SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มที่ 4
การเพาะปลูกพืช
สมาชิกในกลุ่ม
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
นางสาวอุบลวรรณ ขันทะพันธ์ เลขที่ 21
นางสาวยุพารัตน์ คาสิงหา เลขที่ 23
นายชินวัตร มาทวี เลขที่ 10
นางสาวอภิญญา แสนจู เลขที่ 20
นางสาวนิภาพรรณ เดชรักษา เลขที่ 31
นางสาวธารารัตน์ จันดี เลขที่ 34
นางสาวรัตนาภรณ์ บุญสวะ เลขที่ 41
นางสาวมนัญชยา แก้วคูณ เลขที่ 32
นางสาวกนกอร สาริโล เลขที่ 33
นาเสนอ
คุณครู จิราพร ยศศรีสุราษฎร์
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รหัสวิชา ง31101
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปลูกพืช
๑.ความลาดเอียงของพื้นที่ หรือระดับความสูงต่า
ของพื้นที่ พื้นที่เหมาะสมกับการปลูกพืช ควรมีความ
ลาดเอียงเล็กน้อยเพื่อสะดวกในการทดน้าและระ
บานน้าออกจากแปลงปลูกพืช
* สาหรับพื้นราบ ไม่มีความลาดเท ควรปรับพื้นที่ให้มี
ความเหมาะสม
๒.ขนาดของพื้นที่ มีความสาคัญต่อการเลือกใช้เครื่องมือ เครื่องทุ่นแรง
ทางการเกษตร นอกจากนี้ควรเลือกพื้นที่ที่สามารถขยายกิจการได้ใน
อนาคตอีกด้วย
๓.ลักษณะของดินลักษณะของดินดีหรือไม่ อาจสังเกตได้ด้วยตาเปล่า
และประเมินคุณภาพดินได้ เช่น ถ้าดินมีสีคล้าหรือค่อนข้างดา ส่วนใหญ่จะ
มีอินทรียวัตถุมาก แต่ก็ไม่เสมอไป
๔.สถานที่ตั้งของดิน ควรเป็นพื้นที่ใกล้ตลาดและชุมชนเพื่อความสะดวก
ในการขนส่งผลผลิตออกสู่ตลาด และต้องเป็นที่ดินที่ถูกต้องตามกฎหมาย
มีเอกสารสิทธิรับรองถูกต้อง
๕.แหล่งน้า น้ามีความสาคัญต่อการปลูกพืชเป็นอย่างมาก การเลือก
พื้นที่จึงต้องคานึงถึงแหล่งน้าด้วยว่าเอาน้าจากที่ใดมาใช้ประโยชน์ได้บ้าง
ปัจจัยการเจริญเติบโตของพืช
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช เป็นสภาพภายนอกที่อยู่รอบๆ ต้นพืช
ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพืช โดยทั่วไปปัจจัย
ต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช มีดังนี้
1. ดิน เป็นปัจจัยสาคัญอันดับแรก ดินที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช
ต้องเป็นดินที่อุ้มน้าได้ดี ร่วนซุย มีอินทรียวัตถุมาก แต่เมื่อใช้ดินปลูกไปนานๆ
ดินอาจเสื่อมสภาพ เช่น หมดแร่ธาตุ จาเป็นต้องมีการปรับปรุงดินให้อุดมสมบูรณ์
ได้แก่ การไถพรวน การใส่ปุ๋ย การปลูกพืชหมุนเวียน เป็นต้น
• 2. น้า มีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชมาก น้าช่วยละลายแร่ธาตุอาหารในดิน
เพื่อให้รากดูดอาหารไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของลาต้นได้ และยังช่วยให้ดินมีความชุ่มชื้น
พืชสดชื่นและการทางานของกระบวนการต่างๆ ในพืชเป็นไปอย่างปกติ
• 3. ธาตุอาหารหรือปุ๋ย เป็นสิ่งที่ช่วยให้พืชเจริญเติบโต ดียิ่งขึ้น ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อ
การเจริญเติบโตของพืชมี 16 ธาตุ แต่ธาตุที่พืชต้องการมากและในดินมักมีไม่เพียงพอ
คือ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ธาตุอาหารเหล่านี้จะต้องอยู่ในรูป
สารละลายที่พืชนาไปใช้ได้และต้องมีปริมาณ ที่พอเหมาะ จึงจะทาให้การเจริญเติบโต
ของพืชเป็นไปด้วยดี แต่ถ้ามีไม่เพียงพอต้องเพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืชในรูปของปุ๋ย
• 4. อากาศ ในอากาศมีแก๊สหลายชนิด แต่แก๊สที่พืชต้องการมากคือ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้าง
อาหารและหายใจ แก๊สทั้งสองชนิดนี้มีอยู่ในดินด้วย ในการปลูกพืชเราจึงควรทา
ให้ดินโปร่งร่วนซุยอยู่เสมอ เพื่อให้อาหารที่อยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดดินมีการ
ถ่ายเทได้
• 5. แสงสว่างหรือแสงแดด พืชต้องการแสงแดดมาใช้ในการสร้างอาหาร ถ้าขาด
แสงแดด พืชจะแคระแกรน ใบจะมีสีเหลืองหรือขาวซีดและตายในที่สุด พืชแต่
ละชนิดต้องการแสงไม่เท่ากันพืชบางชนิดต้องการแสงแดดจัด แต่พืชบางชนิดก็
ต้องการแสงราไร
• 6. อุณหภูมิ มีส่วนช่วยในการงอกและเจริญเติบโตของพืชเช่นกัน จะเห็นได้ว่า
พืชบางชนิดชอบขึ้นในที่มีอากาศหนาวเย็น แต่พืชบางชนิดก็ชอบขึ้นในที่มี
อากาศร้อน การนาพืชมาปลูกจึงควรเลือกชนิดที่เหมาะสมกับอุณหภูมิที่
เปลี่ยนไปตามฤดูกาล ในแต่ละท้องถิ่นด้วย
การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการปลูกพืช
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืชเป็นสิ่งที่มนุษย์
ประดิษฐ์ขึ้นมา เพื่ออานวยความสะดวกในการปลูกพืช ทาให้ได้งาน
ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งช่วยประหยัดเวลา
และแรงงานในการปฏิบัติงาน
เครื่องมือที่ใช้ปลูกพืชมีทั้งชนิดที่ใช้แรงงานคน แรงงานสัตว์
และเครื่องจักรกล เช่น จอบ เสียม พลั่ว คราด ไถ เครื่องพ่นสารเคมี
เครื่องหว่านเมล็ดพืช เป็นต้น
ประเภทของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืช
• 1. เครื่องมือที่ใช้ในการเตรียมดิน พรวนดิน
เพื่อให้ดินมีความเหมาะสมแก่การเจริญเติบโตของพืช
เช่น จอบ เสียม พลั่ว คราด
ช้อนปลูก ส้อมปลูก เป็นต้น
• 2. เครื่องมือที่ใช้ปฏิบัติดูแลบารุงรักษาพืช
เป็นเครื่องมือที่ใช้ปฏิบัติดูแลรักษาให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เช่น
มีด กรรไกร บัวรดน้า บุ้งกี๋ เลื่อย
เครื่องพ่นสารเคมี เป็นต้น
• 3. เครื่องมือที่ใช้เก็บเกี่ยว
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บเกี่ยวผลผลิต เพื่อนาไปบริโภค แปร
รูป หรือจัดจาหน่าย เช่น เคียว มีด ตะกร้อ จอบ เสียม เป็นต้น
• 4. เครื่องมือบริการพิเศษ
เป็นเครื่องมือที่ช่วยอานวยความสะดวกให้การปลูกพืชมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยลดการใช้แรงงาน ผลผลิตทางการเกษตรอยู่
ในสภาพพร้อมใช้ประโยชน์เพื่อการบริโภค เช่น เครื่องหว่านเมล็ดพืช
เครื่องตัดหญ้า เครื่องกะเทาะเมล็ด เครื่องสีข้าวโดยใช้แรงงาน เป็นต้น
การเตรียมพันธุ์พืช
การเตรียมพันธุ์พืช หมายถึง การจัดหาหรือการคัดเลือก
พืชพันธุ์ดี แล้วนาไปปลูกในพื้นที่ที่กาหนดไว้ในแผนการปลูก
พืช ในการปลูกพืชทุกครั้ง ผู้ปลูกมีความต้องการให้พืชที่ปลูก
เจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีทั้งปริมาณและคุณภาพ การเตรียม
พันธุ์พืชโดยใช้เพาะเมล็ดและเตรียมต้นของพืชมาขยายพันธุ์
เป็นต้นใหม่ ข้อเสียแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิดของพืชที่จะ
ปลูกและวัตถุประสงค์ของการปลูกพืชแต่ละครั้ง
๔.๑ วัตถุประสงค์ของการเตรียมเมล็ดพันธุ์พืช
• ในการเตรียมพันธุ์พืชมีวัตถุประสงค์ มีดังนี้
• ๑.เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ปลูกถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ปลูก
• ๒.เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ดี มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว ลาต้นแข็งแรง ปฎิบัติดูแลรักษาง่ายไม่
มีปัญหาเรื่องโรค
• ๓.เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ให้ผลผลิตสูงทั้งปริมาณและคุณภาพ เช่น ขนาดของผลใหญ่ ผลดก
รสชาติดี สีผลสวยงาม เป็นที่นิยมของผู้บริโภค
• ๔.เพื่อให้ได้พันธุ์พืชในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการที่จะปลูก มีขนาดการ
เจริญเติบโตเท่าๆกัน
• ๕.การเตรียมต้นพันธุ์ที่มีอายุเท่าๆกัน จะทาให้ผู้ปลูกได้รับผลผลิตพร้อมกันทั้งแปลงซึ่ง
ก่อให้เกิดความสะดวกในการเก็บเกี่ยวและการดูแลพื้นที่หลังการเก็บเกี่ยว
๔.๒ หลักการคัดเลือกพันธุ์พืช
• ๑) ควรเป็นพันธ์พืชที่มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นของผู้ปลูก
• ๒) ควรเป็นพันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงและดีที่สุด
• ๓) ควรเป็นพันธุ์พืชที่มีความต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืชในท้องถิ่น
• ๔) ควรเป็นพันธุ์พืชที่ตรงกับความต้องการของตลาดและผู้บริโภค
๔.๓ แหล่งที่มาของพันธุ์พืช
• ๑.การเก็บรวบรวมพันธุ์พืชไว้ใช้เอง เกษตรกรผู้ปลูกพืชสามารถพิจารณาคัดเลือกพันธุ์พืช
จากต้นแม่พันธุ์ที่ใช้อยู่แล้วเป็นต้นพันธุ์ที่มีคุณสมบัติที่ดีที่สุดตามหลักการคัดเลือกพันธุ์
พืชเหมาะที่นาไปขยายพันธุ์เพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตในรุ่นต่อๆไป
• ๒.การจัดแหล่งที่เชื่อถือได้ ตรวจสอบคุณภาพของพันธุ์พืชจากกรมวิชาการเกษตรกร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก่อน ส่วนอีกแนวทางหนึ่งได้จากการจัดซื้อจากเกษตรกร
เจ้าของไร่ เจ้าของสวนที่มีการคัดเลือกพันธ์ ควรเลือกจากเจ้าของสวนหรือจาหน่ายกิ่งพันธุ์
พืชที่ได้รับการรับรองจากกรมส่งเสริมการเกษตรเท่านั้น
• ๓.การจัดซื้อหรือติดต่อขอรับจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบันมีหน่วยงาน
ราชการมากมาย เช่น กรมส่งเริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ฯลฯ ซึ่งมีหน้าที่ส่งเสริม
และเผยแพร่พืชพันธุ์ใหม่ไว้สาหรับแจกจ่ายเกษตรกรและผู้สนใจ หรือจาหน่ายในราคาถูก
๔.๔ วิธีการเตรียมพันธุ์พืช
• ๑.การปลูกพืชผักชนิดต่างๆ ต้องเตรียมพันธุ์พืชด้วยวิธีการเพราะ
เมล็ดหรือเพราะกล้าและย้ายกล้าปลูก
• ๒.การปลูกไม้ประดับและพืชไร่ เช่น อ้อย มันสาปะหลัง เป็นต้น ควร
เตรียมพันธุ์โดยใช้วิธีการปักชาและลาต้น
• ๓.การปลูกไม้ผลเกือบทุกชนิด สามารถเตรียมพันธุ์ได้โดยวิธีการตอน
กิ่ง การเสียบกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา
• ๔.การเตรียมไม้ดอก สามารถเตรียมพันธุ์โดยวิธีการตอนกิ่ง การปัก
ชา การติดตา และการเพาะเมล็ด
การเตรียมดินปลูกพืช
การเตรียมดินเป็นหัวใจของการปลูกพืชทั้งพืชไร่ ไม้ผล
และพืชผัก ซึ่งมีหลักการคล้ายคลึงกัน คือ ก่อนปลูกพืช
จาเป็นต้องพิจารณาสภาพพื้นที่ เนื้อดิน ปัญหาของดิน ชนิดพืชที่
ปลูกเพื่อให้มีการเตรียมดินที่เหมาะสมและประสบผลสาเร็จใน
การปลูกพืช การเตรียมดินสาหรับการปลูกพืชจะแตกต่างกัน
ตามชนิดของพืชดังนี้
• การเตรียมดินสาหรับปลูกไม้ผล
ไม้ผลเป็นพืชที่มีระบบรากลึก การเตรียมดินก่อนปลูกจึง
ต้องเตรียมให้ดีเพราะหลังจากปลูกไปแล้วไม่สามารถพรวนดิน
ใส่ปุ๋ ยในดินระดับล่างได้อีก การเตรียมดินอย่างดีจะช่วยให้ไม้ผล
เจริญเติบโตเร็วกว่าการปลูกแบบไม่เตรียมหลุม การเตรียมหลุม
ไม่ดีถึงแม้ว่าจะใส่ปุ๋ ยเร่งการเจริญเติบโตภายหลังปลูก พบว่าไม้
ผลก็ยังมีการเจริญเติบโตช้ากว่าต้นที่มีการเตรียมหลุมปลูกอย่าง
ดี การเตรียมหลุมปลูกไม้ผล ขนาดของหลุมปลูกจะแตกต่างกัน
ไปตามชนิดของพืช ถ้าเป็นไม้ผลขนาดใหญ่ เช่น ทุเรียน หลุม
ปลูกควรมีขนาดกว้าง x ยาว 1 x 1 เมตร ลึกประมาณ 80 ซม.
ไม้ผลขนาดกลาง เช่น ลองกองควรมีขนาด 80 x 80 ซม. ลึก
60 ซม. การกาหนดขนาดของหลุมปลูกเพื่อให้รากของต้นกล้า
เจริญเติบโตได้ดีในระยะแรก
ดินบน+ปุ๋ยหินฟอสเฟท 1 กระป๋องนม+ปูนขาว1-2 กา
มือ+ปุ๋ยคอกเก่าหรือปุ๋ยหมักจากพด.1 หรือเศษใบไม้แห้ง1-2 ปีบ
สาหรับดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่าควรเพิ่มอัตราการ
ใช้ให้มากขึ้น
ขอขอบคุณ ครูประจาวิชา
คุณครู จิราพร ยศศรีสุราษฎร์

More Related Content

What's hot

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 

What's hot (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
รายการประเมิน
รายการประเมินรายการประเมิน
รายการประเมิน
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช

โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวnam--nam-thanaporn
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5jiratchaya sakornphanich
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ploymhud
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...bmmg1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sompoii Tnpc
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชvarut
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
โครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันโครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันMickey-Mint
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
หม่อนไหม
หม่อนไหมหม่อนไหม
หม่อนไหมammtees
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช (20)

โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
โครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันโครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมัน
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
656 pre8
656 pre8656 pre8
656 pre8
 
หม่อนไหม
หม่อนไหมหม่อนไหม
หม่อนไหม
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 

More from lukhamhan school

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยีlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน lukhamhan school
 

More from lukhamhan school (9)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช

  • 2. สมาชิกในกลุ่ม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 นางสาวอุบลวรรณ ขันทะพันธ์ เลขที่ 21 นางสาวยุพารัตน์ คาสิงหา เลขที่ 23 นายชินวัตร มาทวี เลขที่ 10 นางสาวอภิญญา แสนจู เลขที่ 20
  • 3. นางสาวนิภาพรรณ เดชรักษา เลขที่ 31 นางสาวธารารัตน์ จันดี เลขที่ 34 นางสาวรัตนาภรณ์ บุญสวะ เลขที่ 41 นางสาวมนัญชยา แก้วคูณ เลขที่ 32 นางสาวกนกอร สาริโล เลขที่ 33
  • 4. นาเสนอ คุณครู จิราพร ยศศรีสุราษฎร์ รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี รหัสวิชา ง31101
  • 5. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปลูกพืช ๑.ความลาดเอียงของพื้นที่ หรือระดับความสูงต่า ของพื้นที่ พื้นที่เหมาะสมกับการปลูกพืช ควรมีความ ลาดเอียงเล็กน้อยเพื่อสะดวกในการทดน้าและระ บานน้าออกจากแปลงปลูกพืช * สาหรับพื้นราบ ไม่มีความลาดเท ควรปรับพื้นที่ให้มี ความเหมาะสม
  • 6. ๒.ขนาดของพื้นที่ มีความสาคัญต่อการเลือกใช้เครื่องมือ เครื่องทุ่นแรง ทางการเกษตร นอกจากนี้ควรเลือกพื้นที่ที่สามารถขยายกิจการได้ใน อนาคตอีกด้วย ๓.ลักษณะของดินลักษณะของดินดีหรือไม่ อาจสังเกตได้ด้วยตาเปล่า และประเมินคุณภาพดินได้ เช่น ถ้าดินมีสีคล้าหรือค่อนข้างดา ส่วนใหญ่จะ มีอินทรียวัตถุมาก แต่ก็ไม่เสมอไป ๔.สถานที่ตั้งของดิน ควรเป็นพื้นที่ใกล้ตลาดและชุมชนเพื่อความสะดวก ในการขนส่งผลผลิตออกสู่ตลาด และต้องเป็นที่ดินที่ถูกต้องตามกฎหมาย มีเอกสารสิทธิรับรองถูกต้อง ๕.แหล่งน้า น้ามีความสาคัญต่อการปลูกพืชเป็นอย่างมาก การเลือก พื้นที่จึงต้องคานึงถึงแหล่งน้าด้วยว่าเอาน้าจากที่ใดมาใช้ประโยชน์ได้บ้าง
  • 7. ปัจจัยการเจริญเติบโตของพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช เป็นสภาพภายนอกที่อยู่รอบๆ ต้นพืช ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพืช โดยทั่วไปปัจจัย ต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช มีดังนี้ 1. ดิน เป็นปัจจัยสาคัญอันดับแรก ดินที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ต้องเป็นดินที่อุ้มน้าได้ดี ร่วนซุย มีอินทรียวัตถุมาก แต่เมื่อใช้ดินปลูกไปนานๆ ดินอาจเสื่อมสภาพ เช่น หมดแร่ธาตุ จาเป็นต้องมีการปรับปรุงดินให้อุดมสมบูรณ์ ได้แก่ การไถพรวน การใส่ปุ๋ย การปลูกพืชหมุนเวียน เป็นต้น
  • 8. • 2. น้า มีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชมาก น้าช่วยละลายแร่ธาตุอาหารในดิน เพื่อให้รากดูดอาหารไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของลาต้นได้ และยังช่วยให้ดินมีความชุ่มชื้น พืชสดชื่นและการทางานของกระบวนการต่างๆ ในพืชเป็นไปอย่างปกติ • 3. ธาตุอาหารหรือปุ๋ย เป็นสิ่งที่ช่วยให้พืชเจริญเติบโต ดียิ่งขึ้น ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อ การเจริญเติบโตของพืชมี 16 ธาตุ แต่ธาตุที่พืชต้องการมากและในดินมักมีไม่เพียงพอ คือ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ธาตุอาหารเหล่านี้จะต้องอยู่ในรูป สารละลายที่พืชนาไปใช้ได้และต้องมีปริมาณ ที่พอเหมาะ จึงจะทาให้การเจริญเติบโต ของพืชเป็นไปด้วยดี แต่ถ้ามีไม่เพียงพอต้องเพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืชในรูปของปุ๋ย
  • 9. • 4. อากาศ ในอากาศมีแก๊สหลายชนิด แต่แก๊สที่พืชต้องการมากคือ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้าง อาหารและหายใจ แก๊สทั้งสองชนิดนี้มีอยู่ในดินด้วย ในการปลูกพืชเราจึงควรทา ให้ดินโปร่งร่วนซุยอยู่เสมอ เพื่อให้อาหารที่อยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดดินมีการ ถ่ายเทได้ • 5. แสงสว่างหรือแสงแดด พืชต้องการแสงแดดมาใช้ในการสร้างอาหาร ถ้าขาด แสงแดด พืชจะแคระแกรน ใบจะมีสีเหลืองหรือขาวซีดและตายในที่สุด พืชแต่ ละชนิดต้องการแสงไม่เท่ากันพืชบางชนิดต้องการแสงแดดจัด แต่พืชบางชนิดก็ ต้องการแสงราไร
  • 10. • 6. อุณหภูมิ มีส่วนช่วยในการงอกและเจริญเติบโตของพืชเช่นกัน จะเห็นได้ว่า พืชบางชนิดชอบขึ้นในที่มีอากาศหนาวเย็น แต่พืชบางชนิดก็ชอบขึ้นในที่มี อากาศร้อน การนาพืชมาปลูกจึงควรเลือกชนิดที่เหมาะสมกับอุณหภูมิที่ เปลี่ยนไปตามฤดูกาล ในแต่ละท้องถิ่นด้วย
  • 11. การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการปลูกพืช เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืชเป็นสิ่งที่มนุษย์ ประดิษฐ์ขึ้นมา เพื่ออานวยความสะดวกในการปลูกพืช ทาให้ได้งาน ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งช่วยประหยัดเวลา และแรงงานในการปฏิบัติงาน เครื่องมือที่ใช้ปลูกพืชมีทั้งชนิดที่ใช้แรงงานคน แรงงานสัตว์ และเครื่องจักรกล เช่น จอบ เสียม พลั่ว คราด ไถ เครื่องพ่นสารเคมี เครื่องหว่านเมล็ดพืช เป็นต้น
  • 12. ประเภทของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืช • 1. เครื่องมือที่ใช้ในการเตรียมดิน พรวนดิน เพื่อให้ดินมีความเหมาะสมแก่การเจริญเติบโตของพืช เช่น จอบ เสียม พลั่ว คราด ช้อนปลูก ส้อมปลูก เป็นต้น • 2. เครื่องมือที่ใช้ปฏิบัติดูแลบารุงรักษาพืช เป็นเครื่องมือที่ใช้ปฏิบัติดูแลรักษาให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เช่น มีด กรรไกร บัวรดน้า บุ้งกี๋ เลื่อย เครื่องพ่นสารเคมี เป็นต้น
  • 13. • 3. เครื่องมือที่ใช้เก็บเกี่ยว เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บเกี่ยวผลผลิต เพื่อนาไปบริโภค แปร รูป หรือจัดจาหน่าย เช่น เคียว มีด ตะกร้อ จอบ เสียม เป็นต้น • 4. เครื่องมือบริการพิเศษ เป็นเครื่องมือที่ช่วยอานวยความสะดวกให้การปลูกพืชมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยลดการใช้แรงงาน ผลผลิตทางการเกษตรอยู่ ในสภาพพร้อมใช้ประโยชน์เพื่อการบริโภค เช่น เครื่องหว่านเมล็ดพืช เครื่องตัดหญ้า เครื่องกะเทาะเมล็ด เครื่องสีข้าวโดยใช้แรงงาน เป็นต้น
  • 14. การเตรียมพันธุ์พืช การเตรียมพันธุ์พืช หมายถึง การจัดหาหรือการคัดเลือก พืชพันธุ์ดี แล้วนาไปปลูกในพื้นที่ที่กาหนดไว้ในแผนการปลูก พืช ในการปลูกพืชทุกครั้ง ผู้ปลูกมีความต้องการให้พืชที่ปลูก เจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีทั้งปริมาณและคุณภาพ การเตรียม พันธุ์พืชโดยใช้เพาะเมล็ดและเตรียมต้นของพืชมาขยายพันธุ์ เป็นต้นใหม่ ข้อเสียแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิดของพืชที่จะ ปลูกและวัตถุประสงค์ของการปลูกพืชแต่ละครั้ง
  • 15. ๔.๑ วัตถุประสงค์ของการเตรียมเมล็ดพันธุ์พืช • ในการเตรียมพันธุ์พืชมีวัตถุประสงค์ มีดังนี้ • ๑.เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ปลูกถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ปลูก • ๒.เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ดี มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว ลาต้นแข็งแรง ปฎิบัติดูแลรักษาง่ายไม่ มีปัญหาเรื่องโรค • ๓.เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ให้ผลผลิตสูงทั้งปริมาณและคุณภาพ เช่น ขนาดของผลใหญ่ ผลดก รสชาติดี สีผลสวยงาม เป็นที่นิยมของผู้บริโภค • ๔.เพื่อให้ได้พันธุ์พืชในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการที่จะปลูก มีขนาดการ เจริญเติบโตเท่าๆกัน • ๕.การเตรียมต้นพันธุ์ที่มีอายุเท่าๆกัน จะทาให้ผู้ปลูกได้รับผลผลิตพร้อมกันทั้งแปลงซึ่ง ก่อให้เกิดความสะดวกในการเก็บเกี่ยวและการดูแลพื้นที่หลังการเก็บเกี่ยว
  • 16. ๔.๒ หลักการคัดเลือกพันธุ์พืช • ๑) ควรเป็นพันธ์พืชที่มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นของผู้ปลูก • ๒) ควรเป็นพันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงและดีที่สุด • ๓) ควรเป็นพันธุ์พืชที่มีความต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืชในท้องถิ่น • ๔) ควรเป็นพันธุ์พืชที่ตรงกับความต้องการของตลาดและผู้บริโภค
  • 17. ๔.๓ แหล่งที่มาของพันธุ์พืช • ๑.การเก็บรวบรวมพันธุ์พืชไว้ใช้เอง เกษตรกรผู้ปลูกพืชสามารถพิจารณาคัดเลือกพันธุ์พืช จากต้นแม่พันธุ์ที่ใช้อยู่แล้วเป็นต้นพันธุ์ที่มีคุณสมบัติที่ดีที่สุดตามหลักการคัดเลือกพันธุ์ พืชเหมาะที่นาไปขยายพันธุ์เพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตในรุ่นต่อๆไป • ๒.การจัดแหล่งที่เชื่อถือได้ ตรวจสอบคุณภาพของพันธุ์พืชจากกรมวิชาการเกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก่อน ส่วนอีกแนวทางหนึ่งได้จากการจัดซื้อจากเกษตรกร เจ้าของไร่ เจ้าของสวนที่มีการคัดเลือกพันธ์ ควรเลือกจากเจ้าของสวนหรือจาหน่ายกิ่งพันธุ์ พืชที่ได้รับการรับรองจากกรมส่งเสริมการเกษตรเท่านั้น • ๓.การจัดซื้อหรือติดต่อขอรับจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบันมีหน่วยงาน ราชการมากมาย เช่น กรมส่งเริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ฯลฯ ซึ่งมีหน้าที่ส่งเสริม และเผยแพร่พืชพันธุ์ใหม่ไว้สาหรับแจกจ่ายเกษตรกรและผู้สนใจ หรือจาหน่ายในราคาถูก
  • 18. ๔.๔ วิธีการเตรียมพันธุ์พืช • ๑.การปลูกพืชผักชนิดต่างๆ ต้องเตรียมพันธุ์พืชด้วยวิธีการเพราะ เมล็ดหรือเพราะกล้าและย้ายกล้าปลูก • ๒.การปลูกไม้ประดับและพืชไร่ เช่น อ้อย มันสาปะหลัง เป็นต้น ควร เตรียมพันธุ์โดยใช้วิธีการปักชาและลาต้น • ๓.การปลูกไม้ผลเกือบทุกชนิด สามารถเตรียมพันธุ์ได้โดยวิธีการตอน กิ่ง การเสียบกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา • ๔.การเตรียมไม้ดอก สามารถเตรียมพันธุ์โดยวิธีการตอนกิ่ง การปัก ชา การติดตา และการเพาะเมล็ด
  • 19. การเตรียมดินปลูกพืช การเตรียมดินเป็นหัวใจของการปลูกพืชทั้งพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก ซึ่งมีหลักการคล้ายคลึงกัน คือ ก่อนปลูกพืช จาเป็นต้องพิจารณาสภาพพื้นที่ เนื้อดิน ปัญหาของดิน ชนิดพืชที่ ปลูกเพื่อให้มีการเตรียมดินที่เหมาะสมและประสบผลสาเร็จใน การปลูกพืช การเตรียมดินสาหรับการปลูกพืชจะแตกต่างกัน ตามชนิดของพืชดังนี้
  • 20. • การเตรียมดินสาหรับปลูกไม้ผล ไม้ผลเป็นพืชที่มีระบบรากลึก การเตรียมดินก่อนปลูกจึง ต้องเตรียมให้ดีเพราะหลังจากปลูกไปแล้วไม่สามารถพรวนดิน ใส่ปุ๋ ยในดินระดับล่างได้อีก การเตรียมดินอย่างดีจะช่วยให้ไม้ผล เจริญเติบโตเร็วกว่าการปลูกแบบไม่เตรียมหลุม การเตรียมหลุม ไม่ดีถึงแม้ว่าจะใส่ปุ๋ ยเร่งการเจริญเติบโตภายหลังปลูก พบว่าไม้ ผลก็ยังมีการเจริญเติบโตช้ากว่าต้นที่มีการเตรียมหลุมปลูกอย่าง ดี การเตรียมหลุมปลูกไม้ผล ขนาดของหลุมปลูกจะแตกต่างกัน ไปตามชนิดของพืช ถ้าเป็นไม้ผลขนาดใหญ่ เช่น ทุเรียน หลุม ปลูกควรมีขนาดกว้าง x ยาว 1 x 1 เมตร ลึกประมาณ 80 ซม. ไม้ผลขนาดกลาง เช่น ลองกองควรมีขนาด 80 x 80 ซม. ลึก 60 ซม. การกาหนดขนาดของหลุมปลูกเพื่อให้รากของต้นกล้า เจริญเติบโตได้ดีในระยะแรก
  • 21. ดินบน+ปุ๋ยหินฟอสเฟท 1 กระป๋องนม+ปูนขาว1-2 กา มือ+ปุ๋ยคอกเก่าหรือปุ๋ยหมักจากพด.1 หรือเศษใบไม้แห้ง1-2 ปีบ สาหรับดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่าควรเพิ่มอัตราการ ใช้ให้มากขึ้น