SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
รายงานโครงการ เห็ด : สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา
กลุ่ม พลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา
(ประเด็นศึกษา: ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น)
Discover Explore
Conserve Share
รายชื่อสมาชิก
1. นางสาวธนาพร โหรเวช ชั้น ม.3
2. นางสาวพัชรินทร์ ศรีวิเศษ ชั้น ม.3
3. นางสาวปาริฉัตร สวัสดิ์ผล ชั้น ม.3
4. นางสาวอริสรา วินิจบุตร ชั้น ม.3
5. นางสาวณัฐชา บัวสิงห์ ชั้น ม.3
6. นางสาวไพริน ทิพนัด ชั้น ม.3
7. นางสาวปีย์มนัส อัคเสริญ ชั้น ม.3
8. นางสาวจิราภรณ์ สดมพฤกษ์ ชั้น ม.3
9. เด็กหญิงวิไลลักษณ์ ศุภนัด ชั้น ม.2
10. เด็กหญิงปณิตา อาจสุนทร ชั้น ม.2
ครูที่ปรึกษาโครงการ : นางธีร์กัญญา พลนันท์ และนายศิริวุฒิ บัวสมาน
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานโครงการ เห็ด : สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา
กลุ่ม พลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา
(ประเด็นศึกษา: ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น)
รายชื่อสมาชิก
1. นางสาวธนาพร โหรเวช ชั้น ม.3
2. นางสาวพัชรินทร์ ศรีวิเศษ ชั้น ม.3
3. นางสาวปาริฉัตร สวัสดิ์ผล ชั้น ม.3
4. นางสาวอริสรา วินิจบุตร ชั้น ม.3
5. นางสาวณัฐชา บัวสิงห์ ชั้น ม.3
6. นางสาวไพริน ทิพนัด ชั้น ม.3
7. นางสาวปีย์มนัส อัคเสริญ ชั้น ม.3
8. นางสาวจิราภรณ์ สดมพฤกษ์ ชั้น ม.3
9. เด็กหญิงวิไลลักษณ์ ศุภนัด ชั้น ม.2
10. เด็กหญิงปณิตา อาจสุนทร ชั้น ม.2
ครูที่ปรึกษาโครงการ : นางธีร์กัญญา พลนันท์
นายศิริวุฒิ บัวสมาน
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
รายงาน เรื่อง “เห็ด : สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” (ประเด็นศึกษา: ความ
หลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น) นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลาย
ของเห็ด ความสัมพันธ์ของเห็ดในระบบนิเวศและวิถีชุมชนในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก
อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยนักสารวจกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา-
วิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ในโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่งปีที่ 6 ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและ
ระบบนิเวศเกษตร จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนของ
นักสารวจแห่งท้องทุ่ง ได้แก่ ขั้นค้นหา ขั้นสารวจ ขั้นอนุรักษ์ และขั้นแบ่งปัน
นักสารวจกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา ขอขอบพระคุณ ท่านสุรศักดิ์ ศรีละมนตรี ผู้อานวยการ
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่อนุญาตและอานวยความสะดวกในการศึกษา ขอขอบพระคุณ
คุณครูธีร์กัญญา พลนันท์ และคุณครูศิริวุฒิ บัวสมาน ซึ่งเป็นครูที่ปรึกษาให้คาแนะนาในการเรียนรู้เกี่ยวกับ
เห็ด คณะผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะคุณครูโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
ทุกท่าน ที่ให้กาลังใจในการสารวจ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตรที่ให้
การอบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางานนักสารวจอย่างสม่าเสมอ ขอขอบพระคุณ
นายกองค์การบริหารส่วนตาบลสวนจิก คุณทองรัก สุทธิบาก กานันตาบลสวนจิก และคุณจรูญ ศรีทอง
ผู้ใหญ่บ้านสวนจิก ที่อนุญาตให้เข้าศึกษาในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก ขอขอบพระคุณคุณ
ยายทองจันทร์ มงคลมะไฟ และคุณยายจงกล พันชวะนัส ที่แนะนาเกี่ยวกับเห็ด คุณตาสุข พันโภคา ที่
แนะนาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรแก้พิษเห็ด คุณพ่อเรือง วิลัยพิทย์ ที่แนะนาเกี่ยวกับชื่อของต้นไม้และ
ประโยชน์ ดร.ขวัญเรือน พาป้ อง และภัณฑารักษ์ (คุณบุษยา มูลศรีแก้ว) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม ที่อนุญาตให้เข้าเยี่ยมชมเรียนรู้ในพิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์ทางยา ผศ.ดร.อุทัยวรรณ แสงวณิช
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่แนะนาความรู้เกี่ยวกับเห็ดและตรวจแก้บทคัดย่อ ขอขอบพระคุณบรรณารักษ์
หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่อนุญาตให้เข้าสืบค้นหนังสือเกี่ยวกับเห็ด และขอขอบคุณทุกท่านที่
เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับเห็ดใน
ท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
คณะผู้จัดทา
1 ธันวาคม 2557
ก
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
1. บทคัดย่อโครงการ 1
2. ที่มาและความสาคัญ 1
3. วัตถุประสงค์ 2
4. พื้นที่ดาเนินโครงการ 2
5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน 2
6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ 3
7. สรุปผลการดาเนินงาน 6
บรรณานุกรม 9
ภาคผนวก 10
- ภาคผนวก ก ภาพกระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน 11-35
- ภาคผนวก ข อุปกรณ์/เครื่องมือ แบบบันทึก แบบสอบถามในการสารวจ 36-56
- ภาคผนวก ค ผลการสารวจ/ศึกษา บัญชีรายชื่อเห็ดที่สารวจพบ 57-107
- ภาคผนวก ง ตัวอย่างผลงานนักเรียน ความรู้สึก ความประทับใจ สิ่งที่ได้เรียนรู้ 108-126
- ภาคผนวก จ ตัวอย่างหนังสือราชการ 127-186
1.
ข
บทคัดย่อโครงการ เห็ด : สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา
โครงการ “เห็ด:สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” โดยกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายของเห็ด ความสัมพันธ์ของ
เห็ดในระบบนิเวศและวิถีชุมชนในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ ต.สวนจิก อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด 3 บริเวณ
คือ แปลงที่ 1 (ป่าดิบแล้ง) แปลงที่ 2 (ป่าเต็งรัง) และแปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) ในดอนปู่ตาฯ โดย
วางแปลงขนาด 1,600 ตารางเมตร โดยใช้กระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นค้นหา สารวจ
อนุรักษ์และแบ่งปัน จากการสารวจเห็ดตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 จานวน 7 ครั้ง
พบว่า
พบเห็ดทั้งสิ้น 30 วงศ์จานวน 167 ชนิด จาแนกชื่อได้103 ชนิด และจาแนกชื่อไม่ได้ 64 ชนิด วงศ์ที่
พบมากที่สุด คือ วงศ์ Agaricaceaeโดยเห็ดที่พบมากที่สุดคือ เห็ดโคนปลวกข้าวตอก เห็ดตะไคลหน้าเขียว
และเห็ดหน้าม่วง ตามลาดับ บริเวณที่พบเห็ดปริมาณมากที่สุด คือ แปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง)
(49.54%) แต่เห็ดกินได้จะพบในแปลงที่ 2 (ป่ าเต็งรัง) มากกว่าแปลงที่ 1 และ 3 (ป่ าดิบแล้ง) พบ
ความสัมพันธ์ของเห็ดในระบบนิเวศดอนปู่ ตาฯ 4 รูปแบบ คือ 1.)ย่อยสลาย/กินซากพืช (Saprophyte)
(62.88%) 2.)พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza) (20.36%) 3.) ปรสิต/ก่อโรค (Parasite)
(12.57%) 4.)พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับปลวก (Termite) (4.19%) พบเห็ดที่สามารถรับประทานได้จานวน
48 ชนิด เป็นยา 20 ชนิด และที่เหลือเป็นเห็ดพิษและไม่มีข้อมูล และพบความสัมพันธ์ของเห็ดกับวิถีชุมชน
โดยเห็ดเป็นแหล่งอาหาร ยาและแหล่งรายได้ของชาวบ้าน ซึ่งเห็ดที่ทารายได้มากที่สุด คือ เห็ดระโงกเหลือง
คิดเป็น 21.5% ของเห็ดทั้งหมด รายได้ในการเก็บเห็ดของชาวบ้านประมาณ 10,000-15,000 บาท/ปี เดือนที่มี
เห็ดเกิดมากที่สุด คือ สิงหาคม และเป็นฤดูฝน ส่วนปัจจัยที่ทาให้เกิดเห็ด คือ ต้องมีป่า มีต้นไม้, อุณหภูมิ,
สภาพอากาศ,ปริมาณน้าฝน, ความชื้นสัมพัทธ์, ความเข้มแสง, pH ของดิน, ความชื้นในดิน และเรือนยอด
ปกคลุมที่เหมาะสมกับการเกิดเห็ด และจากการทดลองปลูกกล้าไม้วงศ์ยางนากับดินที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลือง
เปรียบเทียบกับดินที่ไม่มีเชื้อเห็ด พบว่า ต้นกล้าไม้ที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลืองเจริญเติบโตได้ดีกว่า ลาต้นสูง
แข็งแรง ใบใหญ่และเขียวกว่าต้นกล้าที่ไม่ได้ใส่ดินเชื้อเห็ด ส่วนความคิดเห็นของชาวบ้านในการอนุรักษ์
เห็ด คือ ไม่เก็บเห็ดที่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ช่วยกันอนุรักษ์ป่าไม้ ต้นไม้ ปลูกต้นไม้ที่ทาให้เกิดเห็ด เช่น ยาง
นา เพื่อให้ลูกหลานได้มีเห็ดกินในอนาคต
2. ที่มาและความสาคัญ :
จากการที่กลุ่มของพวกเราได้ตั้งกลุ่มเยาวชนขึ้นมาชื่อว่า “พลพรรครักษ์ดอนปู่ตา” ได้ร่วมกันศึกษา
เรื่อง “ดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่ าชุมชน” ได้ศึกษาเรียนรู้ความเชื่อ พิธีกรรมและภูมิปัญญา
ชาวบ้านในการอนุรักษ์ป่าชุมชน และได้ศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเบื้องต้นในดอนปู่ตา พบว่า มี
1
สิ่งมีชีวิตมากมายหลายชนิด เช่น ต้นไม้ นก แมลงและเห็ด อันเป็นผลมาจากภูมิปัญญาของชาวบ้านในการ
อนุรักษ์ดอนปู่ตาแห่งนี้เอาไว้
ดังนั้น กลุ่มของพวกเราจึงต้องการศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในดอนปู่ตา โดยเจาะลึก
เฉพาะเห็ด ความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากเห็ดในป่าดอนปู่ตาของชาวบ้าน
3. วัตถุประสงค์ :
1) เพื่อศึกษาความหลากหลายของเห็ดในป่าดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอ
ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของเห็ดในระบบนิเวศและความสัมพันธ์ของเห็ดกับวิถีชุมชนใน
ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
3) เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์เห็ด ต้นไม้และทรัพยากร
ธรรมชาติในท้องถิ่น
4. พื้นที่ดาเนินโครงการ :
ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน (ก.ค.-พ.ย. 2557) :
ตารางที่ 1.1 แผนการดาเนินงาน 5 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
1.ประชุมหาประเด็นและวางแผนการทาโครงการ
2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดใน Internet
พิพิธภัณฑ์เห็ดฯ หนังสือในห้องอสมุด และปราชญ์ชาวบ้าน
3. เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ แบบบันทึกการสารวจเห็ด
4.ลงพื้นที่สารวจเบื้องต้นและวางแปลงสารวจ
5. ลงพื้นที่สารวจ บันทึกข้อมูล เก็บตัวอย่างเห็ด จาแนกชนิด ดอง
และอบแห้ง และสรุปผลการสารวจ
6. เรียนรู้เกี่ยวกับเห็ดในป่าดอนปูตาฯกับปราชญ์ชาวบ้าน
7. เรียนรู้เกี่ยวกับต้นไม้ในป่าดอนปูตาฯกับปราชญ์ชาวบ้าน
8.สอบถามชาวบ้านเกี่ยวกับเห็ดโดยใช้แบบสอบถาม
9. ทดลองปลูกกล้าไม้วงศ์ยางนากับดินที่มีเชื้อเห็ด
2
ตารางที่ 1.1 แผนการดาเนินงาน 5 เดือน (ต่อ)
รายละเอียดกิจกรรม (ต่อ) ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
10. ประชุมสรุปผลการสารวจและผลการศึกษาทั้งหมด
11. จัดตั้งพิพิธภัณฑ์เห็ดโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
12. ประชุมโครงการเพื่อทาการอนุรักษ์และแบ่งปัน
13. จัดทาป้ายอนุรักษ์
14.จัดโครงการ “ผ้าป่าต้นไม้สายธารแห่งเมล็ดพันธ์ร่วมใจกัน
บวชป่า ครั้งที่ 2” เพื่อการอนุรักษ์เห็ดและต้นไม้
15.นาป้ายอนุรักษ์ป่าและเห็ดไปติดภายในดอนปู่ตาและโรงเรียน
16. จัดทาสมุดเล่มเล็ก,แต่งเพลง,สรภัญญะ, เว็บเพจ
17. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดในโรงเรียนและชุมชน
18. มอบหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กให้โรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง
19. ประชุมสรุปโครงการ
20. จัดทารายงานและรูปเล่มโครงการและส่งมอบให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง
6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ :
ขั้นที่ 1 การค้นหา
1.1 การค้นหาประเด็น
1.1.1 หาประเด็นที่น่าสนใจในดอนปู่ตา โดยสอบถามสมาชิกในกลุ่ม และคุณครูที่ปรึกษาว่า
ต้องการศึกษาเกี่ยวกับอะไรในดอนปู่ตา (เห็ด)
1.1.2 เดินทางเข้าไปในพื้นที่ชุมชน/หมู่บ้านและดอนปู่ตา เพื่อสารวจและสอบถามชาวบ้าน
อย่างคร่าวๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและเห็ดที่มีในดอนปู่ตาและการใช้ประโยชน์จากป่าในดอนปู่ตาของชาวบ้าน
1.1.3 ประชุมสมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเห็นเพื่อคัดเลือกพื้นที่เป้ าหมายและประเด็นที่
เหมาะสมในการศึกษาอีกครั้งว่ามีอะไรบ้างที่น่าสนใจ น่าสารวจและเรียนรู้มากที่สุด
1.2 การเจาะลึกประเด็น
1.2.1 สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดใน Internet แล้วนาเสนอเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มเรียนรู้
1.2.2 เดินทางไปชมและเรียนรู้เกี่ยวกับเห็ดที่พิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์ทางยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
3
1.2.3 เดินทางไปสืบค้นหนังสือและข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดที่หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1.2.4 เดินทางเข้าไปในพื้นที่ชุมชน/หมู่บ้านสวนจิกและบ้านสนามชัย เพื่อสารวจและสอบถามชาวบ้าน
อย่างคร่าวๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและเห็ดที่มีในดอนปู่ตาและการใช้ประโยชน์จากป่าในดอนปู่ตาของชาวบ้าน
1.2.5 ลงพื้นที่จริง เพื่อสารวจเกี่ยวกับป่าและเห็ดอย่างคร่าวๆ และเพื่อหาพื้นที่เตรียมวางแปลงสารวจเห็ด
ณ ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
ขั้นที่ 2 การสารวจ
2.1 การวางแผนก่อนดาเนินการสารวจ
2.1.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตาและครูที่ปรึกษา เพื่อวางแผนการสารวจ
พื้นที่เป้ าหมาย ทั้งขั้นตอน วิธีการสารวจ กาหนดการสารวจภาคสนาม ตลอดจนการแบ่งหน้าที่ในการทางาน
2.1.2 ครูที่ปรึกษาเชิญวิทยากรท้องถิ่นอบรมสมาชิกในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตาและผู้ที่
สนใจเกี่ยวกับวิธีการสารวจความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะเห็ดในป่าดอนปู่ตา และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การสืบค้นข้อมูล ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บตัวอย่าง วิธีการถ่ายภาพ วิธีการสัมภาษณ์
วิธีการศึกษา ภูมิปัญญาจากปราชญ์ชาวบ้าน การบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงาน การ
นาเสนอข้อมูล เป็นต้น
2.1.3 ส่งหนังสือขออนุญาตองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กานันและผู้ใหญ่บ้าน/ผู้นาชุมชน/
คณะกรรมการหมู่บ้านที่ดูแลรับผิดชอบดอนปู่ตา เพื่อขอเข้าสารวจป่าดอนปู่ตาและการสัมภาษณ์ชาวบ้าน
2.1.4 เดินทางไปชมและเรียนรู้เกี่ยวกับเห็ดที่พิพิธภัณฑ์เห็ด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม
2.1.5 ร่วมกันเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือในการสารวจ ทาความเข้าใจวิธีการสารวจ และ
ออกแบบแบบบันทึกข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสารวจเห็ด เป็นต้น
2.2 ลงมือสารวจ
2.2.1 ลงพื้นที่วัดพื้นที่ในการสารวจโดยแบ่งเป็น 3 แปลง (แปลงที่ 1 ป่าดิบแล้ง แปลงที่ 2 ป่า
เต็งรัง พื้นที่แปลงละ 40 x 40 ม. = 1,600 ตร.ม. แปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) พื้นที่ 10x160 ม. =1,600
ตร.ม.)
2.2.2 ลงพื้นที่สารวจเห็ดในดอนปู่ตาฯ แปลงที่ 1-3 พร้อมบันทึกข้อมูลเห็ด เก็บตัวอย่างเห็ดและวัด
ความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง,อุณหภูมิ, พิกัดภูมิศาสตร์, สภาพอากาศ, ความชื้นสัมพัทธ์, ความเข้มแสง,
pH ของดิน,ความชื้นในดิน, เรือนยอดปกคลุม ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2557 จานวน 7 ครั้ง
( 6 กรกฎาคม 2557, 13 กรกฎาคม 2557, 20 กรกฎาคม 2557, 3 สิงหาคม 2557, 17 สิงหาคม 2557, 7 กันยายน 2557, 7 ตุลาคม 2557)
2.2.3 ศึกษาตาแหน่งกาเนิดสปอร์ของเห็ดและพิมพ์สปอร์เพื่อจาแนกกลุ่มเห็ด
4
2.2.4 บันทึกข้อมูลเห็ดเพิ่มเติมจากภาคสนาม จาแนกและระบุชื่อเห็ดโดยใช้รูปวิธาน (key)
และหนังสืออ้างอิง
2.2.5 เก็บรักษาตัวอย่างเห็ดโดยวิธีการดองและอบแห้ง พร้อมเขียนป้ ายชื่อและระบุข้อมูลเห็ด
2.2.6 ศึกษาและเรียนรู้วิธีการเก็บเห็ดและชนิดเห็ดในดอนปู่ตาฯ จากปราชญ์ชาวบ้าน
(แม่ทองจันทร์ มงคลมะไฟ และแม่จงกล พันชะวนัส)
2.2.7 เรียนรู้เกี่ยวกับต้นไม้ในแปลงสารวจเห็ดกับปราชญ์ชาวบ้าน (พ่อเรือง วิลัยพิทย์)
2.2.8 สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับเห็ดและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตาฯ กับวิถีชุมชน
ของชาวบ้านสวนจิก-บ้านสนามชัย ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
2.2.9 ทดลองปลูกกล้าไม้วงศ์ยางนากับดินที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลืองเปรียบเทียบกับดินที่ไม่มี
เชื้อเห็ด
2.3 การสรุปผลข้อมูล
2.3.1 ประชุมสรุปผลการเรียนรู้ทั้งหมดในขั้นสารวจ นาข้อมูลจากการสารวจมาวิเคราะห์
สังเคราะห์ และสรุปผลและเตรียมวางแผนการทางานขั้นอนุรักษ์
ขั้นที่ 3 การอนุรักษ์
3.1 อนุรักษ์เห็ดในป่าดอนปู่ตาโดยจัดกิจกรรมในโครงการ “ผ้าป่ าต้นไม้สายธารแห่งเมล็ดพันธุ์ร่วม
ใจกันบวชป่ า ครั้งที่ 2 ” เพื่อเป็นการสร้างจิตสานึกและจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ดอนปู่ตา ต้นไม้และ
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เพื่อเป็นการบูรณาการการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมร่วมกันระหว่างหมู่บ้าน วัด และ
โรงเรียน (บวร) และเป็นการสร้างนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาชุมชนด้านการดูแลรักษา
3.2 จัดทาป้ายอนุรักษ์เห็ดและต้นไม้ไปติดรอบดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก
3.3 นาเชื้อเห็ดกินได้เช่น เห็ดระโงกเหลือง เห็ดตะไคล ไปโปรยบริเวณโคนต้นไม้วงศ์ยางนา เช่น เต็ง
ยางเหียง ในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก
3.4 นาป้ ายอนุรักษ์เห็ดและต้นไม้ไปติดรอบๆ บริเวณป่าไม้ที่มีเห็ดกินได้เกิด ภายในโรงเรียน
ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
3.5 จัดตั้งพิพิธภัณฑ์เห็ดโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาให้นักเรียน ครู และผู้สนใจได้ศึกษา
3.6 ส่งหนังสือขอบคุณหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการศึกษาครั้งนี้
ขั้นที่ 4 การแบ่งปัน
4.1 รายงานผลการดาเนินโครงการในกิจกรรมหน้าเสาธงแก่นักเรียน ครู และผู้บริหาร
4.2 จัดรายการเสียงตามสาย ณ ห้องประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน ในตอนพักกลางวัน
5
4.3 การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. และกลุ่ม
พลพรรครักษ์ดอนปู่ตา
4.4 จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับเห็ดให้ผู้สนใจอ่านในห้องสมุดโรงเรียน
4.5 มอบหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับเห็ดให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน อ.บ.ต. และห้องสมุด
โรงเรียนใกล้เคียง
4.6 นาเสนอข้อมูลการศึกษาเกี่ยวกับเห็ดโดยจัดทา website หรือ Blog “เห็ด: สุดยอดผู้ย่อยสลายสาย
สัมพันธ์ในดอนปู่ตา”
4.7 มอบใบความรู้เรื่อง “แนวทางการปลูกเห็ดร่วมกับไม้ยืนต้น” ให้แก่ครู ชาวบ้านและผู้สนใจ
4.8 แต่งบทเพลงและสรภัญญะเกี่ยวกับการอนุรักษ์เห็ดและป่าดอนปู่ตา
4.9 จัดทาโปสเตอร์ แผ่นพับ (แจกฟรี) สาหรับให้นักเรียน ครู-อาจารย์ ชาวบ้านและผู้สนใจทั่วไป
ได้ศึกษา โดยนาไปติดไว้ที่ป้ายนิเทศของโรงเรียน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน สถานที่ราชการ เป็นต้น
4.10 การจัดบอร์ดนิทรรศการเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทาและสิ่งที่ได้ค้นพบทั้งในโรงเรียนและชุมชน
4.11 เขียนรายงานพร้อมเข้ารูปเล่มให้สวยงามส่งมอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ
“ค้นหา สารวจ อนุรักษ์ และแบ่งปัน เพื่อให้รับรู้ เห็นความสาคัญ ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์
เพื่อให้ช่วยกันอนุรักษ์เห็ดและสิ่งมีชีวิตในป่าดอนปู่ตาให้คงอยู่คู่ผืนแผ่นดิน ชุมชนและลูกหลานตลอดไป”
7. สรุปผลการดาเนินงาน :
โครงการ “เห็ด:สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” โดยกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายของเห็ด ความสัมพันธ์ของ
เห็ดในระบบนิเวศและวิถีชุมชนในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ ต.สวนจิก อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด 3 บริเวณ
คือ แปลงที่ 1 (ป่าดิบแล้ง) แปลงที่ 2 (ป่าเต็งรัง) และแปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) ในดอนปู่ตาฯ โดย
วางแปลงขนาด 1,600 ตารางเมตร โดยใช้กระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นค้นหา สารวจ
อนุรักษ์และแบ่งปัน จากการสารวจเห็ดตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 จานวน 7 ครั้ง
พบว่า
พบเห็ดทั้งสิ้น 30 วงศ์ จานวน 167 ชนิด จาแนกชื่อได้ 103 ชนิด(61.68%) และจาแนกชื่อไม่ได้ 64
ชนิด(38.32%) วงศ์ที่พบมากที่สุด คือ วงศ์ Agaricaceae (74.85%) โดยเห็ดที่พบมากที่สุดคือ เห็ดโคนปลวก
ข้าวตอก เห็ดตะไคลหน้าเขียว และเห็ดหน้าม่วง ตามลาดับ บริเวณที่พบเห็ดปริมาณมากที่สุด คือ แปลงที่ 3
เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) (49.54%) แต่เห็ดกินได้จะพบในแปลงที่ 2 (ป่าเต็งรัง) มากกว่าแปลงที่ 1 และ 3
6
(ป่าดิบแล้ง) เห็ดกินได้ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Russulaceae และวงศ์ Amanitaceae พบความสัมพันธ์ของเห็ดใน
ระบบนิเวศดอนปู่ตาฯ 4 รูปแบบ คือ 1)ย่อยสลาย/กินซากพืช (Decomposer/Saprophytic mushroom)
(62.88%) 2)พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhizal mushroom) (20.36%) 3) ปรสิต/ก่อโรค
(Parasitic mushroom) (12.57%) 4.)พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับปลวก (Termite mushroom) (4.19%) พบ
เห็ดที่สามารถรับประทานได้จานวน 48 ชนิด (28.74%) เป็นยา 20 ชนิด (11.98%) เห็ดพิษ 9 ชนิด (5.39%)
และไม่มีข้อมูล 90 ชนิด (53.89%) แหล่งอาศัยของเห็ดที่พบบนพื้นดิน 96 ชนิด (57.48%) ขอนไม้หรือกิ่งไม้
ผุ 31 ชนิด (18.56%) เปลือกต้นไม้ 23 ชนิด (13.77%) ใบไม้ผุ 9 ชนิด (5.39%) ใต้ดิน 3 ชนิด (1.80%)
ตอไม้3 ชนิด (1.80%) เถาวัลย์ที่มีชีวิต 1 ชนิด (0.60%) และบนเมล็ดพืช 1 ชนิด (0.60%) พบการเจริญของ
ดอกเห็ดแบบเดี่ยว/กลุ่ม 76 ชนิด (45.51%) เดี่ยว 57 ชนิด (34.13%) กลุ่ม 14 ชนิด (8.38%)
ราบไปกับท่อนไม้8 ชนิด (4.79%) เดี่ยว/กระจุก 7 ชนิด (4.19%) กระจุก 2 ชนิด (1.20%) ราบไปกับพื้นดิน
2 ชนิด (1.20%) และกลุ่ม/กระจุก 1 ชนิด (0.60%) เดือนที่สารวจพบชนิดเห็ดมากที่สุดคือ เดือนสิงหาคม
มีการเก็บตัวอย่างโดยวิธีการดอง 37 ชนิด อบแห้ง 32 ชนิด ดองและอบแห้ง 13 ชนิด (บัญชีรายชื่อเห็ดและ
ผลการศึกษาทั้งหมดดูในภาคผนวก ค) พบความสัมพันธ์ของเห็ดกับต้นไม้หลายชนิด เช่น เห็ดเพ็ก มักจะ
เกิดบริเวณที่มีไผ่เพ็กขึ้นเท่านั้น ต้นยางเหียง (ซาด)และต้นเต็ง(จิก) มักพบเห็ดกินได้หลายชนิด เช่น เห็ดไคล
หน้าเขียว เห็ดหน้าม่วง เห็ดก่อแดง เป็นต้น และพบความสัมพันธ์ของเห็ดกับวิถีชุมชน โดยเห็ดเป็นแหล่ง
อาหาร ยาและแหล่งรายได้ของชาวบ้าน ซึ่งเห็ดที่ทารายได้มากที่สุด คือ เห็ดระโงกเหลือง คิดเป็น 21.5%
ของเห็ดทั้งหมด รายได้ในการเก็บเห็ดของชาวบ้านประมาณ 10,000-15,000 บาท/ปี เดือนที่มีเห็ดเกิดมาก
ที่สุด คือ สิงหาคม และเป็นฤดูฝน ส่วนปัจจัยที่ทาให้เกิดเห็ด คือ ต้องมีป่า มีต้นไม้, อุณหภูมิ, สภาพอากาศ,
ปริมาณน้าฝน, ความชื้นสัมพัทธ์, ความเข้มแสง, pH ของดิน, ความชื้นในดิน และเรือนยอดปกคลุมที่
เหมาะสมกับการเกิดเห็ด และจากการทดลองปลูกกล้าไม้วงศ์ยางนากับดินที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลือง
เปรียบเทียบกับดินที่ไม่มีเชื้อเห็ด พบว่า ต้นกล้าไม้ที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลืองเจริญเติบโตได้ดีกว่า ลาต้นสูง
แข็งแรง ใบใหญ่และเขียวกว่าต้นกล้าที่ไม่ได้ใส่ดินเชื้อเห็ด ส่วนความคิดเห็นของชาวบ้านในการอนุรักษ์
เห็ด คือ ไม่เก็บเห็ดที่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ช่วยกันอนุรักษ์ป่าไม้ ต้นไม้ ปลูกต้นไม้ที่ทาให้เกิดเห็ด เช่น ยาง
นา เพื่อให้ลูกหลานได้มีเห็ดกินในอนาคต
สาหรับการอนุรักษ์ ได้จัดทาการอนุรักษ์เห็ดในป่าดอนปู่ตาโดยจัดกิจกรรมในโครงการ “ผ้าป่ า
ต้นไม้สายธารแห่งเมล็ดพันธุ์ร่วมใจกันบวชป่ า ครั้งที่ 2 ” เพื่อเป็นการสร้างจิตสานึกและจิตสาธารณะในการ
อนุรักษ์ดอนปู่ ตา เห็ด ต้นไม้และทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เพื่อเป็นการบูรณาการการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมร่วมกันระหว่างหมู่บ้าน วัด และโรงเรียน (บวร) และเป็นการสร้างนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนา
ชุมชนด้านการดูแลรักษาทรัพยากรในท้องถิ่น โดยได้รับเงินบริจาคทั้งสิ้น 4,222 บาท มีการปลูกต้นไม้
จานวน 523 ต้น บวชต้นไม้ จานวน 109 ต้น ติดป้ ายอนุรักษ์ต้นไม้ จานวน 12 ป้ าย มีผู้เข้าร่วมโครงการ
7
ประมาณ 150 คน และพระสงฆ์ 9 รูป (อาทิเช่น เจ้าคณะตาบลสวนจิก พระสงฆ์วัดบ้านสวนจิก และหมู่บ้าน
ใกล้เคียง) และมีการจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์เห็ดโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาไว้ให้ผู้สนใจได้ศึกษา
สาหรับการแบ่งปัน ได้จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็ก จานวน 10 เรื่อง ได้แก่ เรื่องเพื่อนเห็ด 3 สหาย
ต่างดาวกับเห็ดอีสาน หมู่บ้านผู้พิทักษ์เห็ด เห็ด1 เห็ดน้อยในป่าใหญ่1 เห็ดน้อยในป่าใหญ่2 เรื่องเห็ด เห็ด
ความรู้เกี่ยวกับเห็ด เห็ด2 แล้วนาไปมอบให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน อ.บ.ต. และห้องสมุดโรงเรียน
ใกล้เคียง ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น face book และมีการแต่งเพลง เห็ดป่าดอนปู่ตา
สรภัญญะเห็ดอีกด้วย
8
บรรณานุกรม
การ์ดเนอร์ ไซมอน และคณะ. คู่มือศึกษาพรรณไม้ยืนต้นในป่ าภาคเหนือ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ:
โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2543. 560 หน้า.
นิวัฒ เสนาะเมือง. เห็ดป่ าเมืองไทย: ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์. กรุงเทพฯ: ยูนิเวอร์แซล
กราฟฟิค แอนด์ เทรดดิ้ง, 2553, 424 หน้า.
ราชบัญฑิตยสถาน.เห็ดในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2550. 272 หน้า.
วินัย กลิ่นหอม และอุษา กลิ่นหอม. 57 เห็ดเป็นยาแห่งป่ าอีสาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสุขภาพไทย, 2548. 156 หน้า.
วิโรจน์ เกสรบัว และประนอม จันทรโณทัย. พรรณไม้โคกภูตากา. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา,
2554, 131 หน้า.
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. ร่วมอนุรักษ์มรดกไทย สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย. กรุงเทพฯ:
โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2540. 622 หน้า.
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. เห็ดและราในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล,
2544. 268 หน้า.
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. เห็ดในป่ าสะแกราช. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์,
2550. 153 หน้า.
สานักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้กรมป่าไม้.คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองของชุมชนด้านความ
หลากหลายทางชีวภาพ “ด้านเห็ดรา”.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,
2553. 34 หน้า.
สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงานการประชุม เรื่อง การจัดทาทะเบียน
รายการชนิดเห็ดในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท, 2552. 69 หน้า.
อนงค์ จันทร์ศรีกุล. เห็ดเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 6 . กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2541. 161 หน้า
อนงค์ จันทร์ศรีกุล และคณะ. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551. 514 หน้า.
อุทัยวรรณ แสงวณิช. การศึกษาเห็ดในธรรมชาติ. กรุงเทพฯ : บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จากัด,
2550. 37 หน้า.
อุษา กลิ่นหอม และวินัย กลิ่นหอม. ความหลากหลายของกลุ่มเห็ดผึ้งในภาคอีสาน. มหาสารคาม :
อภิชาตการพิมพ์, 2550. 144 หน้า.
9
ภาคผนวก

More Related Content

What's hot

1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชWeeraphon Parawach
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333PakananKhlibthong
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1Nong Max Z Kamilia
 

What's hot (20)

โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
932 pre10
932 pre10932 pre10
932 pre10
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืช
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
Intro bio m5_61
Intro bio m5_61Intro bio m5_61
Intro bio m5_61
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 

Similar to รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1

รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพวSircom Smarnbua
 
Herbarium g8 825 starfruit
Herbarium g8 825 starfruitHerbarium g8 825 starfruit
Herbarium g8 825 starfruitJinjuthaSaeung
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5Tewit Chotchang
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันPawitporn Piromruk
 
ช มชนสะอาด ธรรมชาต หน_าอย__
ช มชนสะอาด ธรรมชาต หน_าอย__ช มชนสะอาด ธรรมชาต หน_าอย__
ช มชนสะอาด ธรรมชาต หน_าอย__Kashima Seto
 
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒ARTery69
 

Similar to รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1 (20)

รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
Herbarium g8 825
Herbarium g8 825Herbarium g8 825
Herbarium g8 825
 
Herbarium g8 825 starfruit
Herbarium g8 825 starfruitHerbarium g8 825 starfruit
Herbarium g8 825 starfruit
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
833 group3
833 group3833 group3
833 group3
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
932 pre9
932 pre9932 pre9
932 pre9
 
S2
S2S2
S2
 
work lansai 56
work lansai 56work lansai 56
work lansai 56
 
342 pre6(1)
342 pre6(1)342 pre6(1)
342 pre6(1)
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
 
931 pre7
931 pre7931 pre7
931 pre7
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ช มชนสะอาด ธรรมชาต หน_าอย__
ช มชนสะอาด ธรรมชาต หน_าอย__ช มชนสะอาด ธรรมชาต หน_าอย__
ช มชนสะอาด ธรรมชาต หน_าอย__
 
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
 

More from Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกดSircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อSircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือSircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอนSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558Sircom Smarnbua
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558Sircom Smarnbua
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
 

รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1

  • 1. รายงานโครงการ เห็ด : สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา กลุ่ม พลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา (ประเด็นศึกษา: ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น) Discover Explore Conserve Share รายชื่อสมาชิก 1. นางสาวธนาพร โหรเวช ชั้น ม.3 2. นางสาวพัชรินทร์ ศรีวิเศษ ชั้น ม.3 3. นางสาวปาริฉัตร สวัสดิ์ผล ชั้น ม.3 4. นางสาวอริสรา วินิจบุตร ชั้น ม.3 5. นางสาวณัฐชา บัวสิงห์ ชั้น ม.3 6. นางสาวไพริน ทิพนัด ชั้น ม.3 7. นางสาวปีย์มนัส อัคเสริญ ชั้น ม.3 8. นางสาวจิราภรณ์ สดมพฤกษ์ ชั้น ม.3 9. เด็กหญิงวิไลลักษณ์ ศุภนัด ชั้น ม.2 10. เด็กหญิงปณิตา อาจสุนทร ชั้น ม.2 ครูที่ปรึกษาโครงการ : นางธีร์กัญญา พลนันท์ และนายศิริวุฒิ บัวสมาน โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. รายงานโครงการ เห็ด : สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา กลุ่ม พลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา (ประเด็นศึกษา: ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น) รายชื่อสมาชิก 1. นางสาวธนาพร โหรเวช ชั้น ม.3 2. นางสาวพัชรินทร์ ศรีวิเศษ ชั้น ม.3 3. นางสาวปาริฉัตร สวัสดิ์ผล ชั้น ม.3 4. นางสาวอริสรา วินิจบุตร ชั้น ม.3 5. นางสาวณัฐชา บัวสิงห์ ชั้น ม.3 6. นางสาวไพริน ทิพนัด ชั้น ม.3 7. นางสาวปีย์มนัส อัคเสริญ ชั้น ม.3 8. นางสาวจิราภรณ์ สดมพฤกษ์ ชั้น ม.3 9. เด็กหญิงวิไลลักษณ์ ศุภนัด ชั้น ม.2 10. เด็กหญิงปณิตา อาจสุนทร ชั้น ม.2 ครูที่ปรึกษาโครงการ : นางธีร์กัญญา พลนันท์ นายศิริวุฒิ บัวสมาน โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. คานา รายงาน เรื่อง “เห็ด : สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” (ประเด็นศึกษา: ความ หลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น) นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลาย ของเห็ด ความสัมพันธ์ของเห็ดในระบบนิเวศและวิถีชุมชนในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยนักสารวจกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา- วิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ในโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่งปีที่ 6 ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและ ระบบนิเวศเกษตร จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนของ นักสารวจแห่งท้องทุ่ง ได้แก่ ขั้นค้นหา ขั้นสารวจ ขั้นอนุรักษ์ และขั้นแบ่งปัน นักสารวจกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา ขอขอบพระคุณ ท่านสุรศักดิ์ ศรีละมนตรี ผู้อานวยการ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่อนุญาตและอานวยความสะดวกในการศึกษา ขอขอบพระคุณ คุณครูธีร์กัญญา พลนันท์ และคุณครูศิริวุฒิ บัวสมาน ซึ่งเป็นครูที่ปรึกษาให้คาแนะนาในการเรียนรู้เกี่ยวกับ เห็ด คณะผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะคุณครูโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ทุกท่าน ที่ให้กาลังใจในการสารวจ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตรที่ให้ การอบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางานนักสารวจอย่างสม่าเสมอ ขอขอบพระคุณ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลสวนจิก คุณทองรัก สุทธิบาก กานันตาบลสวนจิก และคุณจรูญ ศรีทอง ผู้ใหญ่บ้านสวนจิก ที่อนุญาตให้เข้าศึกษาในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก ขอขอบพระคุณคุณ ยายทองจันทร์ มงคลมะไฟ และคุณยายจงกล พันชวะนัส ที่แนะนาเกี่ยวกับเห็ด คุณตาสุข พันโภคา ที่ แนะนาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรแก้พิษเห็ด คุณพ่อเรือง วิลัยพิทย์ ที่แนะนาเกี่ยวกับชื่อของต้นไม้และ ประโยชน์ ดร.ขวัญเรือน พาป้ อง และภัณฑารักษ์ (คุณบุษยา มูลศรีแก้ว) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ที่อนุญาตให้เข้าเยี่ยมชมเรียนรู้ในพิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์ทางยา ผศ.ดร.อุทัยวรรณ แสงวณิช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่แนะนาความรู้เกี่ยวกับเห็ดและตรวจแก้บทคัดย่อ ขอขอบพระคุณบรรณารักษ์ หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่อนุญาตให้เข้าสืบค้นหนังสือเกี่ยวกับเห็ด และขอขอบคุณทุกท่านที่ เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับเห็ดใน ท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น คณะผู้จัดทา 1 ธันวาคม 2557 ก
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข 1. บทคัดย่อโครงการ 1 2. ที่มาและความสาคัญ 1 3. วัตถุประสงค์ 2 4. พื้นที่ดาเนินโครงการ 2 5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน 2 6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ 3 7. สรุปผลการดาเนินงาน 6 บรรณานุกรม 9 ภาคผนวก 10 - ภาคผนวก ก ภาพกระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน 11-35 - ภาคผนวก ข อุปกรณ์/เครื่องมือ แบบบันทึก แบบสอบถามในการสารวจ 36-56 - ภาคผนวก ค ผลการสารวจ/ศึกษา บัญชีรายชื่อเห็ดที่สารวจพบ 57-107 - ภาคผนวก ง ตัวอย่างผลงานนักเรียน ความรู้สึก ความประทับใจ สิ่งที่ได้เรียนรู้ 108-126 - ภาคผนวก จ ตัวอย่างหนังสือราชการ 127-186 1. ข
  • 5. บทคัดย่อโครงการ เห็ด : สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา โครงการ “เห็ด:สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” โดยกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายของเห็ด ความสัมพันธ์ของ เห็ดในระบบนิเวศและวิถีชุมชนในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ ต.สวนจิก อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด 3 บริเวณ คือ แปลงที่ 1 (ป่าดิบแล้ง) แปลงที่ 2 (ป่าเต็งรัง) และแปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) ในดอนปู่ตาฯ โดย วางแปลงขนาด 1,600 ตารางเมตร โดยใช้กระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นค้นหา สารวจ อนุรักษ์และแบ่งปัน จากการสารวจเห็ดตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 จานวน 7 ครั้ง พบว่า พบเห็ดทั้งสิ้น 30 วงศ์จานวน 167 ชนิด จาแนกชื่อได้103 ชนิด และจาแนกชื่อไม่ได้ 64 ชนิด วงศ์ที่ พบมากที่สุด คือ วงศ์ Agaricaceaeโดยเห็ดที่พบมากที่สุดคือ เห็ดโคนปลวกข้าวตอก เห็ดตะไคลหน้าเขียว และเห็ดหน้าม่วง ตามลาดับ บริเวณที่พบเห็ดปริมาณมากที่สุด คือ แปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) (49.54%) แต่เห็ดกินได้จะพบในแปลงที่ 2 (ป่ าเต็งรัง) มากกว่าแปลงที่ 1 และ 3 (ป่ าดิบแล้ง) พบ ความสัมพันธ์ของเห็ดในระบบนิเวศดอนปู่ ตาฯ 4 รูปแบบ คือ 1.)ย่อยสลาย/กินซากพืช (Saprophyte) (62.88%) 2.)พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza) (20.36%) 3.) ปรสิต/ก่อโรค (Parasite) (12.57%) 4.)พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับปลวก (Termite) (4.19%) พบเห็ดที่สามารถรับประทานได้จานวน 48 ชนิด เป็นยา 20 ชนิด และที่เหลือเป็นเห็ดพิษและไม่มีข้อมูล และพบความสัมพันธ์ของเห็ดกับวิถีชุมชน โดยเห็ดเป็นแหล่งอาหาร ยาและแหล่งรายได้ของชาวบ้าน ซึ่งเห็ดที่ทารายได้มากที่สุด คือ เห็ดระโงกเหลือง คิดเป็น 21.5% ของเห็ดทั้งหมด รายได้ในการเก็บเห็ดของชาวบ้านประมาณ 10,000-15,000 บาท/ปี เดือนที่มี เห็ดเกิดมากที่สุด คือ สิงหาคม และเป็นฤดูฝน ส่วนปัจจัยที่ทาให้เกิดเห็ด คือ ต้องมีป่า มีต้นไม้, อุณหภูมิ, สภาพอากาศ,ปริมาณน้าฝน, ความชื้นสัมพัทธ์, ความเข้มแสง, pH ของดิน, ความชื้นในดิน และเรือนยอด ปกคลุมที่เหมาะสมกับการเกิดเห็ด และจากการทดลองปลูกกล้าไม้วงศ์ยางนากับดินที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลือง เปรียบเทียบกับดินที่ไม่มีเชื้อเห็ด พบว่า ต้นกล้าไม้ที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลืองเจริญเติบโตได้ดีกว่า ลาต้นสูง แข็งแรง ใบใหญ่และเขียวกว่าต้นกล้าที่ไม่ได้ใส่ดินเชื้อเห็ด ส่วนความคิดเห็นของชาวบ้านในการอนุรักษ์ เห็ด คือ ไม่เก็บเห็ดที่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ช่วยกันอนุรักษ์ป่าไม้ ต้นไม้ ปลูกต้นไม้ที่ทาให้เกิดเห็ด เช่น ยาง นา เพื่อให้ลูกหลานได้มีเห็ดกินในอนาคต 2. ที่มาและความสาคัญ : จากการที่กลุ่มของพวกเราได้ตั้งกลุ่มเยาวชนขึ้นมาชื่อว่า “พลพรรครักษ์ดอนปู่ตา” ได้ร่วมกันศึกษา เรื่อง “ดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่ าชุมชน” ได้ศึกษาเรียนรู้ความเชื่อ พิธีกรรมและภูมิปัญญา ชาวบ้านในการอนุรักษ์ป่าชุมชน และได้ศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเบื้องต้นในดอนปู่ตา พบว่า มี 1
  • 6. สิ่งมีชีวิตมากมายหลายชนิด เช่น ต้นไม้ นก แมลงและเห็ด อันเป็นผลมาจากภูมิปัญญาของชาวบ้านในการ อนุรักษ์ดอนปู่ตาแห่งนี้เอาไว้ ดังนั้น กลุ่มของพวกเราจึงต้องการศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในดอนปู่ตา โดยเจาะลึก เฉพาะเห็ด ความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากเห็ดในป่าดอนปู่ตาของชาวบ้าน 3. วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อศึกษาความหลากหลายของเห็ดในป่าดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของเห็ดในระบบนิเวศและความสัมพันธ์ของเห็ดกับวิถีชุมชนใน ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 3) เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์เห็ด ต้นไม้และทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่น 4. พื้นที่ดาเนินโครงการ : ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน (ก.ค.-พ.ย. 2557) : ตารางที่ 1.1 แผนการดาเนินงาน 5 เดือน รายละเอียดกิจกรรม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 1.ประชุมหาประเด็นและวางแผนการทาโครงการ 2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดใน Internet พิพิธภัณฑ์เห็ดฯ หนังสือในห้องอสมุด และปราชญ์ชาวบ้าน 3. เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ แบบบันทึกการสารวจเห็ด 4.ลงพื้นที่สารวจเบื้องต้นและวางแปลงสารวจ 5. ลงพื้นที่สารวจ บันทึกข้อมูล เก็บตัวอย่างเห็ด จาแนกชนิด ดอง และอบแห้ง และสรุปผลการสารวจ 6. เรียนรู้เกี่ยวกับเห็ดในป่าดอนปูตาฯกับปราชญ์ชาวบ้าน 7. เรียนรู้เกี่ยวกับต้นไม้ในป่าดอนปูตาฯกับปราชญ์ชาวบ้าน 8.สอบถามชาวบ้านเกี่ยวกับเห็ดโดยใช้แบบสอบถาม 9. ทดลองปลูกกล้าไม้วงศ์ยางนากับดินที่มีเชื้อเห็ด 2
  • 7. ตารางที่ 1.1 แผนการดาเนินงาน 5 เดือน (ต่อ) รายละเอียดกิจกรรม (ต่อ) ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 10. ประชุมสรุปผลการสารวจและผลการศึกษาทั้งหมด 11. จัดตั้งพิพิธภัณฑ์เห็ดโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 12. ประชุมโครงการเพื่อทาการอนุรักษ์และแบ่งปัน 13. จัดทาป้ายอนุรักษ์ 14.จัดโครงการ “ผ้าป่าต้นไม้สายธารแห่งเมล็ดพันธ์ร่วมใจกัน บวชป่า ครั้งที่ 2” เพื่อการอนุรักษ์เห็ดและต้นไม้ 15.นาป้ายอนุรักษ์ป่าและเห็ดไปติดภายในดอนปู่ตาและโรงเรียน 16. จัดทาสมุดเล่มเล็ก,แต่งเพลง,สรภัญญะ, เว็บเพจ 17. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดในโรงเรียนและชุมชน 18. มอบหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กให้โรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง 19. ประชุมสรุปโครงการ 20. จัดทารายงานและรูปเล่มโครงการและส่งมอบให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ : ขั้นที่ 1 การค้นหา 1.1 การค้นหาประเด็น 1.1.1 หาประเด็นที่น่าสนใจในดอนปู่ตา โดยสอบถามสมาชิกในกลุ่ม และคุณครูที่ปรึกษาว่า ต้องการศึกษาเกี่ยวกับอะไรในดอนปู่ตา (เห็ด) 1.1.2 เดินทางเข้าไปในพื้นที่ชุมชน/หมู่บ้านและดอนปู่ตา เพื่อสารวจและสอบถามชาวบ้าน อย่างคร่าวๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและเห็ดที่มีในดอนปู่ตาและการใช้ประโยชน์จากป่าในดอนปู่ตาของชาวบ้าน 1.1.3 ประชุมสมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเห็นเพื่อคัดเลือกพื้นที่เป้ าหมายและประเด็นที่ เหมาะสมในการศึกษาอีกครั้งว่ามีอะไรบ้างที่น่าสนใจ น่าสารวจและเรียนรู้มากที่สุด 1.2 การเจาะลึกประเด็น 1.2.1 สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดใน Internet แล้วนาเสนอเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มเรียนรู้ 1.2.2 เดินทางไปชมและเรียนรู้เกี่ยวกับเห็ดที่พิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์ทางยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3
  • 8. 1.2.3 เดินทางไปสืบค้นหนังสือและข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดที่หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1.2.4 เดินทางเข้าไปในพื้นที่ชุมชน/หมู่บ้านสวนจิกและบ้านสนามชัย เพื่อสารวจและสอบถามชาวบ้าน อย่างคร่าวๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและเห็ดที่มีในดอนปู่ตาและการใช้ประโยชน์จากป่าในดอนปู่ตาของชาวบ้าน 1.2.5 ลงพื้นที่จริง เพื่อสารวจเกี่ยวกับป่าและเห็ดอย่างคร่าวๆ และเพื่อหาพื้นที่เตรียมวางแปลงสารวจเห็ด ณ ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ขั้นที่ 2 การสารวจ 2.1 การวางแผนก่อนดาเนินการสารวจ 2.1.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตาและครูที่ปรึกษา เพื่อวางแผนการสารวจ พื้นที่เป้ าหมาย ทั้งขั้นตอน วิธีการสารวจ กาหนดการสารวจภาคสนาม ตลอดจนการแบ่งหน้าที่ในการทางาน 2.1.2 ครูที่ปรึกษาเชิญวิทยากรท้องถิ่นอบรมสมาชิกในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตาและผู้ที่ สนใจเกี่ยวกับวิธีการสารวจความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะเห็ดในป่าดอนปู่ตา และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ การสืบค้นข้อมูล ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บตัวอย่าง วิธีการถ่ายภาพ วิธีการสัมภาษณ์ วิธีการศึกษา ภูมิปัญญาจากปราชญ์ชาวบ้าน การบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงาน การ นาเสนอข้อมูล เป็นต้น 2.1.3 ส่งหนังสือขออนุญาตองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กานันและผู้ใหญ่บ้าน/ผู้นาชุมชน/ คณะกรรมการหมู่บ้านที่ดูแลรับผิดชอบดอนปู่ตา เพื่อขอเข้าสารวจป่าดอนปู่ตาและการสัมภาษณ์ชาวบ้าน 2.1.4 เดินทางไปชมและเรียนรู้เกี่ยวกับเห็ดที่พิพิธภัณฑ์เห็ด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม 2.1.5 ร่วมกันเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือในการสารวจ ทาความเข้าใจวิธีการสารวจ และ ออกแบบแบบบันทึกข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสารวจเห็ด เป็นต้น 2.2 ลงมือสารวจ 2.2.1 ลงพื้นที่วัดพื้นที่ในการสารวจโดยแบ่งเป็น 3 แปลง (แปลงที่ 1 ป่าดิบแล้ง แปลงที่ 2 ป่า เต็งรัง พื้นที่แปลงละ 40 x 40 ม. = 1,600 ตร.ม. แปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) พื้นที่ 10x160 ม. =1,600 ตร.ม.) 2.2.2 ลงพื้นที่สารวจเห็ดในดอนปู่ตาฯ แปลงที่ 1-3 พร้อมบันทึกข้อมูลเห็ด เก็บตัวอย่างเห็ดและวัด ความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง,อุณหภูมิ, พิกัดภูมิศาสตร์, สภาพอากาศ, ความชื้นสัมพัทธ์, ความเข้มแสง, pH ของดิน,ความชื้นในดิน, เรือนยอดปกคลุม ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2557 จานวน 7 ครั้ง ( 6 กรกฎาคม 2557, 13 กรกฎาคม 2557, 20 กรกฎาคม 2557, 3 สิงหาคม 2557, 17 สิงหาคม 2557, 7 กันยายน 2557, 7 ตุลาคม 2557) 2.2.3 ศึกษาตาแหน่งกาเนิดสปอร์ของเห็ดและพิมพ์สปอร์เพื่อจาแนกกลุ่มเห็ด 4
  • 9. 2.2.4 บันทึกข้อมูลเห็ดเพิ่มเติมจากภาคสนาม จาแนกและระบุชื่อเห็ดโดยใช้รูปวิธาน (key) และหนังสืออ้างอิง 2.2.5 เก็บรักษาตัวอย่างเห็ดโดยวิธีการดองและอบแห้ง พร้อมเขียนป้ ายชื่อและระบุข้อมูลเห็ด 2.2.6 ศึกษาและเรียนรู้วิธีการเก็บเห็ดและชนิดเห็ดในดอนปู่ตาฯ จากปราชญ์ชาวบ้าน (แม่ทองจันทร์ มงคลมะไฟ และแม่จงกล พันชะวนัส) 2.2.7 เรียนรู้เกี่ยวกับต้นไม้ในแปลงสารวจเห็ดกับปราชญ์ชาวบ้าน (พ่อเรือง วิลัยพิทย์) 2.2.8 สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับเห็ดและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตาฯ กับวิถีชุมชน ของชาวบ้านสวนจิก-บ้านสนามชัย ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 2.2.9 ทดลองปลูกกล้าไม้วงศ์ยางนากับดินที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลืองเปรียบเทียบกับดินที่ไม่มี เชื้อเห็ด 2.3 การสรุปผลข้อมูล 2.3.1 ประชุมสรุปผลการเรียนรู้ทั้งหมดในขั้นสารวจ นาข้อมูลจากการสารวจมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผลและเตรียมวางแผนการทางานขั้นอนุรักษ์ ขั้นที่ 3 การอนุรักษ์ 3.1 อนุรักษ์เห็ดในป่าดอนปู่ตาโดยจัดกิจกรรมในโครงการ “ผ้าป่ าต้นไม้สายธารแห่งเมล็ดพันธุ์ร่วม ใจกันบวชป่ า ครั้งที่ 2 ” เพื่อเป็นการสร้างจิตสานึกและจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ดอนปู่ตา ต้นไม้และ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เพื่อเป็นการบูรณาการการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมร่วมกันระหว่างหมู่บ้าน วัด และ โรงเรียน (บวร) และเป็นการสร้างนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาชุมชนด้านการดูแลรักษา 3.2 จัดทาป้ายอนุรักษ์เห็ดและต้นไม้ไปติดรอบดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก 3.3 นาเชื้อเห็ดกินได้เช่น เห็ดระโงกเหลือง เห็ดตะไคล ไปโปรยบริเวณโคนต้นไม้วงศ์ยางนา เช่น เต็ง ยางเหียง ในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก 3.4 นาป้ ายอนุรักษ์เห็ดและต้นไม้ไปติดรอบๆ บริเวณป่าไม้ที่มีเห็ดกินได้เกิด ภายในโรงเรียน ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 3.5 จัดตั้งพิพิธภัณฑ์เห็ดโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาให้นักเรียน ครู และผู้สนใจได้ศึกษา 3.6 ส่งหนังสือขอบคุณหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการศึกษาครั้งนี้ ขั้นที่ 4 การแบ่งปัน 4.1 รายงานผลการดาเนินโครงการในกิจกรรมหน้าเสาธงแก่นักเรียน ครู และผู้บริหาร 4.2 จัดรายการเสียงตามสาย ณ ห้องประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน ในตอนพักกลางวัน 5
  • 10. 4.3 การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. และกลุ่ม พลพรรครักษ์ดอนปู่ตา 4.4 จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับเห็ดให้ผู้สนใจอ่านในห้องสมุดโรงเรียน 4.5 มอบหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับเห็ดให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน อ.บ.ต. และห้องสมุด โรงเรียนใกล้เคียง 4.6 นาเสนอข้อมูลการศึกษาเกี่ยวกับเห็ดโดยจัดทา website หรือ Blog “เห็ด: สุดยอดผู้ย่อยสลายสาย สัมพันธ์ในดอนปู่ตา” 4.7 มอบใบความรู้เรื่อง “แนวทางการปลูกเห็ดร่วมกับไม้ยืนต้น” ให้แก่ครู ชาวบ้านและผู้สนใจ 4.8 แต่งบทเพลงและสรภัญญะเกี่ยวกับการอนุรักษ์เห็ดและป่าดอนปู่ตา 4.9 จัดทาโปสเตอร์ แผ่นพับ (แจกฟรี) สาหรับให้นักเรียน ครู-อาจารย์ ชาวบ้านและผู้สนใจทั่วไป ได้ศึกษา โดยนาไปติดไว้ที่ป้ายนิเทศของโรงเรียน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน สถานที่ราชการ เป็นต้น 4.10 การจัดบอร์ดนิทรรศการเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทาและสิ่งที่ได้ค้นพบทั้งในโรงเรียนและชุมชน 4.11 เขียนรายงานพร้อมเข้ารูปเล่มให้สวยงามส่งมอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ “ค้นหา สารวจ อนุรักษ์ และแบ่งปัน เพื่อให้รับรู้ เห็นความสาคัญ ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ เพื่อให้ช่วยกันอนุรักษ์เห็ดและสิ่งมีชีวิตในป่าดอนปู่ตาให้คงอยู่คู่ผืนแผ่นดิน ชุมชนและลูกหลานตลอดไป” 7. สรุปผลการดาเนินงาน : โครงการ “เห็ด:สุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” โดยกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายของเห็ด ความสัมพันธ์ของ เห็ดในระบบนิเวศและวิถีชุมชนในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ ต.สวนจิก อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด 3 บริเวณ คือ แปลงที่ 1 (ป่าดิบแล้ง) แปลงที่ 2 (ป่าเต็งรัง) และแปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) ในดอนปู่ตาฯ โดย วางแปลงขนาด 1,600 ตารางเมตร โดยใช้กระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นค้นหา สารวจ อนุรักษ์และแบ่งปัน จากการสารวจเห็ดตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 จานวน 7 ครั้ง พบว่า พบเห็ดทั้งสิ้น 30 วงศ์ จานวน 167 ชนิด จาแนกชื่อได้ 103 ชนิด(61.68%) และจาแนกชื่อไม่ได้ 64 ชนิด(38.32%) วงศ์ที่พบมากที่สุด คือ วงศ์ Agaricaceae (74.85%) โดยเห็ดที่พบมากที่สุดคือ เห็ดโคนปลวก ข้าวตอก เห็ดตะไคลหน้าเขียว และเห็ดหน้าม่วง ตามลาดับ บริเวณที่พบเห็ดปริมาณมากที่สุด คือ แปลงที่ 3 เส้นทางเดิน (ป่าดิบแล้ง) (49.54%) แต่เห็ดกินได้จะพบในแปลงที่ 2 (ป่าเต็งรัง) มากกว่าแปลงที่ 1 และ 3 6
  • 11. (ป่าดิบแล้ง) เห็ดกินได้ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Russulaceae และวงศ์ Amanitaceae พบความสัมพันธ์ของเห็ดใน ระบบนิเวศดอนปู่ตาฯ 4 รูปแบบ คือ 1)ย่อยสลาย/กินซากพืช (Decomposer/Saprophytic mushroom) (62.88%) 2)พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhizal mushroom) (20.36%) 3) ปรสิต/ก่อโรค (Parasitic mushroom) (12.57%) 4.)พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับปลวก (Termite mushroom) (4.19%) พบ เห็ดที่สามารถรับประทานได้จานวน 48 ชนิด (28.74%) เป็นยา 20 ชนิด (11.98%) เห็ดพิษ 9 ชนิด (5.39%) และไม่มีข้อมูล 90 ชนิด (53.89%) แหล่งอาศัยของเห็ดที่พบบนพื้นดิน 96 ชนิด (57.48%) ขอนไม้หรือกิ่งไม้ ผุ 31 ชนิด (18.56%) เปลือกต้นไม้ 23 ชนิด (13.77%) ใบไม้ผุ 9 ชนิด (5.39%) ใต้ดิน 3 ชนิด (1.80%) ตอไม้3 ชนิด (1.80%) เถาวัลย์ที่มีชีวิต 1 ชนิด (0.60%) และบนเมล็ดพืช 1 ชนิด (0.60%) พบการเจริญของ ดอกเห็ดแบบเดี่ยว/กลุ่ม 76 ชนิด (45.51%) เดี่ยว 57 ชนิด (34.13%) กลุ่ม 14 ชนิด (8.38%) ราบไปกับท่อนไม้8 ชนิด (4.79%) เดี่ยว/กระจุก 7 ชนิด (4.19%) กระจุก 2 ชนิด (1.20%) ราบไปกับพื้นดิน 2 ชนิด (1.20%) และกลุ่ม/กระจุก 1 ชนิด (0.60%) เดือนที่สารวจพบชนิดเห็ดมากที่สุดคือ เดือนสิงหาคม มีการเก็บตัวอย่างโดยวิธีการดอง 37 ชนิด อบแห้ง 32 ชนิด ดองและอบแห้ง 13 ชนิด (บัญชีรายชื่อเห็ดและ ผลการศึกษาทั้งหมดดูในภาคผนวก ค) พบความสัมพันธ์ของเห็ดกับต้นไม้หลายชนิด เช่น เห็ดเพ็ก มักจะ เกิดบริเวณที่มีไผ่เพ็กขึ้นเท่านั้น ต้นยางเหียง (ซาด)และต้นเต็ง(จิก) มักพบเห็ดกินได้หลายชนิด เช่น เห็ดไคล หน้าเขียว เห็ดหน้าม่วง เห็ดก่อแดง เป็นต้น และพบความสัมพันธ์ของเห็ดกับวิถีชุมชน โดยเห็ดเป็นแหล่ง อาหาร ยาและแหล่งรายได้ของชาวบ้าน ซึ่งเห็ดที่ทารายได้มากที่สุด คือ เห็ดระโงกเหลือง คิดเป็น 21.5% ของเห็ดทั้งหมด รายได้ในการเก็บเห็ดของชาวบ้านประมาณ 10,000-15,000 บาท/ปี เดือนที่มีเห็ดเกิดมาก ที่สุด คือ สิงหาคม และเป็นฤดูฝน ส่วนปัจจัยที่ทาให้เกิดเห็ด คือ ต้องมีป่า มีต้นไม้, อุณหภูมิ, สภาพอากาศ, ปริมาณน้าฝน, ความชื้นสัมพัทธ์, ความเข้มแสง, pH ของดิน, ความชื้นในดิน และเรือนยอดปกคลุมที่ เหมาะสมกับการเกิดเห็ด และจากการทดลองปลูกกล้าไม้วงศ์ยางนากับดินที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลือง เปรียบเทียบกับดินที่ไม่มีเชื้อเห็ด พบว่า ต้นกล้าไม้ที่มีเชื้อเห็ดระโงกเหลืองเจริญเติบโตได้ดีกว่า ลาต้นสูง แข็งแรง ใบใหญ่และเขียวกว่าต้นกล้าที่ไม่ได้ใส่ดินเชื้อเห็ด ส่วนความคิดเห็นของชาวบ้านในการอนุรักษ์ เห็ด คือ ไม่เก็บเห็ดที่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ช่วยกันอนุรักษ์ป่าไม้ ต้นไม้ ปลูกต้นไม้ที่ทาให้เกิดเห็ด เช่น ยาง นา เพื่อให้ลูกหลานได้มีเห็ดกินในอนาคต สาหรับการอนุรักษ์ ได้จัดทาการอนุรักษ์เห็ดในป่าดอนปู่ตาโดยจัดกิจกรรมในโครงการ “ผ้าป่ า ต้นไม้สายธารแห่งเมล็ดพันธุ์ร่วมใจกันบวชป่ า ครั้งที่ 2 ” เพื่อเป็นการสร้างจิตสานึกและจิตสาธารณะในการ อนุรักษ์ดอนปู่ ตา เห็ด ต้นไม้และทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เพื่อเป็นการบูรณาการการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมร่วมกันระหว่างหมู่บ้าน วัด และโรงเรียน (บวร) และเป็นการสร้างนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนา ชุมชนด้านการดูแลรักษาทรัพยากรในท้องถิ่น โดยได้รับเงินบริจาคทั้งสิ้น 4,222 บาท มีการปลูกต้นไม้ จานวน 523 ต้น บวชต้นไม้ จานวน 109 ต้น ติดป้ ายอนุรักษ์ต้นไม้ จานวน 12 ป้ าย มีผู้เข้าร่วมโครงการ 7
  • 12. ประมาณ 150 คน และพระสงฆ์ 9 รูป (อาทิเช่น เจ้าคณะตาบลสวนจิก พระสงฆ์วัดบ้านสวนจิก และหมู่บ้าน ใกล้เคียง) และมีการจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์เห็ดโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาไว้ให้ผู้สนใจได้ศึกษา สาหรับการแบ่งปัน ได้จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็ก จานวน 10 เรื่อง ได้แก่ เรื่องเพื่อนเห็ด 3 สหาย ต่างดาวกับเห็ดอีสาน หมู่บ้านผู้พิทักษ์เห็ด เห็ด1 เห็ดน้อยในป่าใหญ่1 เห็ดน้อยในป่าใหญ่2 เรื่องเห็ด เห็ด ความรู้เกี่ยวกับเห็ด เห็ด2 แล้วนาไปมอบให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน อ.บ.ต. และห้องสมุดโรงเรียน ใกล้เคียง ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น face book และมีการแต่งเพลง เห็ดป่าดอนปู่ตา สรภัญญะเห็ดอีกด้วย 8
  • 13. บรรณานุกรม การ์ดเนอร์ ไซมอน และคณะ. คู่มือศึกษาพรรณไม้ยืนต้นในป่ าภาคเหนือ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2543. 560 หน้า. นิวัฒ เสนาะเมือง. เห็ดป่ าเมืองไทย: ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์. กรุงเทพฯ: ยูนิเวอร์แซล กราฟฟิค แอนด์ เทรดดิ้ง, 2553, 424 หน้า. ราชบัญฑิตยสถาน.เห็ดในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2550. 272 หน้า. วินัย กลิ่นหอม และอุษา กลิ่นหอม. 57 เห็ดเป็นยาแห่งป่ าอีสาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสุขภาพไทย, 2548. 156 หน้า. วิโรจน์ เกสรบัว และประนอม จันทรโณทัย. พรรณไม้โคกภูตากา. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2554, 131 หน้า. วุฒิ วุฒิธรรมเวช. ร่วมอนุรักษ์มรดกไทย สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2540. 622 หน้า. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. เห็ดและราในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544. 268 หน้า. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. เห็ดในป่ าสะแกราช. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์, 2550. 153 หน้า. สานักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้กรมป่าไม้.คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองของชุมชนด้านความ หลากหลายทางชีวภาพ “ด้านเห็ดรา”.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553. 34 หน้า. สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงานการประชุม เรื่อง การจัดทาทะเบียน รายการชนิดเห็ดในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท, 2552. 69 หน้า. อนงค์ จันทร์ศรีกุล. เห็ดเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 6 . กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2541. 161 หน้า อนงค์ จันทร์ศรีกุล และคณะ. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551. 514 หน้า. อุทัยวรรณ แสงวณิช. การศึกษาเห็ดในธรรมชาติ. กรุงเทพฯ : บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จากัด, 2550. 37 หน้า. อุษา กลิ่นหอม และวินัย กลิ่นหอม. ความหลากหลายของกลุ่มเห็ดผึ้งในภาคอีสาน. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์, 2550. 144 หน้า. 9