SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
การจัดการในบ้าน
1. การจัดการด้านการวางแผนการทางานและการใช้ทรัพยากรในบ้าน
การจัดการด้านการวางแผนการทางานและการใช้ทรัพยากรในบ้าน
เป็นการบริหารหรือคิดตระเตรียมล่วงหน้าเกี่ยวกับการปฏิบัติต่างๆใน
บ้าน เช่น การประกอบอาหาร การทาความสะอาด การตัดเย็บเสื้อผ้า การ
ทาสวนครัว เป็นต้น โดยหาทางใช้ทรัพยากรของครอบครัวที่มีอยู่ให้
คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการจดการด้านวางแผนการทางาน
(1) ทรัพยากรส่วนบุคคล เป็นสิ่งที่มีประจาตัวบุคคล เช่น เวลา แรงงาน ความ
สนใจ เป็นต้น
(2) ทรัพยากรประเภทวัสดุและบริการ เป็นสิ่งของหรือบริการที่อานวยความ
สะดวกให้แก่ครอบรัว เช่น เงิน สิ่งของเครื่องใช้ อาหาร รวมทั้งงานบริการ
จากภาครัฐและเอกชน เช่น ธนาคาร การไฟฟ้า การประปา เป็นต้น
(3) ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิต
ความเป็นอยู่ของสมาชิกในครอบครัว เช่น ดิน ฟ้า อากาศ ต้นไม้เป็นต้น
1.1 การจัดการด้านวางแผนการทางาน
งานบ้านมีหลายรูปแบบ การเรียนรู้เพื่อการวางแผนการทางานในบ้านจะ
ช่วยให้สามารถทางานทุกอย่างในบ้านได้ตามต้องการ สาหรับการวางแผน
ทางานบ้านนั้นควรทาเป็นตารางการทางานเป็นลาดับ ดังต่อไปนี้
1) สารวจและวิเคราะห์งาน เป็นขั้นตอนสารวจงานที่ได้รับมอบหมายและ
กิจวัตรส่วนตัว พร้อมทั้งวิเคราะห์และเขียนบันทึกว่าจะทาในวันใด เวลาใด
ดังตัวออย่างต่อไปนี้
ลาดับที่ เวลาทางาน งานที่ได้รับมอบหมายให้
รับผิดชอบ
วันทา
การ
วันหยุด หมาย
เหตุ
1. 16.30 น. ประกอบอาหาร ทุกวัน
2. 19.00 น. ล้างจาน ทุกวัน
3. 8.30 น. ซักผ้า เสาร์
4. 14.00 น. ล้างห้องน้า เสาร์
5. 9.00 น. ล้างรถยนต์ อาทิตย์
ตารางที่ 1 สารวจงานและวิเคราะห์งานที่ได้รับมอบหมายในบ้าน
ตารางที่ 2 ตารางสารวจงานลิเคราะห์งานกิจวัตรส่วนตัว
ลาดับที่ เวลา กิจวัตรส่วนตัว รายวัน รายสัปดาห์ หมายเหตุ
1. 5.30 น. ตื่นนอน เก็บที่นอน ทุกวัน
2. 6.10 น. อาบน้า แต่งตัว ทุกวัน
3. 7.00 น. รับประทานอาหาร ทุกวัน
4. 7.30 น. ไปโรงเรียน ทุกวัน
5. 8.30–16.00 น. เรียนหนังสือที่โรงเรียน ทุกวัน
6. 16.10 น. เดินทางกลับบ้าน ทุกวัน
7. 18.30 น. รับประทานอาหารเย็น ทุกวัน
8. 19.30 น. ทาการบ้าน ทบทวนบทเรียน ทุกวัน
9. 21.00 น. เข้านอน ทุกวัน
2) วางแผน ในการวางแผนทางานบ้านนั้น ควรกาหนดเวลาในการทางาน
บ้านที่รับผิดชอบไว้ล่วงหน้าว่าจะทางานใด ในเวลาใด โดยนารายการที่
วิเคราะห์แล้วมาจัดทาเป็นตารางการทางาน แยกตารางการทางานประจาวัน
จันทร์ถึงวันศุกร์และตารางการทางานวันหยุดสุดสัปดาห์ งานใดที่ต้องทา
ทุกวันก็จัดไว้ทั้ง 2 ตาราง ส่วนงานที่ทาเพียงครั้งเดียวก็วิเคราะห์ว่าระหว่าง
วันเสาร์กับวันอาทิตย์วันใดจะเหมาะสมกว่ากัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตารางที่ 3 ตารางการทางานประจาวันจันทร์ถึงศุกร์
ลาดับที่ เวลา กิจกรรมที่ต้องทา หมายเหตุ
1. 5.30 น. ตื่นนอน เก็บที่นอน
2. 6.10 น. อาบน้า แต่งตัว
3. 7.00 น. รับประมานอาหารเช้า
4. 7.30 น. ไปโรงเรียน
5. 8.30-16.00 น. เรียนหนังสือและเข้าห้องสมุดที่โรงเรียน
6. 16.10 น. เดินทางกลับ
7. 18.30 น. รับประทานอาหารเย็น
8. 19.30 น. ทาการบ้านทบทวนบทเรียน
9. 21.00 น. เข้านอน
ตารางที่ 4 ตารางทางานวันหยุดสุดสัปดาห์
ลาดับที่ เวลา กิจกรรมที่ทาวันเสาร์ กิจกรรมที่ทาวันอาทิตย์ หมายเหตุ
1. 6.00 น. ตื่นนอน ตื่นนอน
2. 6.30 น. อาบน้า แต่งตัว อาบน้า แต่งตัว
3. 7.00 น. รับประทานอาหารเช้า รับประทานอาหารเช้า
4. 7.30 น. ดูโทรทัศน์ ดูโทรทัศน์
5. 8.30 น. ซักผ้า กวาดบ้าน ล้างห้องน้า รีดผ้า ล้างรถยนต์
6. 14.00 น. พักผ่อนและทากิจกรรมกับครอบครัว พักผ่อนและทากิจกรรมกับครอบครัว
7. 16.00 น. ทาการบ้านและอ่านหนังสือ ทาการบ้านและอ่านหนังสือ
8. 18.30 น. รับประทานอาหารเย็น รับประทานอาหารเย็น
9. 21.00 น. เข้านอน เข้านอน
3) ปฏิบัติงานตามแผน เป็นขั้นตอนการทางานตามตารางที่กาหนดไว้และ
จดบันทึกงานที่ไม่สามารถทาได้หรือต้องดาเนินการปรับปรุงแก้ไข พร้อม
ทั้งควรหาแนมทางแก้ไขว่าจะทาได้อย่างไร
4) การประเมิลผล การประเมิลผลในที่นี้เป็นการสารวจประสิทธิภาพของ
แผนงานที่ใช้ว่าทาได้จริงหรือไม่ ผลที่ได้รับเป็นไปตามความคาดหวัง
หรือไม่ ในการปฏิบัติงานต้องทาด้วยความตั้งใจ ไม่เข้าข้างตนเอง
การประเมินผลสามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้
1. ใช้การสังเกตและพิจารณาว่าจุดไหนเป็นอย่างไร แล้วจดบันทึกไว้เช่น เวลาใน
การทางานน้อยไป
2. ให้สมาชิกในบ้านแสดงความคิดเห็น โดยเปิดโอกาสให้สมาชิกวิพากษ์วิจารณ์
แผนงานที่ทา เพื่อนาข้อมูลมาพัฒนาต่อไป
3. เปรียบเทียบกับมาตรฐานของผู้อื่น โดยดูผลงานผู้อื่นว่าเป็นอย่างไร เช่น
เปรียบเทียบความเรียบของการรีดผ้า เป็นต้น
4 . เขียนจาแนกระดับคุณภาพแล้วพิจารณาว่าตนเองอยู่ในระดับใด ถ้าพบว่า
ตนเองอยู่ในระดับกลางและระดับต่า ควรปรับปรุงให้ดีขึ้น
ตารางที่ 5 ตารางประเมินผลการทางานในบ้าน
ลาดับที่ งานที่ทา ระดับสูง ระดับกลาง ระดับต่า หมายเหตุ
1. การ
ประกอบ
อาหาร
-เสร็จก่อนเวลาที่กาหนด
- อาหารรสชาติดี
-จัดตกแต่งอาหารได้
สวยงาม
-อาหารเสร็จได้
ทันเวลา
-รสชาติปกติ
-จัดตกแต่งอาหารได้
ธรรมดา
-อาหารเสร็จช้า
กว่าเวลาที่กาหนด
-รสชาติไม่ดี
-ไม่มีการจัด
ตกแต่งอาหาร
2. การจัด
ห้องรับแขก
-เป็นไปตามแผนที่
กาหนดทั้งหมด
-มีความสวยงามและเป็น
ระเบียบเรียบร้อยทั้งหมด
-เป็นไปตามแผนที่
กาหนดบางส่วน
-มีความเป็นระเบียบ
ส่วนใหญ่
-ไม่เป็นไปตาม
แผนที่กาหนด
-ไม่เป็นระเบียบ
และเป็นระเบียบ
พอๆกัน
1.2 ประโยชน์ของการวางแผนการทางาน
1. ช่วยให้ผู้ที่รับผิดชอบงานทราบล่วงหน้าว่าจะทางานใดเมื่อใด
2. สามารถทางานที่รับผิดชอบได้สาเร็จตามที่มุ่งหวัง
3. ฝึกนิสัยให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีเหตุผล และรอบคอบ
4. ก่อให้เกิดการประหยัดทั้งเวลาและแรงงาน
5. ฝึกให้เกิดนิสัยการวางแผน ต่อไปจะทาได้รวดเร็วและเกิดความผิดพลาดน้อย
1.3 ข้อควรคานึงในการวางแผนการใช้ทรัพยากรในครอบครัว
1. เวลา ทุกคนมี่เวลาเท่ากัน คือ วันละ 24 ชั่วโมง แต่ละคนใช้เวลาทางานไม่เท่ากัน ผู้ที่จัดการกับเวลา
ได้อย่างดีจึงจะใช้เวลาของแต่ละวันทางานได้อย่างคุ้มค่า
2. แรงงาน เกี่ยวกับสุขภาพ ผู้มีสุขภาพดีย่อมได้เปรียบกว่าผู้ที่มีสุขภาพไม่ดี และการรู้จักจัดการเรื่อง
แรงงานจะช่วยให้เสียเวลาในการทางานน้อยลง
3. ความรู้ สติปัญญา เป็นสิ่งที่ได้มาจากากรศึกษา อาจจะได้มาจากโรงเรียน จากชุมชนและแหล่งอื่นๆ
ในการวางแผนการใช้ทรัพยากรส่วนบุคคล จะต้องคานึงถึงภูมิความรู้ความถนัดของแต่ละบุคคล
เพื่อจะได้ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ความสามารถ เป็นทรัพยากรส่วนบุคคลที่แต่ละคนมีไม่เหมือนกันและไม่เท่ากัน ดังนั้นในการ
ทางานบ้านจะต้องพิจารณาถึงความสามารถของบุคคลด้วย
5. ทักษะ ในการทางานบ้านจะต้องใช้ทักษะกระบวนการ ทักษะการแก้ปัญหาเกิดอุปสรรคหรือ
ข้อผิดพลาดจากการทางาน
6 . เงิน นับเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญเพราะเป็นสิ่งที่ใช้แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการในครอบครัว
จะต้องมีการหาเงินมาเลี้ยงดูครอบครัว
1.4 การจัดการเงินของครอบครัว
1) มีการวางแผนการใช้เงินของครอบครัวที่ดี สมาชิกในครอบครัวควรรู้จัก
วางแผนใช้เงินในเรื่องต่างๆ ให้เหมาะกับรายได้โดยจัดการวางแผน
ประมาณรายจ่าย หรือทางบประมาณหรือจัดแยกเป็นหมวดหมู่
2) มีการปฏิบัติตามแผนการใช้เงิน ในการปฏิบัติตามแผนการใช้เงินนั้น
ควรระวังและควบคุมดูและควบคุมดูแลให้เป็นไปตามที่วางแผนที่วางไว้
แต่ถ้าหายรายจ่ายใดจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงก็ให้เปลี่ยนแปลงตามความ
เหมาะสม
3) มีการประเมินผล ในการประเมินผลการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณที่
วางไว้การตรวจสอบค่าใช้จ่าย พิจารณาถึงความคุ้มค่าของเงินที่ใช้จ่าย
2. อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ในการทาความสะอาดบ้าน
อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการทาความสะอาดบ้านมีหลายชนิด
ซึ่งเราควรพิจารณาเลือก ให้เหมาะสมและใช้งานให้ถูกต้องตามชนิดของ
เครื่องมือ อุปกรเหล่านั้น ได้แก่
เครื่องดูดฝุ่ น
เครื่องดูดฝุ่นเป็นการเครื่องไฟฟ้า ที่นิยมใช้กันทั่วไป มีหลายรูปแบบให้
เลือกใช้
1.ประสิทธิภาพการใช้งานที่สามารถใช้ทาความสะอาดได้หลายลักษณะ
2.สะดวกและปลอดภัยในการใช้งาน
3.มีการรับรองคุณภาพชองเครื่อง
4.มีความแข็งแรง ทนทาน
5.มีขายทั่วไป สามารถซ่อมแซมได้
1.การใช้ ใช้ตามประสิทธิภาที่ระบุไว้เช่นดูดฝุ่น ดุดเศษผงที่พื้น ที่พรมปูพื้น
2.การเก็บรักษา ควรทาความสะอาดก่อนจัดเก็บ โดยเช็คฝุ่นและม้วนสายไฟ
ให้เรียบร้อย
ไม้กวาด
ไม้กวาดเครื่องมือสาหรับทาความสะอาดพื้นต่างๆ มีหลายชนิดซึ่งควร
เลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงานดังนี้
1.ไม้กวาดกวาดดอกหญ้า ด้ามจับทาด้วย.ไม้กลมกลมยาวปลายทาด้วยดอกหญ้า
มัดติดกับด้าม
1) การเลือกด้ามจับที่ไม่มีมอดกัดกิน ด้ามมีขนาดไม่เล็กหรือใหญ่เกินไปจับ
ถนัดมือ
2) การใช้ ไม้กวาดพื้นแห้งและเรียบ เช่น
พื้นไม้พื้นซีเมนต์ขัดมัน
3) การเก็บรักษา เอาเชือกร้อยที่ปลายไม้กวาด
แขวนให้ปลายดอกหญ้าสูงกว่าพื้นเล็กน้อย
2.ไม้กวาดทางมะพร้าว ทาด้วยทางมะพร้าวที่พบเห็นทั่วไปมี 2 ชนิดคือ ชนิดมีปลอก
สวมและชนิดมีด้ามจับยาวมาก ซึ่งทาด้วยไม้ไผ่กลม
1) การเลือก ควรเลือกด้ามตรง จับเหมาะมือ
ด้ามไม่มีมอดกัดกิน
2) การใช้ ใช้กวาดพื้นผิวหยาบ
3) การเก็บรักษา เก็บในร่มและที่แห้งไม่ควรตากแดด
หรือตากฝน
3.ไม้กวาดเสี้ยนตาล ปลายสาหรับกวาดทาด้วยเสี้ยนตาล ส่วนด้ามทาด้วยไม้ไผ่กลมเล็ก
1) การเลือก ควรเลือกที่มีด้ามตรง เสี้ยนตาลมัดติดกับด้ามแน่นหนา
2) การใช้ ใช้ทาความสะอาดบริเวณสูง
3) การเก็บรักษา เก็บในที่ร่มและแห้ง
4.ไม้กวาดไม้ไผ่ ทาจากไม้ไผ่ทั้งด้ามจับและปลายด้ามไม้กวาด ปลายไม้กวาดมี
ลักษณะเป็นซี่หลายซี่ มัดด้วยเชือกหรือหวายแผ่เป็นแผง
1) การเลือก ควรเลือกที่มีด้ามตรง ไม่เล็กหรือใหญ่เกินไป
2) การใช้ใช้กวาดใบไม้ในสนาม
3) การเก็บรักษา เก็บในที่ร่มแห้ง ไม่ควรตากแดด
5.ไม้กวาดขนไก่ เป็นพู่ทาด้วยขนไก่ ด้ามจับมีทั้งเป็นหวาย
และพลาสติก ที่ปลายด้ามมักจะโค้งงอ
1) การเลือก ควรเลือกที่ขนติดกับด้ามแน่นหนาพอสมควร
2) การใช้ใช้ปัดฝุ่นตามที่ต่างๆ
3) การเก็บรักษา ควรเก็บในที่แห้ง วิธีแขวนและเคาะฝุ่น
ออกให้หมดก่อนจัดเก็บ
6.ไม้กวาดไนลอน ใช้กวาดพื้นเรียบเช่นกับไม้กวาดดอกหญ้า
1) การเลือก ควรเลือกที่ด้ามจับมีขนาดเหมาะมือ
2) การเลือกใช้เลือกใช้ตามลักษณะงาน
3) การเก็บรักษา จัดเก็บโดยวิธีแขวน
แปรงขัด
แปรงขัดเป็นเครื่องมือใช้สาหรับขัดสิ่งสกปรกเพื่อทาความสะอาดบ้าน
และสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ
1.แปรงลวด ลักษณะขนแปรงสั้น ทาด้วยเส้นลวด
1) การเลือก ควรเลือกที่มีลักษณะกลมรี
2) การใช้ใช้ขัดพื้นซีเมนต์
3) การเก็บรักษา ก่อนการจัดเก็บเพื่อป้องกันสนิม
2.แปรงพลาสติก ขนแปรงทาด้วยพลาสติก มีทั้งด้ามจับและไม่มี
1) การเลือกควรเลือกใช้ขนแปรงเรียบ
2) การใช้ชนิดที่มีด้ามใช้ขัดโถส้วม ส่วนชนิดไม่มีด้าม
ใช้ขัดพื้นต่างๆ
3) การเก็บรักษา ก่อนการจัดเก็บเพื่อป้องกันสนิม
3.แปรงไนลอน ขนแปรงทาด้วยพลาสติก ทาด้วยเส้นใยไนลอน ซึ่งมีความอ่อน
กว่าขนแปรงพลาสติกผนึกติดแน่นบนแผงไม้
1) การเลือก ควรเลือกที่มีขนแปรงหนาแน่นและจับ
กระชับมือ
2) การใช้ใช้ปัดฝุ่นละอองบนกระเป๋ า
3) การเก็บรักษา จัดเก็บในที่แห้งให้เรียบร้อย
ฝอยขัด แผ่นขัด
แผ่นขัดมีหลายลักษณะให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม
1) การเลือก ควรเลือกชนิดที่มีความทนทาน
2) การใช้ใช้ขัดภาชนะและสิ่งสกปรกเฉาะที่
3) การเก็บรักษา หลังใช้แล้วต้องใช้ให้สะอาด บีบหรือสะบัดเอาน้าให้หมด
แผ่นฟองน้า
แผ่นฟองน้ามีหลายขนาด มีความหนาแตกจ่างกัน
และหลากสีลัน ทาให้มองดุน่าใช้
1) การเลือก เลือกแผ่นฟองน้าที่มีความหนา และขนาดเหมาะมือ
2) การใช้ เนื่องจากมีความนุ่มจึงเหมาะสาหรับใช้ล้างสิ่งของที่ด้วยแก้ว
3) การเก็บรักษา ปฏิบัติเช่นเดียวกับแผ่นขัด
ไม้ถูพื้น
ไม้ถูพื้นจะมีลักษณะเป็นด้ามยาว ส่วนปลายทาจากผ้า หรือแผ่นฟองน้า
1) การเลือก ควรเลือกที่มีความทนทาน เส้นใยซับน้าได้ดี
2) การใช้ใช้ถูพื้นต่างๆ ในบ้าน
3) การเก็บรักษา ซักส่วนปลายให้สะอาดผึ่งให้แห้ง
ถังและกะละมัง
ถังและกะละมังมีหลายขนาด ให้เลือกใช้ มีทั้งที่เป็นโลหะและพลาสติก
1) การเลือก ควรเลือกที่มีความหนา ถ้าเป็นประเภทมีหู เลือกที่มีหูแน่นหนา
2) การใช้ ใช้ใส่น้าเพื่อซักล้างและทาความสะอาด
สิ่งของต่างๆ
3) การเก็บรักษา ล้างให้สะอาด ผึ่งแดดให้แห้ง
สารทาความสะอาด
ก่อนการเลือกใช้ควรศึกษาละเอียดของฉลากให้เข้าใจ และเลือกให้เหมาะสม
1.ผงซักฟอก
1) การเลือก ศึกษาฉลากก่อนการซื้อ เลือกตามความ
เหมาะสม
2) การใช้ใช้งานตามที่ระในฉลาก
3) การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท จัดเก็บในที่แห้ง และให้พ้นมือเด็ก
2.น้ายาล้างจาน
1) การเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ พิจารณาประสิทธิภาพให้เหมาะสม
2) การใช้ ใช้ล้างจานชาม และภาชนะอื่นๆ
3) การเก็บรักษา ถ้าเป็น แบบกล่องหรือแบบขวด ให้ปิดฝา
ให้สนิท ถ้าแบบถุงให้ปิดฝาถุงให้สนิท
3.น้ายาขัดและผงขัด
1) การเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ พิจารณาประสิทธิภาพให้เหมาะสม
กับราคา และการใช้งาน
2) การใช้ใช้ทาความสะอาดพื้น ขัดภาชนะตามที่ระบุไว้ในฉลาก
3) การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท วางในที่หยิบให้สะดวก และให้พ้นมือเด็ก
3.การทาความสะอาดบ้าน
ในการดูแลรักษาบ้านให้สะอาดเรียบร้อย น่าอยู่ ควรทางานตามที่ได้วางแผน
ไว้เลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสม กับชนิดของงาน เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ให้
พร้อมก่อนทางาน
3.1 หลักการปัดกวาด
1.กวาดจากที่สูงมาหาที่ต่า คือกวาดจากเพดาน ฝาผนังหลังตู้ แล้วจึงกวาดพื้น
2.ก่อนทาการกวาด ปิดพัดลมหรือปิดประตูหน้าต่างก่อน กวาดไปทางเดียวกัน
ให้ฝุ่นผงไปกองไว้ในที่เดียวกัน
3.กวาดจากขอบหรือมุมด้านในออกไปด้านนอก และขณะไม่ควรยกปลายไม้
กวาดสูงเกินไป
4.หากขณะทาการกวาดมีพัดลม เพื่อป้องกันมิให้ฝุ่นละอองเข้าจมูกและปาก
5.ถ้าบริเวณที่มีฝุ่นหนามาก เมื่อทาการกวาดควรใช้ผ้าปิดจมูก
3.2 หลักการเช็ดถู
1.ก่อนการเช็ดถูพื้น ควรปัดกวาดเศษผง ฝุ่นออกให้หมด
2.เช็ดถูบริเวณที่อยู่สูงก่อนการเช็ดถูบริเวณที่อยู่ต่า
3.ถูจากส่วนหน้าเข้าหาตัว โดยถูถอยหลัง
4.ใช้ผ้าที่ซับน้าได้ดีและไม่มีละออง
3.3 การทาความสะอาดส่วนต่างๆในบ้าน
1) เพดาน กวาดเพดานจากด้านในสู่ด้านนอก
2) ฝาผนัง ดูดฝุ่นด้วยเครื่องดูดฝุ่น ใช้ผ้าชุบน้าบิดพอหมาดๆเช็ดให้ทั่ว
3) ประตู หน้าต่าง ปัดฝุ่นด้วยไม้กวาดขนไก่ ใช้ผ้าชุบน้าบิดพอหมาดๆเช็ดให้
ทั่ว
4) การทาความสะอาดพื้น
-พื้นไม้ควรทาความสะอาดด้วยไม้กวาดดอกหญ้า และถูด้วยผ้า
-พื้นหินขัดหรือพื้นซีเมนต์ราดน้าผสมน้ายาขัดและถูด้วยแปรง
-พื้นกระเบื้องยางหรือเสื่อน้ามัน ควรใช้ผ้าสะอาดจุ่มลงไปในน้าผสม
ผงซักฟอกแล้วขัดบริเวณดังกล่าว
3.4 การทาความสะอาดห้องต่างๆในบ้าน
1) ห้องนอน
(1) ที่นอน หมอน มุ้ง ควรเก็บให้เรียบร้อย
(2) ตู้โต๊ะ ควรจัดให้เป็นระเบียบ
(3) หน้าต่าง ควรเปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเท
(4) มุ้งลวด ควรทาความสะอาดด้วยการปัดฝุ่นสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
(5) พื้นห้อง ควรกวาดและถูทุกวัน
2) ห้องรับแขก
(1) โต๊ะ เก้าอี้รับแขก ควรปัดฝุ่นและเช็ดถูทุกวัน
(2) ภาพติดฝาผนังควรปัดด้วยไม้กวาดขนไก่
(3) วิทยุและโทรทัศน์ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าแห้งทุกวัน
(4) หนังสือควรจัดวางให้เป็นระเบียบ
(5) ชองใช้อื่นๆควรดูแลและทาความสะอาด
3) ห้องพระ
(1) โต๊ะหมู่บูชาควรทาความสะอาด ไม่ปล่อยให้ฝุ่นหนาเกินไป
(2) รูปรัชกาลต่างๆ ถ้ามีควรตั้งโต๊ะต่างหากไว้บูชา
(3) หนังสือธรรมะ ควรหมั่นเช็ดถูปัดฝุ่น
(4) พระเครื่อง ควรติดไว้ในกรอบบุด้วยกามะหยี่
4) ห้องแต่งตัว
(1) โต๊ะเครื่องแป้งและของใช้ ควรวางไว้บนโต๊ะควรทาความสะอาดอยู่
เสมอ
(2) ตู้เสื้อผ้าควรจัดให้เรียบร้อยและจัดแยกประเภทของเสื้อผ้า
(3) ราวตากผ้า ควรมีราวตากผ้าสาหรับตากผ้าเล็กๆ
(4) ถังขยะ ควรจัดไว้ข้างโต๊ะแป้ง
5) ห้องครัว
(1) เตาไฟ หลังใช้งานควรปิดและทาความสะอาดทุกครั้ง
(2) หม้อ กรทะ จาน ชาม ช้อน หลังใช้ควรล้างให้สะอาด
(3) โต๊ะและตู้กับข้าว หลังใช้งานควรควรจัดเก็บและทาความสะอาดทุกครั้ง
6) ห้องน้า
(1) ราวตากผ้าหรือที่สาหรับแขวนผ้าเช็ดตัว ควรมีประจาห้องน้า ต้องหมั่น
เช็ดถูทาความสะอาด
(2) อ่างล้างมือหรืออ่างอาบน้า โดยใช้ผงขัดเงา จากนั้นใช้ฟองน้าถูแล้วล้าง
ด้วยน้าสะอาด
(3) หัวก๊อกน้า จานสบู่กรอบกระจก ควรเช็ดให้แห้งแล้วใช้ผ้าชุบน้ายาขัดถู
(4) กระจกแต่งตัว อาจใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ชุบน้าพอหมาดๆเช็ดหลายๆ
ครั้ง
(5) ฝาห้อง เพดาน หน้าต่าง ควรปัดฝุ่นหยากไย่อยู่เสมอ
(6) โคมไฟหรือหลอดไฟ ควรใช้ผ้าเช็ดให้สะอาดเพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นหรือ
หยากไย่เกาะ
3.5 การดูแลรักษาบริเวณบ้าน
1) บริเวณรั้ว
1. ประตูบ้านและรั้วบ้าน ถ้ามีสนิมจับให้ขัดด้วยกระดาษทรายและทาสีกัน
สนิม ถ้าประตูมีเสียงดังให้ยอดน้ามัน
2. รั้วซีเมนต์ควรปัดกวาดทาความสะอาดเดือนละ 1 ครั้ง
3. รั้วต้นไม้ควรตัดแต่งเป็นประจาเพื่อไม่ให้รก
4. ถนนทางเข้าบ้าน ควรดูแลรักษาโดยกวาดหรือล้างให้สะอาดอยู่เสมอ
5. ไม่ควรวางถังขยะไว้หน้าบ้าน เพราะจะทาให้สุนัขมาคุ้ยเขี่ยอาหาร
2) บริเวณลานบ้าน
1. กวาดให้สะอาด
2. ตัดหญ้าเดือนละ 1 ครั้ง
3. บริเวณที่เป็นทางเดินควรนาแผ่นอิฐหรือแผ่นหินกราบวางเป็นระยะให้เดิน
ได้สะดวกและสวยงาม
4. พื้นที่เป็นหลุมบ่อ ให้กลบถมเพื่อหลีกเลี่ยงเป็นแหล่งเพราะพันธุ์ยุง
3)บริเวณรอบตัวบ้านและทางระบายน้า
1.กวาดบริเวณให้สะอาด
2.ไม่ควรวางสิ่งขิงรอบๆบ้าน จะทาให้รกรุงรัง
3.ถ้ามีภาชนะใส่น้าควรปิดฝาให้มิดชิด
4. ไม่ควรทิ้งขยะหรือเศษอาหารลงในทางระบายน้า
5. ถ้าเป็นทางระบายน้าแบบเปิดควรกวาดทุกสัปดาห์
3.6 การดูแลรักษาเครื่องเรือน
1. เครื่องเรือนประเภทไม้ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบน้าบิดหมาด
2. เครื่องเรือนประเภทหนัง ควรปัดฝุ่นและใช้เศษผ้าชุบน้ายาขัดเงาทาให้ทั่วและ
ขัดแปรงขนสัตว์จนเงา
3. เครื่องเรือนประเภทพลาสติกและเครื่องเคลือบ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบ
น้าบิดหมาด
4. เครื่องเรือนประเภทเครื่องเงิน ควรทาความสะอาดบ่อยๆโดยขัดด้วยน้ายาขัด
เครื่องเงิน
5. เครื่องเรือนประเภททองเหลือง ควรทาความสะอาดด้วยน้ายาขัดทองเหลือง
แล้วล้างด้วยน้าสะอาด เช็ดด้วยผ้าแห้ง
6. เครื่องเรือนประเภทเครื่องแก้วและกระจก ถ้าเป็นประเภทกระจกควรควรเช็ดถู
ด้วยน้ายาเช็ดกระจก ถ้าเป็นเครื่องแก้วควรล้างด้วยน้าผงซักฟอกแล้วล้างให้
สะอาด เช็ดด้วยผ้าแห้ง
4. ความปลอดภัยในการทางานบ้าน
4.1ความปลอดภัยจากการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
1. ก่อนการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้งควรอ่านคาแนะนาอย่างละเอียด
2. ควรตรวจดูสายไฟ ปลั๊กไฟ หากมีรอยชารุดต้องควรซ่อมแซมให้เรียบร้อยก็
นามาใช้งาน
3. ไม่ใช้มือเปียกน้าเสียบปลั๊กหรือดึกสายไฟ
4. ระวังอย่าให้สายไฟแช่น้า
5. อย่าให้สายไฟใกล้เตาไฟ
6. เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเสร็จแล้ว ต้องปิดสวิตช์และถอดปลั๊กให้เรียบร้อยทุก
ครั้ง
4.2 ความปลอดภัยจกการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
1. ศึกษาวิธีใช้อุปกรณ์ เครื่องมือก่อนใช้งานเพื่อให้เข้าใจและใช้ถูกวิธี
2. ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน
3. ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการใช้งานอย่างระมัดระวัง
4. ควรเก็บอุปกรณ์ เครื่องมือที่เป็นของมีคนให้พ้นมือเด็ก
5. เมื่อปรุงอาหารประเภทเคี่ยวหรือตุ๋นโดยใช้หม้ออัดความดัน
4.3 ความปลอดภัยจากการใช้สารสารซักฟอกและเคมี
1. เมื่อใช้เสร็จแล้วรีบล้างมือ ล้างเท้าให้สะอาดทันที
2. หลีกเลี่ยงการใช้หรือการสัมผัสสารเคมี
3. เมื่อจาเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่มีสารเคมีจะต้องหาทางป้องกันตัวเอง
4. ควรเก็บให้มิดชิดและพ้นมือเด็ก
5. ให้เขียนชื่อบอกไว้ที่ข้างกล่องหรือข้างขวดเพื่อป้องกันการหยิบใช้พลาด
4.4ความปลอดภัยจากวิธีการทางาน
1. วางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ ขั้นตอน
2. เมื่อกวาดเพดานหรือปัดฝุ่น ควรมีผ้าปิดจมูก
3. เมื่อหยิบของหรือทาความสะอาดที่สูง ควรใช้บันไดหรือยืนบนโต๊ะแทน
การเขย่ง
4. เมื่อถูพื้นหรือขัดห้องน้า ควรทาจากด้านในออกด้านนอก
5. ระมัดระวังและมีสมาธิในการทางาน
6. ไม่ควรทางานในขณะที่ร่างกายยังไม่พร้อม
7. ใช้เครื่องมือป้องกันให้เหมาะสมกับงาน
8. ไม่หักโหมทางานมากเกินไป งานที่ต้องออกแรงมาก
9. ลดมลภาวะที่เกิดจากการทางาน
10. ควรจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ
4.5 ความปลอดภัยจากการใช้บริเวณต่างๆฃองบ้าน
1. ควรให้ห้องและบริเวณต่างๆ มีแสงสว่างเพียงพอ
2. เมื่อมีน้าหรืออาหารหกลงบนพื้นครัว ให้รีบเช็ดให้สะอาด
3. พยายามให้พื้นห้องน้าแห้งอยู่เสมอ
4. ปิดแก๊ส ปิดก๊อกน้าหลังใช้งานทุกครั้ง
5. การจัดตกแต่งบ้านและบริเวณบ้าน
5.1 หลักในการจัดตกแต่งบ้าน
1. ความปลอดภัย ในการตกแต่งบ้านควรคานึงถึงความปลอดภัยของสมาชิกในบ้าน โดย
การเลือกเครื่องตกแต่งบ้านที่ไม่มีมุมแหลม
2. ถูกสุขลักษณะและสะอาด ในการจัดตกแต่งบ้านจะต้องให้มีอากาศถ่ายเท ได้สะดวกไม่
วางสิ่งของปิดบังลมทิศทางลม และไม่มีแสงสว่างเพียงพอ
3. ความสะดวก ในการจัดตกแต่งบ้านควรคาถึงความสะดวกในการทากิจกรรมต่างๆ ของ
บ้านให้สัมพันธ์กัน สามารถเดินไปเดินมา
4. ความสบาย การจัดตกแต่งบ้านให้มีความสบาย ควรจัดให้มีเครื่องป้องกันความจ้าของ
แดด
5. ความมีระเบียบและความสวยงาม ในการจัดตกแต่งบ้านเครื่องเรือนควรมีความเป็น
ระเบียบเรียบร้อย สิ่งของที่จัดวางถ้ามีมากเกินไปหรือจัดวางไม่เป็นระเบียบ
6. ความประหยัด ในการจัดตกแต่งบ้านควรคานึกถึงความประหยัดทั้งแรงงานและเงิน โดย
พิจารณาเรื่องและเวลา ในการดูและรักษา
5.3การจัดตกแต่งบริเวณบ้าน บริเวณบ้านได้แก่ส่วนที่อยู่รอบๆ บ้าน ควร
ดูแลตกแต่งให้สะอาด สวยงาม สดชื้น และปลอดภัย
1. สนามหญ้า ควรดูแลโดยหมั่นตัดอย่างสม่าเสมอ ควรดูแลหมั่นตัดหญ้า
ให้สั้นเสมอ อย่างน้อยเดือนระ1 ครั้ง เพื่อให้เกิดความสวยงาม และ
ปลอดภัย
2. บริเวณขอบสนาม อาจจะปลูกต้นไม้ อาจจะปลูกต้นไม้เช่น มะม่วง ชมพู่
ตะแบก เพื่อความร่มลื่น สวยงาม หรือจัดสวนหย่อม
3. ถนนเข้าสู่ตัวบ้าน ควรปลูกดอกไม้ไม้ประดับ เช่น เข็ม กุหลาบ บานชื้น
ดาวเรือง เป็นต้น เพื่อความสวยงาม สดชื่น
4. ระเบียงหน้าบ้านหรือมุมบ้าน ควรจัดวางไม้กระถางประเภทไม้ปลูกร่ม เช่น
พลูด่าง เขียวหมื่นปี วาสนา หรืออาจจะนาโมบายหรือไม้แควน แควนไว้ที่
ชายคา
5.2 การจัดตกแต่งห้องต่างๆ ภายในบ้านแต่ละหลังต่างๆมากมาย เช่น ห้องนอน ห้องครัว
ห้องอาหาร ห้องรับแขก ห้องน้า เป็นต้น
1. การจัดตกแต่งห้องนอน ห้องนอนเป็นห้องส่วนตัวที่ให้ความรู้สึกสบายที่สุด ของ
บ้าน ใช้ผ่อนคลายความเครียด
2. การจัดตกแต่งห้องครัว ห้องครัวเป็นห้องที่ใช้ประกอบอาหาร ควรจัดเหมาะสม
กับการใช้สอย เพราะเป็นห้องที่ใช้เตรียมอาหาร
3. การจัดตกแต่งห้องอาหาร ห้องอาหารเป็นห้องที่รับประทานอาหาร บางบ้าน บาง
บ้านอาจใช้เป็นที่ทากิจกรรม
4. การจัดตกแต่งห้องรับแขก ห้องรับแขกเป็นห้องสาหรับรับแขกที่มาเยี่ยมเยียนบ้าน
หรือใช้เป็นที่พักผ่อน นั่งเล่น อ่านหนังสือ
5. การจัดตกแต่งห้องน้า ห้องน้าเป็นห้องที่มีความชื้นสูง จึงควรให้มีพัดลมผ่าน
สะดวกเพื่อทาให้พื้นแห้งมีความสะอาด
6. การจัดตกแต่งห้องสุขา ห้องสุขาเป็นห้องที่มีความจาเป็น เพระทุกคนต้องใช้เป็น
กิจวัตรประจาวัน ส่วนนอกเป็นห้องน้าส่วนในเป็นห้องสุขา
จัดทาโดย
นายสุทธิราช ภูโท เลขที่ 6
นายอานาจ แสนทวีสุข เลขที่ 7
นายอิศรา หงษาวัน เลขที่ 8
เลขที่ 8
นางสาวกมลชนก ดอนสิงห์ เลขที่ 19 นางสาวนันทิชา ศรีระวัง เลขที่ 20
นางสาวศศิธร วงศ์คาเหลา เลขที่ 21
นางสาวปิยธิดา วงค์เสนา เลขที่ 22 นางสาวภัทราภรณ์ จุดาสิงห์ เลขที่ 23
นางสาวสุภัสสรา มาลาจันทร์ เลขที่ 24
นาเสนอ
คุณครูจิราพร ยศศรีสุราษฎร์
จัดทาโดย
1. นายสุทธิราช ภูโท เลขที่ 6
2. นายอานาจ แสนทวีสุข เลขที่ 7
3. นายอิศรา หงษาวัน เลขที่ 8
4. นางสาวกมลชนก ดอนสิงห์ เลขที่ 19
5. นางสาวนันทิชา ศรีระวัง เลขที่ 20
6. นางสาวศศิธร วงศ์คาเหลา เลขที่ 21
7. นางสาวปิยธิดา วงค์เสนา เลขที่ 22
8. นางสาวภัทราภรณ์ จุดาสิงห์ เลขที่ 23
9. นางสาวสุภัสสรา มาลาจันทร์ เลขที่ 24
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
krupeak
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
Wichai Likitponrak
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
Benjapron Seesukong
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 

Viewers also liked

41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
Pochchara Tiamwong
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 

Viewers also liked (6)

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน

หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลาหลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
thanathip
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
โครงงานคมพิวเตอร์
โครงงานคมพิวเตอร์โครงงานคมพิวเตอร์
โครงงานคมพิวเตอร์
Nutthakorn Chaiya
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
Bert Nangngam
 
โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์
Chalermkiat Aum
 
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงานใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
sa_jaimun
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน (20)

ตุ๊ก2
ตุ๊ก2ตุ๊ก2
ตุ๊ก2
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลาหลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคมพิวเตอร์
โครงงานคมพิวเตอร์โครงงานคมพิวเตอร์
โครงงานคมพิวเตอร์
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
นัด
นัดนัด
นัด
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
Projectcom2
Projectcom2Projectcom2
Projectcom2
 
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงานใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
 
ณัฐธิดา เลขที่ 18 ม.5/7
ณัฐธิดา เลขที่ 18 ม.5/7ณัฐธิดา เลขที่ 18 ม.5/7
ณัฐธิดา เลขที่ 18 ม.5/7
 
แก้ใหม่
แก้ใหม่แก้ใหม่
แก้ใหม่
 
แก้แล้วคะ
แก้แล้วคะแก้แล้วคะ
แก้แล้วคะ
 
Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
NUTTIDA NUT
NUTTIDA NUTNUTTIDA NUT
NUTTIDA NUT
 
การวางแผนงานพัฒนาอนามัยชุมชน
การวางแผนงานพัฒนาอนามัยชุมชนการวางแผนงานพัฒนาอนามัยชุมชน
การวางแผนงานพัฒนาอนามัยชุมชน
 

More from lukhamhan school

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
lukhamhan school
 

More from lukhamhan school (10)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน

  • 2. 1. การจัดการด้านการวางแผนการทางานและการใช้ทรัพยากรในบ้าน การจัดการด้านการวางแผนการทางานและการใช้ทรัพยากรในบ้าน เป็นการบริหารหรือคิดตระเตรียมล่วงหน้าเกี่ยวกับการปฏิบัติต่างๆใน บ้าน เช่น การประกอบอาหาร การทาความสะอาด การตัดเย็บเสื้อผ้า การ ทาสวนครัว เป็นต้น โดยหาทางใช้ทรัพยากรของครอบครัวที่มีอยู่ให้ คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
  • 3. ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการจดการด้านวางแผนการทางาน (1) ทรัพยากรส่วนบุคคล เป็นสิ่งที่มีประจาตัวบุคคล เช่น เวลา แรงงาน ความ สนใจ เป็นต้น (2) ทรัพยากรประเภทวัสดุและบริการ เป็นสิ่งของหรือบริการที่อานวยความ สะดวกให้แก่ครอบรัว เช่น เงิน สิ่งของเครื่องใช้ อาหาร รวมทั้งงานบริการ จากภาครัฐและเอกชน เช่น ธนาคาร การไฟฟ้า การประปา เป็นต้น (3) ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของสมาชิกในครอบครัว เช่น ดิน ฟ้า อากาศ ต้นไม้เป็นต้น
  • 4. 1.1 การจัดการด้านวางแผนการทางาน งานบ้านมีหลายรูปแบบ การเรียนรู้เพื่อการวางแผนการทางานในบ้านจะ ช่วยให้สามารถทางานทุกอย่างในบ้านได้ตามต้องการ สาหรับการวางแผน ทางานบ้านนั้นควรทาเป็นตารางการทางานเป็นลาดับ ดังต่อไปนี้ 1) สารวจและวิเคราะห์งาน เป็นขั้นตอนสารวจงานที่ได้รับมอบหมายและ กิจวัตรส่วนตัว พร้อมทั้งวิเคราะห์และเขียนบันทึกว่าจะทาในวันใด เวลาใด ดังตัวออย่างต่อไปนี้
  • 5. ลาดับที่ เวลาทางาน งานที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบ วันทา การ วันหยุด หมาย เหตุ 1. 16.30 น. ประกอบอาหาร ทุกวัน 2. 19.00 น. ล้างจาน ทุกวัน 3. 8.30 น. ซักผ้า เสาร์ 4. 14.00 น. ล้างห้องน้า เสาร์ 5. 9.00 น. ล้างรถยนต์ อาทิตย์ ตารางที่ 1 สารวจงานและวิเคราะห์งานที่ได้รับมอบหมายในบ้าน
  • 6. ตารางที่ 2 ตารางสารวจงานลิเคราะห์งานกิจวัตรส่วนตัว ลาดับที่ เวลา กิจวัตรส่วนตัว รายวัน รายสัปดาห์ หมายเหตุ 1. 5.30 น. ตื่นนอน เก็บที่นอน ทุกวัน 2. 6.10 น. อาบน้า แต่งตัว ทุกวัน 3. 7.00 น. รับประทานอาหาร ทุกวัน 4. 7.30 น. ไปโรงเรียน ทุกวัน 5. 8.30–16.00 น. เรียนหนังสือที่โรงเรียน ทุกวัน 6. 16.10 น. เดินทางกลับบ้าน ทุกวัน 7. 18.30 น. รับประทานอาหารเย็น ทุกวัน 8. 19.30 น. ทาการบ้าน ทบทวนบทเรียน ทุกวัน 9. 21.00 น. เข้านอน ทุกวัน
  • 7. 2) วางแผน ในการวางแผนทางานบ้านนั้น ควรกาหนดเวลาในการทางาน บ้านที่รับผิดชอบไว้ล่วงหน้าว่าจะทางานใด ในเวลาใด โดยนารายการที่ วิเคราะห์แล้วมาจัดทาเป็นตารางการทางาน แยกตารางการทางานประจาวัน จันทร์ถึงวันศุกร์และตารางการทางานวันหยุดสุดสัปดาห์ งานใดที่ต้องทา ทุกวันก็จัดไว้ทั้ง 2 ตาราง ส่วนงานที่ทาเพียงครั้งเดียวก็วิเคราะห์ว่าระหว่าง วันเสาร์กับวันอาทิตย์วันใดจะเหมาะสมกว่ากัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 8. ตารางที่ 3 ตารางการทางานประจาวันจันทร์ถึงศุกร์ ลาดับที่ เวลา กิจกรรมที่ต้องทา หมายเหตุ 1. 5.30 น. ตื่นนอน เก็บที่นอน 2. 6.10 น. อาบน้า แต่งตัว 3. 7.00 น. รับประมานอาหารเช้า 4. 7.30 น. ไปโรงเรียน 5. 8.30-16.00 น. เรียนหนังสือและเข้าห้องสมุดที่โรงเรียน 6. 16.10 น. เดินทางกลับ 7. 18.30 น. รับประทานอาหารเย็น 8. 19.30 น. ทาการบ้านทบทวนบทเรียน 9. 21.00 น. เข้านอน
  • 9. ตารางที่ 4 ตารางทางานวันหยุดสุดสัปดาห์ ลาดับที่ เวลา กิจกรรมที่ทาวันเสาร์ กิจกรรมที่ทาวันอาทิตย์ หมายเหตุ 1. 6.00 น. ตื่นนอน ตื่นนอน 2. 6.30 น. อาบน้า แต่งตัว อาบน้า แต่งตัว 3. 7.00 น. รับประทานอาหารเช้า รับประทานอาหารเช้า 4. 7.30 น. ดูโทรทัศน์ ดูโทรทัศน์ 5. 8.30 น. ซักผ้า กวาดบ้าน ล้างห้องน้า รีดผ้า ล้างรถยนต์ 6. 14.00 น. พักผ่อนและทากิจกรรมกับครอบครัว พักผ่อนและทากิจกรรมกับครอบครัว 7. 16.00 น. ทาการบ้านและอ่านหนังสือ ทาการบ้านและอ่านหนังสือ 8. 18.30 น. รับประทานอาหารเย็น รับประทานอาหารเย็น 9. 21.00 น. เข้านอน เข้านอน
  • 10. 3) ปฏิบัติงานตามแผน เป็นขั้นตอนการทางานตามตารางที่กาหนดไว้และ จดบันทึกงานที่ไม่สามารถทาได้หรือต้องดาเนินการปรับปรุงแก้ไข พร้อม ทั้งควรหาแนมทางแก้ไขว่าจะทาได้อย่างไร 4) การประเมิลผล การประเมิลผลในที่นี้เป็นการสารวจประสิทธิภาพของ แผนงานที่ใช้ว่าทาได้จริงหรือไม่ ผลที่ได้รับเป็นไปตามความคาดหวัง หรือไม่ ในการปฏิบัติงานต้องทาด้วยความตั้งใจ ไม่เข้าข้างตนเอง
  • 11. การประเมินผลสามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ 1. ใช้การสังเกตและพิจารณาว่าจุดไหนเป็นอย่างไร แล้วจดบันทึกไว้เช่น เวลาใน การทางานน้อยไป 2. ให้สมาชิกในบ้านแสดงความคิดเห็น โดยเปิดโอกาสให้สมาชิกวิพากษ์วิจารณ์ แผนงานที่ทา เพื่อนาข้อมูลมาพัฒนาต่อไป 3. เปรียบเทียบกับมาตรฐานของผู้อื่น โดยดูผลงานผู้อื่นว่าเป็นอย่างไร เช่น เปรียบเทียบความเรียบของการรีดผ้า เป็นต้น 4 . เขียนจาแนกระดับคุณภาพแล้วพิจารณาว่าตนเองอยู่ในระดับใด ถ้าพบว่า ตนเองอยู่ในระดับกลางและระดับต่า ควรปรับปรุงให้ดีขึ้น
  • 12. ตารางที่ 5 ตารางประเมินผลการทางานในบ้าน ลาดับที่ งานที่ทา ระดับสูง ระดับกลาง ระดับต่า หมายเหตุ 1. การ ประกอบ อาหาร -เสร็จก่อนเวลาที่กาหนด - อาหารรสชาติดี -จัดตกแต่งอาหารได้ สวยงาม -อาหารเสร็จได้ ทันเวลา -รสชาติปกติ -จัดตกแต่งอาหารได้ ธรรมดา -อาหารเสร็จช้า กว่าเวลาที่กาหนด -รสชาติไม่ดี -ไม่มีการจัด ตกแต่งอาหาร 2. การจัด ห้องรับแขก -เป็นไปตามแผนที่ กาหนดทั้งหมด -มีความสวยงามและเป็น ระเบียบเรียบร้อยทั้งหมด -เป็นไปตามแผนที่ กาหนดบางส่วน -มีความเป็นระเบียบ ส่วนใหญ่ -ไม่เป็นไปตาม แผนที่กาหนด -ไม่เป็นระเบียบ และเป็นระเบียบ พอๆกัน
  • 13. 1.2 ประโยชน์ของการวางแผนการทางาน 1. ช่วยให้ผู้ที่รับผิดชอบงานทราบล่วงหน้าว่าจะทางานใดเมื่อใด 2. สามารถทางานที่รับผิดชอบได้สาเร็จตามที่มุ่งหวัง 3. ฝึกนิสัยให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีเหตุผล และรอบคอบ 4. ก่อให้เกิดการประหยัดทั้งเวลาและแรงงาน 5. ฝึกให้เกิดนิสัยการวางแผน ต่อไปจะทาได้รวดเร็วและเกิดความผิดพลาดน้อย
  • 14. 1.3 ข้อควรคานึงในการวางแผนการใช้ทรัพยากรในครอบครัว 1. เวลา ทุกคนมี่เวลาเท่ากัน คือ วันละ 24 ชั่วโมง แต่ละคนใช้เวลาทางานไม่เท่ากัน ผู้ที่จัดการกับเวลา ได้อย่างดีจึงจะใช้เวลาของแต่ละวันทางานได้อย่างคุ้มค่า 2. แรงงาน เกี่ยวกับสุขภาพ ผู้มีสุขภาพดีย่อมได้เปรียบกว่าผู้ที่มีสุขภาพไม่ดี และการรู้จักจัดการเรื่อง แรงงานจะช่วยให้เสียเวลาในการทางานน้อยลง 3. ความรู้ สติปัญญา เป็นสิ่งที่ได้มาจากากรศึกษา อาจจะได้มาจากโรงเรียน จากชุมชนและแหล่งอื่นๆ ในการวางแผนการใช้ทรัพยากรส่วนบุคคล จะต้องคานึงถึงภูมิความรู้ความถนัดของแต่ละบุคคล เพื่อจะได้ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ความสามารถ เป็นทรัพยากรส่วนบุคคลที่แต่ละคนมีไม่เหมือนกันและไม่เท่ากัน ดังนั้นในการ ทางานบ้านจะต้องพิจารณาถึงความสามารถของบุคคลด้วย 5. ทักษะ ในการทางานบ้านจะต้องใช้ทักษะกระบวนการ ทักษะการแก้ปัญหาเกิดอุปสรรคหรือ ข้อผิดพลาดจากการทางาน 6 . เงิน นับเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญเพราะเป็นสิ่งที่ใช้แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการในครอบครัว จะต้องมีการหาเงินมาเลี้ยงดูครอบครัว
  • 15. 1.4 การจัดการเงินของครอบครัว 1) มีการวางแผนการใช้เงินของครอบครัวที่ดี สมาชิกในครอบครัวควรรู้จัก วางแผนใช้เงินในเรื่องต่างๆ ให้เหมาะกับรายได้โดยจัดการวางแผน ประมาณรายจ่าย หรือทางบประมาณหรือจัดแยกเป็นหมวดหมู่ 2) มีการปฏิบัติตามแผนการใช้เงิน ในการปฏิบัติตามแผนการใช้เงินนั้น ควรระวังและควบคุมดูและควบคุมดูแลให้เป็นไปตามที่วางแผนที่วางไว้ แต่ถ้าหายรายจ่ายใดจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงก็ให้เปลี่ยนแปลงตามความ เหมาะสม 3) มีการประเมินผล ในการประเมินผลการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณที่ วางไว้การตรวจสอบค่าใช้จ่าย พิจารณาถึงความคุ้มค่าของเงินที่ใช้จ่าย
  • 16. 2. อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ในการทาความสะอาดบ้าน อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการทาความสะอาดบ้านมีหลายชนิด ซึ่งเราควรพิจารณาเลือก ให้เหมาะสมและใช้งานให้ถูกต้องตามชนิดของ เครื่องมือ อุปกรเหล่านั้น ได้แก่
  • 17. เครื่องดูดฝุ่ น เครื่องดูดฝุ่นเป็นการเครื่องไฟฟ้า ที่นิยมใช้กันทั่วไป มีหลายรูปแบบให้ เลือกใช้ 1.ประสิทธิภาพการใช้งานที่สามารถใช้ทาความสะอาดได้หลายลักษณะ 2.สะดวกและปลอดภัยในการใช้งาน 3.มีการรับรองคุณภาพชองเครื่อง 4.มีความแข็งแรง ทนทาน 5.มีขายทั่วไป สามารถซ่อมแซมได้ 1.การใช้ ใช้ตามประสิทธิภาที่ระบุไว้เช่นดูดฝุ่น ดุดเศษผงที่พื้น ที่พรมปูพื้น 2.การเก็บรักษา ควรทาความสะอาดก่อนจัดเก็บ โดยเช็คฝุ่นและม้วนสายไฟ ให้เรียบร้อย
  • 18. ไม้กวาด ไม้กวาดเครื่องมือสาหรับทาความสะอาดพื้นต่างๆ มีหลายชนิดซึ่งควร เลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงานดังนี้ 1.ไม้กวาดกวาดดอกหญ้า ด้ามจับทาด้วย.ไม้กลมกลมยาวปลายทาด้วยดอกหญ้า มัดติดกับด้าม 1) การเลือกด้ามจับที่ไม่มีมอดกัดกิน ด้ามมีขนาดไม่เล็กหรือใหญ่เกินไปจับ ถนัดมือ 2) การใช้ ไม้กวาดพื้นแห้งและเรียบ เช่น พื้นไม้พื้นซีเมนต์ขัดมัน 3) การเก็บรักษา เอาเชือกร้อยที่ปลายไม้กวาด แขวนให้ปลายดอกหญ้าสูงกว่าพื้นเล็กน้อย
  • 19. 2.ไม้กวาดทางมะพร้าว ทาด้วยทางมะพร้าวที่พบเห็นทั่วไปมี 2 ชนิดคือ ชนิดมีปลอก สวมและชนิดมีด้ามจับยาวมาก ซึ่งทาด้วยไม้ไผ่กลม 1) การเลือก ควรเลือกด้ามตรง จับเหมาะมือ ด้ามไม่มีมอดกัดกิน 2) การใช้ ใช้กวาดพื้นผิวหยาบ 3) การเก็บรักษา เก็บในร่มและที่แห้งไม่ควรตากแดด หรือตากฝน 3.ไม้กวาดเสี้ยนตาล ปลายสาหรับกวาดทาด้วยเสี้ยนตาล ส่วนด้ามทาด้วยไม้ไผ่กลมเล็ก 1) การเลือก ควรเลือกที่มีด้ามตรง เสี้ยนตาลมัดติดกับด้ามแน่นหนา 2) การใช้ ใช้ทาความสะอาดบริเวณสูง 3) การเก็บรักษา เก็บในที่ร่มและแห้ง
  • 20. 4.ไม้กวาดไม้ไผ่ ทาจากไม้ไผ่ทั้งด้ามจับและปลายด้ามไม้กวาด ปลายไม้กวาดมี ลักษณะเป็นซี่หลายซี่ มัดด้วยเชือกหรือหวายแผ่เป็นแผง 1) การเลือก ควรเลือกที่มีด้ามตรง ไม่เล็กหรือใหญ่เกินไป 2) การใช้ใช้กวาดใบไม้ในสนาม 3) การเก็บรักษา เก็บในที่ร่มแห้ง ไม่ควรตากแดด 5.ไม้กวาดขนไก่ เป็นพู่ทาด้วยขนไก่ ด้ามจับมีทั้งเป็นหวาย และพลาสติก ที่ปลายด้ามมักจะโค้งงอ 1) การเลือก ควรเลือกที่ขนติดกับด้ามแน่นหนาพอสมควร 2) การใช้ใช้ปัดฝุ่นตามที่ต่างๆ 3) การเก็บรักษา ควรเก็บในที่แห้ง วิธีแขวนและเคาะฝุ่น ออกให้หมดก่อนจัดเก็บ
  • 21. 6.ไม้กวาดไนลอน ใช้กวาดพื้นเรียบเช่นกับไม้กวาดดอกหญ้า 1) การเลือก ควรเลือกที่ด้ามจับมีขนาดเหมาะมือ 2) การเลือกใช้เลือกใช้ตามลักษณะงาน 3) การเก็บรักษา จัดเก็บโดยวิธีแขวน
  • 22. แปรงขัด แปรงขัดเป็นเครื่องมือใช้สาหรับขัดสิ่งสกปรกเพื่อทาความสะอาดบ้าน และสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ 1.แปรงลวด ลักษณะขนแปรงสั้น ทาด้วยเส้นลวด 1) การเลือก ควรเลือกที่มีลักษณะกลมรี 2) การใช้ใช้ขัดพื้นซีเมนต์ 3) การเก็บรักษา ก่อนการจัดเก็บเพื่อป้องกันสนิม
  • 23. 2.แปรงพลาสติก ขนแปรงทาด้วยพลาสติก มีทั้งด้ามจับและไม่มี 1) การเลือกควรเลือกใช้ขนแปรงเรียบ 2) การใช้ชนิดที่มีด้ามใช้ขัดโถส้วม ส่วนชนิดไม่มีด้าม ใช้ขัดพื้นต่างๆ 3) การเก็บรักษา ก่อนการจัดเก็บเพื่อป้องกันสนิม 3.แปรงไนลอน ขนแปรงทาด้วยพลาสติก ทาด้วยเส้นใยไนลอน ซึ่งมีความอ่อน กว่าขนแปรงพลาสติกผนึกติดแน่นบนแผงไม้ 1) การเลือก ควรเลือกที่มีขนแปรงหนาแน่นและจับ กระชับมือ 2) การใช้ใช้ปัดฝุ่นละอองบนกระเป๋ า 3) การเก็บรักษา จัดเก็บในที่แห้งให้เรียบร้อย
  • 24. ฝอยขัด แผ่นขัด แผ่นขัดมีหลายลักษณะให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม 1) การเลือก ควรเลือกชนิดที่มีความทนทาน 2) การใช้ใช้ขัดภาชนะและสิ่งสกปรกเฉาะที่ 3) การเก็บรักษา หลังใช้แล้วต้องใช้ให้สะอาด บีบหรือสะบัดเอาน้าให้หมด แผ่นฟองน้า แผ่นฟองน้ามีหลายขนาด มีความหนาแตกจ่างกัน และหลากสีลัน ทาให้มองดุน่าใช้ 1) การเลือก เลือกแผ่นฟองน้าที่มีความหนา และขนาดเหมาะมือ 2) การใช้ เนื่องจากมีความนุ่มจึงเหมาะสาหรับใช้ล้างสิ่งของที่ด้วยแก้ว 3) การเก็บรักษา ปฏิบัติเช่นเดียวกับแผ่นขัด
  • 25. ไม้ถูพื้น ไม้ถูพื้นจะมีลักษณะเป็นด้ามยาว ส่วนปลายทาจากผ้า หรือแผ่นฟองน้า 1) การเลือก ควรเลือกที่มีความทนทาน เส้นใยซับน้าได้ดี 2) การใช้ใช้ถูพื้นต่างๆ ในบ้าน 3) การเก็บรักษา ซักส่วนปลายให้สะอาดผึ่งให้แห้ง ถังและกะละมัง ถังและกะละมังมีหลายขนาด ให้เลือกใช้ มีทั้งที่เป็นโลหะและพลาสติก 1) การเลือก ควรเลือกที่มีความหนา ถ้าเป็นประเภทมีหู เลือกที่มีหูแน่นหนา 2) การใช้ ใช้ใส่น้าเพื่อซักล้างและทาความสะอาด สิ่งของต่างๆ 3) การเก็บรักษา ล้างให้สะอาด ผึ่งแดดให้แห้ง
  • 26. สารทาความสะอาด ก่อนการเลือกใช้ควรศึกษาละเอียดของฉลากให้เข้าใจ และเลือกให้เหมาะสม 1.ผงซักฟอก 1) การเลือก ศึกษาฉลากก่อนการซื้อ เลือกตามความ เหมาะสม 2) การใช้ใช้งานตามที่ระในฉลาก 3) การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท จัดเก็บในที่แห้ง และให้พ้นมือเด็ก 2.น้ายาล้างจาน 1) การเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ พิจารณาประสิทธิภาพให้เหมาะสม 2) การใช้ ใช้ล้างจานชาม และภาชนะอื่นๆ 3) การเก็บรักษา ถ้าเป็น แบบกล่องหรือแบบขวด ให้ปิดฝา ให้สนิท ถ้าแบบถุงให้ปิดฝาถุงให้สนิท
  • 27. 3.น้ายาขัดและผงขัด 1) การเลือก ศึกษาฉลากก่อนการเลือกซื้อ พิจารณาประสิทธิภาพให้เหมาะสม กับราคา และการใช้งาน 2) การใช้ใช้ทาความสะอาดพื้น ขัดภาชนะตามที่ระบุไว้ในฉลาก 3) การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท วางในที่หยิบให้สะดวก และให้พ้นมือเด็ก
  • 28. 3.การทาความสะอาดบ้าน ในการดูแลรักษาบ้านให้สะอาดเรียบร้อย น่าอยู่ ควรทางานตามที่ได้วางแผน ไว้เลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสม กับชนิดของงาน เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ให้ พร้อมก่อนทางาน 3.1 หลักการปัดกวาด 1.กวาดจากที่สูงมาหาที่ต่า คือกวาดจากเพดาน ฝาผนังหลังตู้ แล้วจึงกวาดพื้น 2.ก่อนทาการกวาด ปิดพัดลมหรือปิดประตูหน้าต่างก่อน กวาดไปทางเดียวกัน ให้ฝุ่นผงไปกองไว้ในที่เดียวกัน 3.กวาดจากขอบหรือมุมด้านในออกไปด้านนอก และขณะไม่ควรยกปลายไม้ กวาดสูงเกินไป 4.หากขณะทาการกวาดมีพัดลม เพื่อป้องกันมิให้ฝุ่นละอองเข้าจมูกและปาก 5.ถ้าบริเวณที่มีฝุ่นหนามาก เมื่อทาการกวาดควรใช้ผ้าปิดจมูก
  • 29. 3.2 หลักการเช็ดถู 1.ก่อนการเช็ดถูพื้น ควรปัดกวาดเศษผง ฝุ่นออกให้หมด 2.เช็ดถูบริเวณที่อยู่สูงก่อนการเช็ดถูบริเวณที่อยู่ต่า 3.ถูจากส่วนหน้าเข้าหาตัว โดยถูถอยหลัง 4.ใช้ผ้าที่ซับน้าได้ดีและไม่มีละออง
  • 30. 3.3 การทาความสะอาดส่วนต่างๆในบ้าน 1) เพดาน กวาดเพดานจากด้านในสู่ด้านนอก 2) ฝาผนัง ดูดฝุ่นด้วยเครื่องดูดฝุ่น ใช้ผ้าชุบน้าบิดพอหมาดๆเช็ดให้ทั่ว 3) ประตู หน้าต่าง ปัดฝุ่นด้วยไม้กวาดขนไก่ ใช้ผ้าชุบน้าบิดพอหมาดๆเช็ดให้ ทั่ว 4) การทาความสะอาดพื้น -พื้นไม้ควรทาความสะอาดด้วยไม้กวาดดอกหญ้า และถูด้วยผ้า -พื้นหินขัดหรือพื้นซีเมนต์ราดน้าผสมน้ายาขัดและถูด้วยแปรง -พื้นกระเบื้องยางหรือเสื่อน้ามัน ควรใช้ผ้าสะอาดจุ่มลงไปในน้าผสม ผงซักฟอกแล้วขัดบริเวณดังกล่าว
  • 31. 3.4 การทาความสะอาดห้องต่างๆในบ้าน 1) ห้องนอน (1) ที่นอน หมอน มุ้ง ควรเก็บให้เรียบร้อย (2) ตู้โต๊ะ ควรจัดให้เป็นระเบียบ (3) หน้าต่าง ควรเปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเท (4) มุ้งลวด ควรทาความสะอาดด้วยการปัดฝุ่นสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (5) พื้นห้อง ควรกวาดและถูทุกวัน
  • 32. 2) ห้องรับแขก (1) โต๊ะ เก้าอี้รับแขก ควรปัดฝุ่นและเช็ดถูทุกวัน (2) ภาพติดฝาผนังควรปัดด้วยไม้กวาดขนไก่ (3) วิทยุและโทรทัศน์ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าแห้งทุกวัน (4) หนังสือควรจัดวางให้เป็นระเบียบ (5) ชองใช้อื่นๆควรดูแลและทาความสะอาด 3) ห้องพระ (1) โต๊ะหมู่บูชาควรทาความสะอาด ไม่ปล่อยให้ฝุ่นหนาเกินไป (2) รูปรัชกาลต่างๆ ถ้ามีควรตั้งโต๊ะต่างหากไว้บูชา (3) หนังสือธรรมะ ควรหมั่นเช็ดถูปัดฝุ่น (4) พระเครื่อง ควรติดไว้ในกรอบบุด้วยกามะหยี่
  • 33. 4) ห้องแต่งตัว (1) โต๊ะเครื่องแป้งและของใช้ ควรวางไว้บนโต๊ะควรทาความสะอาดอยู่ เสมอ (2) ตู้เสื้อผ้าควรจัดให้เรียบร้อยและจัดแยกประเภทของเสื้อผ้า (3) ราวตากผ้า ควรมีราวตากผ้าสาหรับตากผ้าเล็กๆ (4) ถังขยะ ควรจัดไว้ข้างโต๊ะแป้ง 5) ห้องครัว (1) เตาไฟ หลังใช้งานควรปิดและทาความสะอาดทุกครั้ง (2) หม้อ กรทะ จาน ชาม ช้อน หลังใช้ควรล้างให้สะอาด (3) โต๊ะและตู้กับข้าว หลังใช้งานควรควรจัดเก็บและทาความสะอาดทุกครั้ง
  • 34. 6) ห้องน้า (1) ราวตากผ้าหรือที่สาหรับแขวนผ้าเช็ดตัว ควรมีประจาห้องน้า ต้องหมั่น เช็ดถูทาความสะอาด (2) อ่างล้างมือหรืออ่างอาบน้า โดยใช้ผงขัดเงา จากนั้นใช้ฟองน้าถูแล้วล้าง ด้วยน้าสะอาด (3) หัวก๊อกน้า จานสบู่กรอบกระจก ควรเช็ดให้แห้งแล้วใช้ผ้าชุบน้ายาขัดถู (4) กระจกแต่งตัว อาจใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ชุบน้าพอหมาดๆเช็ดหลายๆ ครั้ง (5) ฝาห้อง เพดาน หน้าต่าง ควรปัดฝุ่นหยากไย่อยู่เสมอ (6) โคมไฟหรือหลอดไฟ ควรใช้ผ้าเช็ดให้สะอาดเพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นหรือ หยากไย่เกาะ
  • 35. 3.5 การดูแลรักษาบริเวณบ้าน 1) บริเวณรั้ว 1. ประตูบ้านและรั้วบ้าน ถ้ามีสนิมจับให้ขัดด้วยกระดาษทรายและทาสีกัน สนิม ถ้าประตูมีเสียงดังให้ยอดน้ามัน 2. รั้วซีเมนต์ควรปัดกวาดทาความสะอาดเดือนละ 1 ครั้ง 3. รั้วต้นไม้ควรตัดแต่งเป็นประจาเพื่อไม่ให้รก 4. ถนนทางเข้าบ้าน ควรดูแลรักษาโดยกวาดหรือล้างให้สะอาดอยู่เสมอ 5. ไม่ควรวางถังขยะไว้หน้าบ้าน เพราะจะทาให้สุนัขมาคุ้ยเขี่ยอาหาร
  • 36. 2) บริเวณลานบ้าน 1. กวาดให้สะอาด 2. ตัดหญ้าเดือนละ 1 ครั้ง 3. บริเวณที่เป็นทางเดินควรนาแผ่นอิฐหรือแผ่นหินกราบวางเป็นระยะให้เดิน ได้สะดวกและสวยงาม 4. พื้นที่เป็นหลุมบ่อ ให้กลบถมเพื่อหลีกเลี่ยงเป็นแหล่งเพราะพันธุ์ยุง 3)บริเวณรอบตัวบ้านและทางระบายน้า 1.กวาดบริเวณให้สะอาด 2.ไม่ควรวางสิ่งขิงรอบๆบ้าน จะทาให้รกรุงรัง 3.ถ้ามีภาชนะใส่น้าควรปิดฝาให้มิดชิด 4. ไม่ควรทิ้งขยะหรือเศษอาหารลงในทางระบายน้า 5. ถ้าเป็นทางระบายน้าแบบเปิดควรกวาดทุกสัปดาห์
  • 37. 3.6 การดูแลรักษาเครื่องเรือน 1. เครื่องเรือนประเภทไม้ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบน้าบิดหมาด 2. เครื่องเรือนประเภทหนัง ควรปัดฝุ่นและใช้เศษผ้าชุบน้ายาขัดเงาทาให้ทั่วและ ขัดแปรงขนสัตว์จนเงา 3. เครื่องเรือนประเภทพลาสติกและเครื่องเคลือบ ควรปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบ น้าบิดหมาด 4. เครื่องเรือนประเภทเครื่องเงิน ควรทาความสะอาดบ่อยๆโดยขัดด้วยน้ายาขัด เครื่องเงิน 5. เครื่องเรือนประเภททองเหลือง ควรทาความสะอาดด้วยน้ายาขัดทองเหลือง แล้วล้างด้วยน้าสะอาด เช็ดด้วยผ้าแห้ง 6. เครื่องเรือนประเภทเครื่องแก้วและกระจก ถ้าเป็นประเภทกระจกควรควรเช็ดถู ด้วยน้ายาเช็ดกระจก ถ้าเป็นเครื่องแก้วควรล้างด้วยน้าผงซักฟอกแล้วล้างให้ สะอาด เช็ดด้วยผ้าแห้ง
  • 38. 4. ความปลอดภัยในการทางานบ้าน 4.1ความปลอดภัยจากการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า 1. ก่อนการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้งควรอ่านคาแนะนาอย่างละเอียด 2. ควรตรวจดูสายไฟ ปลั๊กไฟ หากมีรอยชารุดต้องควรซ่อมแซมให้เรียบร้อยก็ นามาใช้งาน 3. ไม่ใช้มือเปียกน้าเสียบปลั๊กหรือดึกสายไฟ 4. ระวังอย่าให้สายไฟแช่น้า 5. อย่าให้สายไฟใกล้เตาไฟ 6. เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเสร็จแล้ว ต้องปิดสวิตช์และถอดปลั๊กให้เรียบร้อยทุก ครั้ง
  • 39. 4.2 ความปลอดภัยจกการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ 1. ศึกษาวิธีใช้อุปกรณ์ เครื่องมือก่อนใช้งานเพื่อให้เข้าใจและใช้ถูกวิธี 2. ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน 3. ควรใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการใช้งานอย่างระมัดระวัง 4. ควรเก็บอุปกรณ์ เครื่องมือที่เป็นของมีคนให้พ้นมือเด็ก 5. เมื่อปรุงอาหารประเภทเคี่ยวหรือตุ๋นโดยใช้หม้ออัดความดัน
  • 40. 4.3 ความปลอดภัยจากการใช้สารสารซักฟอกและเคมี 1. เมื่อใช้เสร็จแล้วรีบล้างมือ ล้างเท้าให้สะอาดทันที 2. หลีกเลี่ยงการใช้หรือการสัมผัสสารเคมี 3. เมื่อจาเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่มีสารเคมีจะต้องหาทางป้องกันตัวเอง 4. ควรเก็บให้มิดชิดและพ้นมือเด็ก 5. ให้เขียนชื่อบอกไว้ที่ข้างกล่องหรือข้างขวดเพื่อป้องกันการหยิบใช้พลาด
  • 41. 4.4ความปลอดภัยจากวิธีการทางาน 1. วางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ ขั้นตอน 2. เมื่อกวาดเพดานหรือปัดฝุ่น ควรมีผ้าปิดจมูก 3. เมื่อหยิบของหรือทาความสะอาดที่สูง ควรใช้บันไดหรือยืนบนโต๊ะแทน การเขย่ง 4. เมื่อถูพื้นหรือขัดห้องน้า ควรทาจากด้านในออกด้านนอก 5. ระมัดระวังและมีสมาธิในการทางาน 6. ไม่ควรทางานในขณะที่ร่างกายยังไม่พร้อม 7. ใช้เครื่องมือป้องกันให้เหมาะสมกับงาน 8. ไม่หักโหมทางานมากเกินไป งานที่ต้องออกแรงมาก 9. ลดมลภาวะที่เกิดจากการทางาน 10. ควรจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ
  • 42. 4.5 ความปลอดภัยจากการใช้บริเวณต่างๆฃองบ้าน 1. ควรให้ห้องและบริเวณต่างๆ มีแสงสว่างเพียงพอ 2. เมื่อมีน้าหรืออาหารหกลงบนพื้นครัว ให้รีบเช็ดให้สะอาด 3. พยายามให้พื้นห้องน้าแห้งอยู่เสมอ 4. ปิดแก๊ส ปิดก๊อกน้าหลังใช้งานทุกครั้ง
  • 43. 5. การจัดตกแต่งบ้านและบริเวณบ้าน 5.1 หลักในการจัดตกแต่งบ้าน 1. ความปลอดภัย ในการตกแต่งบ้านควรคานึงถึงความปลอดภัยของสมาชิกในบ้าน โดย การเลือกเครื่องตกแต่งบ้านที่ไม่มีมุมแหลม 2. ถูกสุขลักษณะและสะอาด ในการจัดตกแต่งบ้านจะต้องให้มีอากาศถ่ายเท ได้สะดวกไม่ วางสิ่งของปิดบังลมทิศทางลม และไม่มีแสงสว่างเพียงพอ 3. ความสะดวก ในการจัดตกแต่งบ้านควรคาถึงความสะดวกในการทากิจกรรมต่างๆ ของ บ้านให้สัมพันธ์กัน สามารถเดินไปเดินมา 4. ความสบาย การจัดตกแต่งบ้านให้มีความสบาย ควรจัดให้มีเครื่องป้องกันความจ้าของ แดด 5. ความมีระเบียบและความสวยงาม ในการจัดตกแต่งบ้านเครื่องเรือนควรมีความเป็น ระเบียบเรียบร้อย สิ่งของที่จัดวางถ้ามีมากเกินไปหรือจัดวางไม่เป็นระเบียบ 6. ความประหยัด ในการจัดตกแต่งบ้านควรคานึกถึงความประหยัดทั้งแรงงานและเงิน โดย พิจารณาเรื่องและเวลา ในการดูและรักษา
  • 44. 5.3การจัดตกแต่งบริเวณบ้าน บริเวณบ้านได้แก่ส่วนที่อยู่รอบๆ บ้าน ควร ดูแลตกแต่งให้สะอาด สวยงาม สดชื้น และปลอดภัย 1. สนามหญ้า ควรดูแลโดยหมั่นตัดอย่างสม่าเสมอ ควรดูแลหมั่นตัดหญ้า ให้สั้นเสมอ อย่างน้อยเดือนระ1 ครั้ง เพื่อให้เกิดความสวยงาม และ ปลอดภัย 2. บริเวณขอบสนาม อาจจะปลูกต้นไม้ อาจจะปลูกต้นไม้เช่น มะม่วง ชมพู่ ตะแบก เพื่อความร่มลื่น สวยงาม หรือจัดสวนหย่อม 3. ถนนเข้าสู่ตัวบ้าน ควรปลูกดอกไม้ไม้ประดับ เช่น เข็ม กุหลาบ บานชื้น ดาวเรือง เป็นต้น เพื่อความสวยงาม สดชื่น 4. ระเบียงหน้าบ้านหรือมุมบ้าน ควรจัดวางไม้กระถางประเภทไม้ปลูกร่ม เช่น พลูด่าง เขียวหมื่นปี วาสนา หรืออาจจะนาโมบายหรือไม้แควน แควนไว้ที่ ชายคา
  • 45. 5.2 การจัดตกแต่งห้องต่างๆ ภายในบ้านแต่ละหลังต่างๆมากมาย เช่น ห้องนอน ห้องครัว ห้องอาหาร ห้องรับแขก ห้องน้า เป็นต้น 1. การจัดตกแต่งห้องนอน ห้องนอนเป็นห้องส่วนตัวที่ให้ความรู้สึกสบายที่สุด ของ บ้าน ใช้ผ่อนคลายความเครียด 2. การจัดตกแต่งห้องครัว ห้องครัวเป็นห้องที่ใช้ประกอบอาหาร ควรจัดเหมาะสม กับการใช้สอย เพราะเป็นห้องที่ใช้เตรียมอาหาร 3. การจัดตกแต่งห้องอาหาร ห้องอาหารเป็นห้องที่รับประทานอาหาร บางบ้าน บาง บ้านอาจใช้เป็นที่ทากิจกรรม 4. การจัดตกแต่งห้องรับแขก ห้องรับแขกเป็นห้องสาหรับรับแขกที่มาเยี่ยมเยียนบ้าน หรือใช้เป็นที่พักผ่อน นั่งเล่น อ่านหนังสือ 5. การจัดตกแต่งห้องน้า ห้องน้าเป็นห้องที่มีความชื้นสูง จึงควรให้มีพัดลมผ่าน สะดวกเพื่อทาให้พื้นแห้งมีความสะอาด 6. การจัดตกแต่งห้องสุขา ห้องสุขาเป็นห้องที่มีความจาเป็น เพระทุกคนต้องใช้เป็น กิจวัตรประจาวัน ส่วนนอกเป็นห้องน้าส่วนในเป็นห้องสุขา
  • 46. จัดทาโดย นายสุทธิราช ภูโท เลขที่ 6 นายอานาจ แสนทวีสุข เลขที่ 7 นายอิศรา หงษาวัน เลขที่ 8 เลขที่ 8
  • 47. นางสาวกมลชนก ดอนสิงห์ เลขที่ 19 นางสาวนันทิชา ศรีระวัง เลขที่ 20 นางสาวศศิธร วงศ์คาเหลา เลขที่ 21
  • 48. นางสาวปิยธิดา วงค์เสนา เลขที่ 22 นางสาวภัทราภรณ์ จุดาสิงห์ เลขที่ 23 นางสาวสุภัสสรา มาลาจันทร์ เลขที่ 24
  • 50. จัดทาโดย 1. นายสุทธิราช ภูโท เลขที่ 6 2. นายอานาจ แสนทวีสุข เลขที่ 7 3. นายอิศรา หงษาวัน เลขที่ 8 4. นางสาวกมลชนก ดอนสิงห์ เลขที่ 19 5. นางสาวนันทิชา ศรีระวัง เลขที่ 20 6. นางสาวศศิธร วงศ์คาเหลา เลขที่ 21 7. นางสาวปิยธิดา วงค์เสนา เลขที่ 22 8. นางสาวภัทราภรณ์ จุดาสิงห์ เลขที่ 23 9. นางสาวสุภัสสรา มาลาจันทร์ เลขที่ 24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10