SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
เรื่อง การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
นายชานนท์ วงค์ละคร เลขที่ 8 ชั้น ม.4/6
นายมนัส ศิริ เลขที่ 9 ชั้น ม.4/6
นายพิเชฐชัย ทาคารอด เลขที่18 ชั้น ม.4/6
นางสาวยุพารัตน์ แก้วกิ่ง เลขที่ 32 ชั้น ม.4/6
นางสาวนิตยา สุภสร เลขที่ 37 ชั้น ม.4/6
นางสาวพัชรินทร์ บังศรี เลขที่39 ชั้น ม.4/6
นางสาวศิวพร นิลปะกะ เลขที่ 41 ชั้น ม.4/6
นางสาวอฐิชา ทัพนิล เลขที่43 ชั้น ม.4/6
นางสาวพัชราภรณ์ โทแกะ เลขที่ 45 ชั้น ม.4/6
1.กระบวนการทางเทคโนโลยี(Technological Process).
1.1 ความหมายและความสาคัญของกระบวนการทางเทคโนโลยี
คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการซึ่งจะก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วย
กระบวนการเทคโนโลยีก่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามที่มนุษย์ต้องการและ
เปลี่ยนแปลงการเพิ่มประสิทธิภาพในการทากิจกรรมต่างๆของมนุษย์
กระบวนการทางเทคโนโลยีมีความสาคัญคือ
1.)เป็นพื้นฐานปัจจัยจาเป็นในการดาเนินชีวิตของมนุษย์
2.)เป็นปัจจัยหลักที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนา
3.)เป็นเรื่องราวของมนุษย์ และธรรมชาติ
ข้อมูลหรือตัวป้อน กระบวนการ ผลลัพธ์
• ปัญหา/ความต้องการ
• รวบรวมข้อมูล/หาวิธี
แก้ปัญหา
• เลือกวิธีการ
• ออกแบบปฏิบัติการ
• ทดสอบ
• ปรับปรุงแก้ไข
• ประเมิณผล
• ผล
สัมฤทธิ์
ของงาน
ข้อมูลย้อนกลับ
กระบวนการเทคโนโลยีเป็นการนาเอากระบวนการทางาเชิงระบบ
ประกอบด้วย ตัวป้อน(Input) กระบวนการ(Process) และผลลัพธ์ (Output)
มาใช้ในแก้ปัญหาหรืตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในการดารงชีวิต
ประจาวันหรือตอบสนองความต้องการภายใต้หลักการและเหตุผลของ
กระบวนการเทคโนโลยี
แผนผัง การทางานเชิงระบบของกระบวนการเทคโนโลยี
1.2 ประโยชน์ของกระบวนการเทคโนโลยี
1.ทาให้ตะหนักในความสาคัญของกระบวนการเทคโนโลยีที่มีส่วนช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต
2.ช่วยเสริมสร้างและพัฒนาสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช้ สิ่งประดิษฐ์ เพื่อประโยชน์ต่อการ
ดารงชีวิต
3.ช่วยให้เห็นแนวทางในการแก้ไข
4.รู้จักแบ่งกระบวนการทางานใหญ่ออกเป็นกระบวนการย่อย
5.ช่วยแสดงศักยภาพและทาให้เข้าใจขั้นตอนการทางานของกระบวนการเทคโนโลยีในการ
สร้างผลผลิต และการซ่อมแซมปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานให้มีคุณภาพดีขึ้น
6. เป็นปัจจัยส่งเสริมให้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์พัฒนามากขึ้น เพราะกระบวนการ
เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือค้นคว้าให้กับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.3 การวิเคราะห์ขั้นตอนกระบวนการเทคโนโลยี
1.กาหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the problem,need or
preference).
ละเอียด หรือกาหนดขอบเขตการแก้ปัญหา ระบุความต้องการให้ชัดเจนว่า
ต้องการอะไร โดยเขียนเป็นข้อความสั้น ๆให้ได้ใจความชัดเจน.
2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
(Information).
เมื่อกาหนดปัญหาหรือความต้องการแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ เก็บรวบรวม
ข้อมูลและความรู้ทุกด้านที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการเพื่อหาวิธีการ
ที่เหมาะสมสาหรับแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการที่กาหนดไว้ทาได้หลาย
วิธี
3.เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible solution).
ในขั้นนี้ เป็นการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดสาหรับแก้ปัญหา โดยนาข้อมูล และความรู้
ที่รวบรวมได้มาประกอบกันจนได้ข้อสรุปว่า จะเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการสนอง
ความต้องการเป็นแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึดแนวที่ว่า เมื่อเลือกแล้วจะทาให้สิ่งนั้นดี
ขึ้น (Better) สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น(Fasterspeed) ประหยัดขึ้น (Cheaper) รวมทั้ง
วิธีการเหล่านี้ จะตองสอดคล้องกับทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่.
4.ออกแบบและปฏิบัติ (Design and making).
ขั้นตอนนี้ต้องการให้นักเรียนรู้จักคิดออกแบบ ซึ่งไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งของเครื่องใช้เสมอ
ไป อาจเป็นวิธีการก็ได้ และการออกแบบไม่จาเป็นต้องเขียนแบบเสมอไป อาจเป็นแค่
ลาดับความคิด หรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอนซึ่งรวมปฏิบัติการลงไปด้วย นั่นคือเมื่อ
ออกแบบแล้วต้องลงมือทา และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ออกแบบไว้.
5.ทดสอบ (Testing to see if it works).
เป็นการนาสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการนั้นทดลองใช้เพื่อทดสอบว่าใช้งานหรือทางานได้
หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไร ถ้ายังไม่ได้ก็ไปสู่ขั้นตอนต่อไป คือ ปรับปรุง แก้ไข.
6.การปรับปรุง (Modification and improvement).
หลังจากการทดสอบผลแล้วพบว่า สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น หรือวิธีการที่คิดขึ้นไม่ทางานมี
ข้อบกพร่อง ก็ทาการปรับปรุงแก้ไข โดยอาจเลือกวิธีการใหม่ก็ได้คือย้อนไปขั้นตอนที่ 3.
7.ประเมินผล (Assessment).
หลังจากปรับปรุงแก้ไขจนใช้งานได้ดีตามวิธีการที่ออกแบบแล้ว ก็นามาประเมินผล
โดยรวม
2.1 ความหมายและความสาคัญของการออกแบบเทคโนโลยี
การออกแบบเทคโนโลยี หมายถึง การนาความคิดสร้างสรรค์มาออกแบบและเขียนแบบ
ด้วยกระบวนออกแบบ เพื่อการสร้าง พัฒนา และแก้ปัญหาผลิตภัณฑ์ สิ่งของเครื่องใช้
ต่างๆ การออกแบบเทคโนโลยีมีหลายประเภท เช่น การออกแบบทางสถาปัตยกรรม
การออกแบบทางวิศวกรรม รออกแบบเสื้อผ้า เป็นต้น
กระบวนการออกแบบเทคโนโลยี
ประกอบด้วยลาดับขั้นตอนหลายขั้นตอน มีขั้นตอนต่างๆดังนี้
1. วัตถุประสงค์
2. การสารวจ
3. กระบวนการสร้างความคิด
4. เลือกแนวความคิด
5. วางแผนลงมือปฏิบัติ
6. การประเมินค่า
1. ช่วยให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะกระบวนการและความเชี่ยวชาญในการ
ออกแบบ
2. ทาให้เกิดการพัฒนาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อนาไปใช้สร้าง หรือผลิตชิ้นงานตามมาตรา
ส่วนหรือตามระดับความต้องการ
3. ทาให้เกิดพัฒนากระบวนการออกแบบ
4. ทาให้กระบวนการผลิตมีสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น
5.ทาให้มีเครื่องอานวยความสะดวกในการดาเนินชีวิตที่มีความทันสมัย
2.3 หลักการเขียนภาพ 3 มิติ
การสร ้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งของเครื่องใช ้ต่างๆตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่าง
ปลอดภัยมีความจาเป็นต้องถ่ายทอดแนวความคิดออกมาเป็นภาพ 3 มิติเพื่อแสดงชิ้น
งานที่เกิดขึ้นจากความคิดสร ้างสรรค์มองเห็นภาพโดยใช ้หลักการเขียนภาพแบบ
1. การเขียนภาพแบบไอโซเมตริก
หมายถึง รูปซึ่งเขียนขึ้นจากส่วนประกอบทั้ง 3 ด้านของวัตถุ คือ ส่วนกว้าง ส่วนยาว
และส่วนสูง ตามลักษณะที่ปรากฏอยู่ในรูปแปลนและรูปด้วน
2. การเขียนภาพแบบออบลิก
เป็นการเขียนภายจากส่วนประกอบทั้ง 3 ด้านของวัตถุคือ ส่วนกว้าง ส่วนยาว และ
ส่วนสูง
ตามรูปลักษณะที่ปรากฏอยู่ในรูปแปลน
3. การเขียนภาพ 3 มิติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแรมที่ใช้เขียนคือ
โปรแกรม Por/DESKTOP
สามารถใช้ฝึกทักษะการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆดังนี้
1.การออกแบบโครงร่างชิ้นงาน
2.การออกแบบทางวิศวกรรมสถาปัตยกรรม
3.การออกแบบผลิตภัณฑ์
4.การทารูปทรง 3 มิติ
5.การออกแบบชิ้นงานแอนนิเมชั่น (Animation)
6.การทาภาพฉาย (porjection)
3.การสร้างหุ่นจาลอง
3.1 ความหมายและประเภทของหุ่นจาลอง
หมายถึง วัสดุสามมิติที่สร ้างขึ้นเพื่อเลียนแบบของจริง เนื่องจากข้อจากัดบางประการที่
ไม่สามารถจะใช ้ของจริง ประกอบการเรียนการสอนได้ เช่น การอธิบายลักษณะและ
ตาแหน่ง ของอวัยวะภาพในร่างกายของคนหรือสัตว์ ดังนั้นของ จาลองจึงมีคุณค่าต่อ
การเรียนใกล้เคียงกับของจริง
หุ่นจาลองสามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
1.หุ่นจาลองเพื่อขยายหรือย่องาน
2.หุ่นจาลองย่อส่วนจากสิ่งแวดล้อม
3.หุ่นจาลองเพื่อการศึกษารายละเอียด
3.2 ความสาคัญและหลักการในการสร้างหุ่นจาลอง
ความสาคัญ คือ เป็ นต้นแบบในการสร ้างหรือผลิตชิ้นงานหรือ
ชิ้น
งานให้มีสภาพใช้งานได้ดีขึ้น
การสร ้างหุ่นจาลองทุกรูปแบบ ควรยึดหลักการสร ้าง
1. โครงสร้างของหุ่นจาลองต้องถูกต้องตามรูปแบบราย
2.รูปทรงของหุ่นจาลองต้อถูกต้องตามรูปแบบรายการ
3.รายละเอียดของหุ่น จาลองต้องถูกต้อง
4.ต้องมีความประณีตในผลงาน มีความสวยงาม สะอาด และ
เรียบร้อย
3.3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างหุ่นจาลอง
1. เป็ นการฝึกทักษะการจาลองการสร ้างชิ้นงานที่มี
สภาพเหมือนของจริง
2.เป็ นการฝึกทักษะความอดทนและความประณีตในการ
สร ้างชิ้นงาน
3.เป็ นข้อมูลสาคัญที่ใช ้ในการวิเคราะห์เพื่อพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ สิ่งของเครื่องใช ้ต่างๆ
4. การสร้างชิ้นงานจากหุ่นจาลอง
คือ การสร้างหรือการผลิตชิ้นงานและการและการซ่อมแซมปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานให้มี
สภาพการใช้งานได้ดี เพื่อการรพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์
5. การนาเสนอผลงานด้วยโปรแกรม microsoft PowerPoint
หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอผลงาน ความรู้ ความคิดเห็น หรือต้องการไปสู่ผู้รับสาร
โปรแกรม microsoft PowerPoint มีประโยชน์ต่อการนาเสนอชิ้นงานหลายอย่างอาทิ
1.เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถใน
การนาเสนอสูง
2.มีแบบโปรแกรมที่ใช้งานง่าย
3.มีเครื่องมืออานวยความสะดวก
จานวนมาก
4. สามารถทางานได้เร็วขึ้น
5.ออกแบบการนาเสนองานได้
หลากหลายแล้วแต่ความต้องการของ
ผู้นาเสนอ
7. สามารถดัดแปลงหรือแก้ไข
ข้อมูลในระหว่างการนาเสนอได้
ทันที
6.สามารถนากราฟิก รูปภาพ และ
เสียงมาใช้ร่วมกับการนาเสนอได้
การออกแบบเทคโนโลยีเป็นกระบวนการใช้ความคิดสร้างสรรค์มาออกแบบ
สร้างหรือผลิตชิ้นงาน สิ่งของต่างๆ ด้วยกระบวนการเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์
ชิ้นใหม่ๆที่มีรูปลักษณ์แปลกใหม่ในเชิงสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความสวยงาม เพื่อ
ประโยชน์ใช้สอย และความประหยัดในเชิงอนุรักษ์ทัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ได้อย่างเพียงพอ ทั้งนี้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปและคอมพิวเตอร์มาช่วยในการปฏิบัติการ
สรุป

More Related Content

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี

ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์Bunchuan Dathumma
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานduckbellonly
 
โครงงาน WCM
โครงงาน WCMโครงงาน WCM
โครงงาน WCMPhai Trinod
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonpithak Senathum
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศThitiya Kml
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1.222
โครงงานคอมพิวเตอร์1.222โครงงานคอมพิวเตอร์1.222
โครงงานคอมพิวเตอร์1.222Ford Rpj
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี (6)

ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงาน WCM
โครงงาน WCMโครงงาน WCM
โครงงาน WCM
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1.222
โครงงานคอมพิวเตอร์1.222โครงงานคอมพิวเตอร์1.222
โครงงานคอมพิวเตอร์1.222
 

More from lukhamhan school

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน lukhamhan school
 

More from lukhamhan school (8)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี