม้ เครื่องดื่มต่างๆ เป็นต้น 4) กำรจัดตกแต่งห้องรับแขก ห้องรับแขกเป็นห้องที่มีใช้สาหรับรับแขกที่มาเยี่ยมเยียนบ้าน หรือใช้เป็นที่พักผ่อน นั่งเล่น อ่านหนังสือ สังสรรค์ ฟังเพลง หรือทากิจกรรมอื่นๆร่วมกับสมาชิก ในครอบครัว หลักกำรที่ควรคำนึงถึงในกำรจัดตกแต่งห้องรับแขก มีดังนี้ 1.คานึงถึงความสบาย โดยเลือกใช้เครื่องเรือนที่ออกแบบให้เพื่อนั่งสบาย มีแสงสว่างพอ และ ควรจัดวางเครื่องเรือนให้เหมาะสม สะดวกต่อการพูดคุยสนทนา 2.ควรจัดวางเครื่องเรือนให้สะดวกในการดูแลรักษา ทาความสะอาด และมีความสะดวกในการ ทากิจกรรมต่างๆ
  • 51. 3.คานึงถึงสีเครื่องเรือน โดยจัดเครื่องเรือนให้มีสีกลมกลืนกับผนังห้อง ตลอดจนความมี ระเบียบ ความสะอาดของห้อง เช่น สีที่ให้ความสดใส สวยงาม เป็นต้น 4.มีความเป็นสัดส่วน โดยจัดให้มีประตูเข้าออกเท่าที่จาเป็น เพราะการมีประตูมากจะทาให้ กลุ่มสนทนาไม่มีความเป็นส่วนตัว และประตูควรอยู่ส่วนหน้าของบ้าน 5.ควรจัดให้สวยสะดุดตาเป็นพิเศษ เพราะถือเป็นห้องที่เป็นหน้าเป็นตาของบ้านควรจัดให้มีตู้ สาหรับจัดวางสิ่งสวยงามแปลกตาหรือจัดวางสิ่งของที่เชิดหน้าชูตาของบ้าน 5)กำรจัดตกแต่งห้องน้ำ ห้องน้าเป็นห้องที่มีความชื้นสูง จึงควรให้มีพัดลมผ่านสะดวก เพื่อ ทาให้พื้นแห้ง มีแสงสว่าง และควรจัดให้มีอุปกรณ์เครื่องใช้อานวยสะดวกอย่างครบครัน เช่น มี ราวพาดฟ้า กระจกเงา อ่างล้างหน้า สบู่ และอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ ห้องน้ามีหลายรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับรสนิยม กาลังทรัพย์ของเจ้าของบ้าน รวมทั้งสภาพแวดล้อมต่างๆซึ่งสามารถจัดแยก ประเภทได้ดังนี้ 5.1) ห้องน้ำแบบดั้งเดิม เป็นแบบที่ใช้กันทั่วไปในชนบท หรือในบ้านของคนไทยเป็นส่วน ใหญ่ ส่วนประกอบสาคัญที่สุดก็คือ ต้องมีตุ่มสาหรับใส่น้า 1-2 ใบ อยู่ในห้องน้า น้าที่ใช้จะเป็น น้าประปา น้าบ่อ หรือน้าคลอง
  • 52. 5.2) ห้องน้าที่มีฝักบัวและก๊อกน้า เป็นห้องน้าที่อยู่ในอาคารบ้านเรือนสมัยใหม่ีึ่งอยู่ใน ย่านที่ใช้น้าประปาหรือบาดาล 5.3) ห้องน้ำที่ใช้อ่ำงอำบน้ำ เป็นห้องน้าที่มีความทันสมัยตามแบบตะวันตกมีราคาแพง มีอุปกรณ์และสุขภัณฑ์ครบครัน เช่น อ่างอาบน้า ก๊อกน้าเย็น ที่ใส่กระดาษชาระ เป็นต้น ส่วนมาก ห้องน้ามักจะรวมห้องสุขาไว้ด้วย หลักกำรที่ควรคำนึงถึงในกำรจัดตกแต่งห้องน้ำ มีดังนี้ 1.ควรจัดห้องน้าให้มีเพียงพอกับสมาชิกในครอบครัว 2.จัดให้มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก 3.การใช้สีในห้องน้าควรเป็นสีอ่อน เย็นตา เช่น สีเขียวอ่อน สีเหลืองอ่อน สีฟ้าอ่อน สีชมพูอ่อน เป็นต้น และควรนาไม้ประดับมาตกแต่งเพื่อความสวยงาม สดชื่น 4.จัดให้มีเครื่องใช้อานวยความสะดวกในห้องน้า เช่น อ่างอาบน้า ถังใส่น้า ฝักบัวอาบน้า ที่วาง สบู่ อ่างล้างมือ ถังขยะ เป็นต้น
  • 53. 6) การจัดตกแต่งห้องสุขา ห้องสุขาเป็นห้องที่มีความจาเป็นเพราะทุกคนต้องใช้เป็นกิจวัตร ประจาวัน ปัจจุบันนิยมสร้างอยู่ด้วยกันกับห้องน้าโดยแบ่งเป็นสัดส่วน ส่วนนอกเป็นห้องน้า ส่วน ในเป็นห้องสุขา สุขาที่อยู่ในบ้านมักจัดให้ติดกับห้องรับแขกหรือยู่ติดกับห้องนอนเพื่อสะดวกแก่ การใช้สอย ทั้งนี้ ควรรักษาความสะอาดเพื่อไม่ให้มีกลิ่นรบกวน หรือพื้นเปียกและมีรอยเปรอะ เปื้อน 5.3 กำรจัดตกแต่งบริเวณบ้ำน บริเวณบ้าน ได้แก่ ส่วนที่อยู่รอบๆบ้าน ควรดูแลตกแต่งให้สะอาดตา สวยงาม สดชื่นและ ปลอดภัย ดังนี้ 1.สนำมหญ้ำ ควรดูแลโดยหมั่นตัดหญ้าให้สั้นอยู่เสมอ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้เกิด ความสวยงามและความปลอดภัยจากสัตว์มีพิษ เช่น งู ตะขาบ และหากมีหลุม มีบ่อ หรือมีแอ่งน้า ขังควรถมให้เรียบร้อย เพื่อกันการหกล้ม หรือป้องกันแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 2.บริเวณขอบสนำม อาจจะปลูกต้นไม้ เช่น มะม่วง ชมพู่ ตะแบก เพื่อความร่มรื่น สวยงาม หรือจัดสวนหย่อม ปลูกพืชผักสวนครัว เพราะนอกจากจะใช้ประโยชน์ได้แล้วยังทาให้เกิดความ สวยงาม และควรจัดให้มีแผ่นหินเป็นทางเท้าในสนาม เป็นต้น
  • 54. 3.ถนนเข้าสู่ตัวบ้าน ควรปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ เช่น เข็ม กุหลาบ บานชื่น ดาวเรือง เป็นต้น เพื่อความสวยงาม สดชื่น 4.ระเบียงหน้ำบ้ำนหรือมุมบ้ำน ควรจัดวางไม้กระถางประเภทไม้ปลูกในร่ม เช่น พลูด่าง วาสนา หรืออาจจะนาโมบาย หรือไม้แขวนแขวนไว้ที่ชายคาบ้าน จะทาให้บริเวณบ้านมีความ สวยงาม สดชื่น และน่าอยู่ยิ่งขึ้น
  • 55. สรุป ในการดูแลรักษาบ้านให้สะอาด สวยงามและน่าอยู่นั้น จาเป็นจะต้องรู้จักเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการทาความสะอาดให้เหมาะสมกับงาน รู้จักวิธีการ ขั้นตอนในการทาความ สะอาด รู้จักทาความสะอาด และดูแลรักษาห้องต่างๆ เครื่องเรือนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม รวมทั้งจะต้องทางานด้วยความระมักระวัง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานด้วย นอกจากนี้ การจัดตกแต่งบ้านให้สะอาด สวยงามและน่าอยู่ จะต้องคานึงถึงหลักการต่างๆ เช่น หลักความปลอดภัย ความสะดวกสบาย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม และความ ประหยัด ในการจัดตกห้องแต่งๆ ไม่ว่าจะเป็นห้องนอน ห้องรับแขก ห้องอาหาร ห้องครัว ห้องน้า และบริเวณอื่นๆ ของบ้าน ควรคานึงถึงประโยชน์ใช้สอยในการทากิจกรรมต่างๆ ของสมาชิกใน ครอบครัว ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวอาศัยอยู่อย่างมีความสุข