SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
การเพาะปลูกพืช
เสนอ
ครูจิราพร ยศศรีสุราษฎร์
โรงเรียนลือคาหาญวารินชาราบ
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29
จัดทาโดย
1.นายภูมินทร์ มุ่งซ่อนกลาง เลขที่ 2
2.นายชินวัตร ทักษิณกานนท์ เลขที่ 7
3.นายทักษิณ ทักษิณกานนท์ เลขที่ 8
4.นายกฤติมา นาคามูล เลขที่ 12
5.นายจิระพงษ์ ส่งเสริม เลขที่ 14
6.นายตะวัน ตรุณจันทร์ เลขที่ 16
7.นางสาวภคณัฐ เลขะสันต์ เลขที่ 31
8.นางสาวศุภธิดา ทองลาด เลขที่ 32
9.นางสาวอาทิตติยา คุณสมบัติ เลขที่ 33
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
1.ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปลูกพืช
1.ความลาดเอียงของพื้นที่หรือระดับความสูงต่าของพื้นที่ ควรปรับพื้นที่ปลูกพืชตามแนวระดับความสูงชันเพื่อลดการพังทลาย
ของหน้าดิน
2.ขนาดของพื้นที่ ถ้าพื้นที่มีขนาดเล็กการใช้เครื่องทุ่นแรงได้ไม่สะดวกและไม่คุ้มค่ากับการลงทุนและควรเลือกพื้นที่ที่สามารถ
ขยายกิจการได้ในอนาคต
3.ลักษณะของดิน
4.สถานที่ตั้งของดิน ควรเป็นพื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้กับตลาดและชุมชนเพื่อความสะดวกในการขนส่งผลผลิตออกสู่ตลาดและต้อง
ป้องพื้นที่ที่ถูกต้องตามกฎหมายจะได้ไม่เกิดปัญหาในเวลาต่อมา
5.แหล่งน้า โดยทั่วไปเราสามารถใช้น้าในการทาการเกษตรจากแหล่งต่างๆดังนี้
5.1.น้าจากแหล่งน้าธรรมชาติเกิดจากน้าฝนที่ไหลมารวมกัน โดยจะมีปุ๋ ยและธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
ปะปนด้วยอยู่เสมอ
5.2.แหล่งน้าใต้ดิน เมื่อฝนตกแล้วก็จะไหลซึมผ่านลงไปในชั้นดินจนถึงชั้นหินที่ไม่สามารถไหลลงได้อีกน้าใต้ดินมีอยู่หลาย
ระดับจะมีความลึก ตื้น ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับสภาพของพื้นที่
5.3.น้าจากอ่างเก็บน้าเหมือง ฝายและเขื่อน มีความสาคัญต่อการเพาะปลูกเป็นอย่างมากโดยเฉพาะฤดูแล้งน้าจากแหล่งนี้จะช่วย
ให้พืชมีการเจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอ
1.ดิน
หมายถึง วัตถุที่เกิดจากการรวมตัวตามธรรมชาติของเศษหินและแร่ธาตุต่างๆที่สลายตัว เป็นชิ้นเล็กๆกับอินทรีย์วัตุที่เน่าเปื่อยผุพังรวมตัวกันเป็นชั้นๆห่อหุ้มโลก
ความสาคัญ
- ดินเป็นรากฐานสาหรับการเจริญเติบโตของพืชและเป็นที่ยึดเหนี่ยวของรากพืช
- ดินเป็นแหล่งน้าและอากาศให้รากพืชดูดไปใช้ประโยชน์
-.ดินเป็นแหล่งธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
- ดินเป็นที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ชนิดที่เป็นประโยชน์ของพืช
ส่วนประกอบของดิน คือ แร่ธาตุหรืออนินทรีย์วัตถุ อินทรียวัตถุ น้า อากาศ
ประเภทของดิน โดยทั่วไปแบ่งได้3ประเภท คือดินเหนียว ที่มีขนาดเล็กที่สุด ถัดมาคือดินร่วน มีขนาดตั้งแต่ 0.002-0.05 มิลลิเมตร และดินทราย มีขนาดตั้งแต่ 0.05-2.0
การปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ
1.ดินด่าง ใส่ปุ๋ ยอินทรีย์ได้แก่ ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก เพื่อลดปฎิกิริยาทางเคมีของดิน การทดน้าเข้าแปลงปลูกพืชและกักไว้ช่วยลดความเจือจางของด่าง
การไถพลิกหน้าดินด้านบนและด้านล่างและใส่ปุ๋ ยที่มีฤทธิ์ตกค้างเป็นกรด เช่น ปุ๋ ยแอมโมเนียซัลเฟต
2.ดินกรด ใส่ปูนขาวหรือปูนมาร์ลหรือขี้เถ้าแกลบลงในดิน
2.น้า
น้าเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตและการเจริญเติบโตของพืช ดังนี้
1.เป็นตัวช่วยละลายธาตุอาหารพืชที่อยู่ในดินให้อยู่ในรูปแบบของสารละลาย
2.เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์แสงของพืช
3.ทาให้เซลล์พืชเต่งตึง
4.ช่วยลาเลียงแร่ธาตุ
5.ช่วยปรับระดับอุณหภูมิภายในต้นพืชด้วยการคายน้า
2.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช
3.อุณหภูมิ
โดยทั่วไปสามารถแบ่งพืชออกเป็น2 ประเภทดังนี้
1.พืชเมืองหนาว เป็นพืชที่มีความต้องการอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 15-20 องศาเซลเซียส เช่น แอปเปิล ข้าวบาร์เลย์สตอเบอร์รี่ เป็นต้น แต่ถ้านา
พืชเหล่านี้มาปลูกในที่ที่มีอากาศร้อนจะทาให้ใบของพืชไหม้ เนื่องจากมีการคายน้ามาก
2.พืชเมืองร้อน เป็นพืชที่มีความต้องการอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 20-40 องศาเซลเซียส เช่น ข้าวโพด มังคุดเงาะ ข้าว เป็นต้น แต่ถ้านาพืช
เหล่านี้ไปปลูกในพื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่ากว่านี้มากๆก้จะทาให้พืชชักการเจริญเติบโตหรือตายได้
4.แสงสว่าง
ความสาคัญ
1.แสงมีความสาคัญต่อพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดพืชแต่ละชนิดมีความต้องการแสงสว่างไม่เท่ากัน การงอกของเมล็ดจะไม่ใช้แสงสว่างแต่
เมื่อเจริญเติบโตจึงจะใช้แสงต่างกัน
2.แสงมีอิทธิพลต่อการสร้างผลผลิตพืช แบ่งตามการตอบสนองของแสงได้3 ประเภทดังนี้
2.1 พืชวันสั้น ต้องการแสงประมาณ 10-14 ชั่วโมงต่อวัน หรือน้อยกว่าจึงจะออกดอก เช่น มันเทศ คริสต์มาส เป็นต้น
2.2 พืชวันยาว ต้องการแสงประมาณ 14-16 ชั่วโมงต่อวัน หรือมากกว่านี้ เช่น แครอต ข้าวโอ๊ต พุดซ้อน เป็นต้น
2.3พืชที่ไม่มีปฏิกิริยาต่อช่วงแสงคือแสงไม่มีผลต่อการออกดอกของพืช เช่น แตงกวา มะเขือเทศ พริกไทย เป็นต้น
3.คุณภาพของแสง
3.1 แสงสีแดง จะช่วยส่งเสริมให้เมล็ดพืชงอกได้เร็วขึ้นรวมทั้งการเจริญเติบโตของต้นกล้าและการผลิตดอก
3.2 แสงสีน้าเงิน ทาให้เซลล์พืชแก่เร็วและช่วยกระตุ้นการสร้างคลอโรฟิลล์ในพืชมากยิ่งขึ้น
4.ความเข้มของแสง สามารถจาแนกพืชออกตามความต้องการความเข้มของแสงได้ดังนี้
4.1 พืชในร่ม เป็นพืชที่ต้องการความเข้มของแสงต่าควรปลูกในที่ร่มมีแสงราไร เช่น เฟิร์นต่างๆ บอนสี เป็นต้น
4.2พืชกลางแจ้งเป็นพืชที่ต้องการความเข้มของแสงสูงควรปลูกกลางแจ้งให้ถูกแดดจัดทั้งวันเช่น ดาวกระจาย เข็ม เป็นต้น
5.อากาศ
คือ กลุ่มแก๊สชนิดต่างๆซึ่งมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืชและจุลินทรีย์ต่างๆอากาศส่วนใหญ่จะแก๊ส
ออกซิเจน ไนโตรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สอื่นๆปะปนอยู่เล็กน้อย
แก๊สออกซิเจน
- ถ้าในดินมีแก๊สออกซิเจนไม่มากพอจะทาให้รากพืชไม่เจริญเติบโตมีผลโดยตรงต่อการดูดน้า
- พืชใช้แก๊สออกซิเจนเป็นวัตถุดิบที่สาคัญต่อกระบวนการหายใจ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
- ถ้ามีมากเกินไปในดินก็จะเป็นพิษต่อพืชรากพืชดูดน้าและธาตุอาหารได้น้อยลง
- พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นตัวสาคัญในกระบวนการสังเคราะห์แสงหรือการปรุงอาหารของพืชเพื่อให้ได้แป้ง
และน้าตาล
3.การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการปลูกพืช
1.ประเภทของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืช
1.1เครื่องมือที่ใช้ในการเตรียมดินและพรวนดิน เพื่อให้ดินเหมาะแก่การเจริญเติบโต เช่น จอบ เสียม เป็นต้น
1.2 เครื่องมือที่ใช้ปฏิบัติดูแลบารุงรักษาพืชเป็นเครื่องมือที่ใช้ให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เช่น มีด กรรไกร เป็นต้น
1.3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บเกี่ยว ใช้ในการเก็บเกี่ยวเพื่อนาไปบริโภค แปรรูป เช่น เคียว ตะกร้อ เป็นต้น
1.4 เครื่องมือบริการพิเศษ เป็นเครื่องมือที่ช่วยทาให้การทางานสะดวกขึ้น เช่น เครื่องฝัดมือ เครื่องหว่านเมล็ดพืช
2.หลักการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการปลูกพืช หลักการใช้เครื่องมือมีดังนี้
2.1 ศึกษาวิธีการใช้เครื่องมือจากคู่มือการใช้งานของชนิดนั้นๆ
2.2 ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับงาน
2.3 ขณะใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานไม่ควรหยอกล้อ
2.4 เมื่อปฏิบัติงานเสร็จแล้วหรืออยู่ในระหว่างพักงานควรเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบในที่จัดเก็บ
2.5 ผู้ปฏิบัติงานควรแต่งกายให้รัดกุมและเหมาะสมกับงานนั้นๆ
3.หลักการเก็บรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการปลูกพืชควรปฏิบัติ ดังนี้
3.1 เครื่องมือทุกชนิดควรเก็บไว้ในโรงเรือนให้มิดชิด
3.2 เครื่องมือที่มีชิ้นส่วนเป็นโลหะควรชะโลมด้วยน้ามันกันสนิมหลังการใช้งานทุกครั้ง
3.3ควรอัดจารบีหล่อลื่นในชิ้นส่วนที่มีความเคลื่อนไหวและเสียดสีกันของโลหะ
3.4 เครื่องมือที่มีจานวนมากละชิ้นเล็กควรวางบนแผ่นใส่เครื่องมือให้เรียบร้อย
3.5 ควรดูแลเครื่องมืออุปกรณ์ที่ผู้อื่นหยิบยืมไปใช้ ซึ่งอาจจะมีการสึกหรอหรือเสียหายเกิดขึ้น
4.การเตรียมดินปลูกพืช
โดยทั่วไปการเตรียมดินปลูกพืชมี 3 ลักษณะ ดังนี้
1.การเตรียมดินเพาะเมล็ดหรือเพาะกล้าในภาชนะ อาจใช้ดินผสมซึ่งมีอยู่หลายชนิดหรือหลายสูตรด้วยกัน ดังนี้
สูตรที่ 1 ดินร่วน 3 ส่วน ปุ๋ ยหมัก 1 ส่วน ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน
สูตรที่ 2 ดินร่วน 1 ส่วน ทรายหยาบ 1 ส่วน ปุ๋ ยหมัก 1 ส่วน ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน
สูตรที่ 3 ดินร่วน 6 ส่วน ปุ๋ ยหมักหรือปุ๋ ยคอก 2 ส่วน ทรายหยาบ 1 ส่วน
วิธีการผสมดินคือนาส่วนผสมที่มีน้าหนักมากไว้ล่างสุด โดยใช้จอบหรือพลั่วพลิกส่วนผสมของดินและวัสดุอื่นๆ จาก
ข้างล่างขึ้นข้างบนกลับไปกลับมาจนส่วนผสมเข้ากัน แล้วจึงนามาใส่ภาชนะที่เตรียมไว้เกลี่ยหน้าดินให้เรียบแล้วโรยเมล็ด
2.การเตรียมดินเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ มีขั้นตอนในการเตรียม ดังนี้
2.1 กาจัดวัชพืชและวัสดุอื่นๆ เช่น ก้อนหิน กรวด กิ่งไม้ขยะ ออกจากบริเวณแปลงเพาะให้หมด
2.2 ใช้จอบขุด โดยขุดดินให้ลึกอย่างน้อยหน้าจอบหรือลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร และพลิกดินชั้นล่างขึ้นมาข้างบน
2.3 ย่อยดินให้ละเอียดและเก็บเศษวัชพืชออกอีกครั้ง
2.4 ขนาดของแปลงเพาะควรกว้างประมาณ 1 เมตร ความยาวแล้วแต่ปริมาณต้นกล้าที่ใช้ขอบแปลงสูงประมาณ 15-20 เซนติเมตร เพื่อ
ระบายน้าได้ดียิ่งขึ้น
2.5 แปลงเพาะควรมีหลังคาที่ทาด้วยใบจากหรือทางมะพร้าวหรือตาข่ายกรองแสง เพื่อป้องกันแสงแดด ลมและฝน
3.การเตรียมดินปลูกพืชเฉพาะอย่าง แต่ละชนิดจะมีวิธีการที่แตกต่างกันไป ดังนี้
การเตรียมดินปลูกพืชผักสวนครัว โดยทั่วไปพื้นที่ปลูกจะมีขนาด 1*4 เมตร มีวิธีการปลูก ดังนี้
-กาจัดวัชพืชและวัสดุอื่นๆ
- ใช้ไม้ปักเพื่อกาหนดขนาดของแปลงที่ปลูกทั้ง4 มุม
- ใช้จอบขุดพลิกหน้าดินชั้นล่างมาชั้นบนให้ลึก 15-30 เซนติเมตร ตากให้แห้ง 2-3 วัน
- ใช้เสียมย่อยดินในแปลงให้ร่วนและเก็บวัชพืชออกอีกครั้ง
- ใส่ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมัก ปริมาณ 4-5 ปิ๊ป ต่อพื้นที่ 4 ตารางเมตร และผสมให้เข้ากัน
- ปรับตกแต่งแปลงปลูกให้สวยงาม
การเตรียมดินปลูกไม้กระถาง
คุณสมบัติของดินที่ใช้ปลูก คือ มีน้าหนักเบา ลักษณะโปร่ง มีธาตุอาหารเพียงพอตามความต้องการของพืช ไม่มีฤทธิ์เป็นกรดหรือด่างจัดและหา
ง่ายมีราคาถูก
ส่วนผสมของดินที่ใช้ปลูก คือ ดินร่วน อินทรียวัตถุ ปุ๋ ยคอก และทรายหยาบ อย่างละ1 ส่วนโดยปริมาตร
วิธีการผสมดิน ทาได้โดยนาเอาส่วนผสมทั้ง 4 ส่วน มากองรวมกันเป็นชั้นๆและจัดให้วัตถุที่หนักอยู่ชั้นบนสุดแล้วใช้พลั่วตักส่วนผสมออกจาก
ชั้นล่างขึ้นชั้นบน พลิกกองวัสดุจนกว่าส่วนผสมจะเข้ากัน
การปลูกไม้ยืนต้น สามารถทาได้ดังนี้
-ขุดหลุมปลูกไม้ยืนต้นมีความกว้าง ความยาวและความลึก 1เมตร
- การขุดควรแยกหน้าดินชั้นบนและดินชั้นล่างไว้คนละข้างของปากหลุม
- เมื่อขุดแล้วควรตากดินไว้ประมาณ10-15 เซนติเมตร เพื่อฆ่าเชื้อโรค
- ใช้หญ้าแห้งหรือฟางแห้งรองที่บริเวณก้นหลุม ให้หนาประมาณ 50 เซนติเมตร
- ใส่ปุ๋ ยคอกแห้งประมาณ 1-2 ปิ๊ป ผสมกับดินนั้นบนในหลุมและใส่ดินผสมคือ ดินร่วน 2 ส่วนและปุ๋ ยหมัก 1 ส่วน ผสมคลุกเคล้าให้เต็มหลุม
5.การเตรียมพันธุ์พืช
1.วัตถุประสงค์ของการเตรียมพันธุ์ มีดังนี้
1.1 เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ปลูกถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ปลูก
1.2 เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ดี
1.3 เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ให้ผลผลิตสูงทั้งปริมาณและคุณภาพ
1.4 เพื่อให้ได้พันธุ์พืชในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการที่จะปลูก
1.5 การเตรียมต้นพันธุ์ที่มีอายุเท่าๆกันจะทาให้ผู้ปลูกได้รับผลผลิตพร้อมกันทั้งแปลง
2.หลักการคัดเลือกพันธุ์
2.1 ควรเป็นพันธุ์พืชที่มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นของผู้ปลูก
2.2 ควรเป็นพันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงและดีที่สุด
2.3 ควรเป็นพันธุ์พืชที่มีความต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืชในท้องถิ่น
2.4 ควรเป็นพันธุ์พืชที่ตรงกับความต้องการของตลาดและผู้บริโภค
3.แหล่งที่มาของพันธุ์ สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้
3.1 การเก็บรวบรวมพันธุ์พืชไว้ใช้เอง
3.2 การจัดซื้อจากแหล่งที่เชื่อถือได้
3.3 การจัดซื้อหรือติดต่อขอรับจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
4.วิธีการเตรียมพันธุ์พืช มี 2 ทาได้ลักษณะ ดังนี้
4.1 การเตรียมพันธุ์พืชจากเมล็ด คือ ผลที่ได้รับจากการผสมพันธุ์ระหว่างเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เมล็ดที่แก่เต็มที่สามารถนาไป
เพาะปลูกเป็นพืชต้นใหม่ได้เช่น ถั่ว ผักกาด ผักบุ้ง เป็นต้น
4.2 การเตรียมพันธุ์จากส่วนต่างๆของพืช เช่น ราก ลาต้น ใบ กิ่งหรือยอดอ่อน สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การปักชา การตอนกิ่ง การติดตา
การทาบกิ่ง การต่อกิ่งหรือการเสียบยอด เป็นต้น
ในการเพาะปลุกพืช ผู้ปลูกจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ
โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชที่จะปลูก เช่น ดิน น้า
อากาศ แสงสว่าง อุณหภูมิและธาตุอาหารของพืช เป็นต้น นอกจากนี้ควรเลือก
สถานที่ให้เหมาะสมกับชนิดของพืชที่ใช้ปลูก ตลอดจนเตรียมเครื่องมือและ
อุปกรณ์การปลูก การเตรียมพันธุ์พืช การเตรียมดินที่ใช้ในการปลูกพืชได้อย่าง
ถูกต้องตามขั้นตอน จึงจะประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

More Related Content

What's hot

ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
Joy Jantima
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
พัน พัน
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
NU
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
shikapu
 

What's hot (20)

สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
คำศัพท์พื้นฐาน ชั้น อนุบาล
คำศัพท์พื้นฐาน ชั้น อนุบาลคำศัพท์พื้นฐาน ชั้น อนุบาล
คำศัพท์พื้นฐาน ชั้น อนุบาล
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช

โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
nam--nam-thanaporn
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
Wichai Likitponrak
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Saringkharn Sriwongsa
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
chunkidtid
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Sompoii Tnpc
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
Wichai Likitponrak
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
lalipat
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
bee-28078
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
อบต. เหล่าโพนค้อ
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช (15)

โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
Soil 1
Soil  1Soil  1
Soil 1
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
 
เทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนเทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุน
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
เกษตร
เกษตรเกษตร
เกษตร
 

More from lukhamhan school

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
lukhamhan school
 

More from lukhamhan school (9)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช

  • 2. จัดทาโดย 1.นายภูมินทร์ มุ่งซ่อนกลาง เลขที่ 2 2.นายชินวัตร ทักษิณกานนท์ เลขที่ 7 3.นายทักษิณ ทักษิณกานนท์ เลขที่ 8 4.นายกฤติมา นาคามูล เลขที่ 12 5.นายจิระพงษ์ ส่งเสริม เลขที่ 14 6.นายตะวัน ตรุณจันทร์ เลขที่ 16 7.นางสาวภคณัฐ เลขะสันต์ เลขที่ 31 8.นางสาวศุภธิดา ทองลาด เลขที่ 32 9.นางสาวอาทิตติยา คุณสมบัติ เลขที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
  • 3. 1.ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปลูกพืช 1.ความลาดเอียงของพื้นที่หรือระดับความสูงต่าของพื้นที่ ควรปรับพื้นที่ปลูกพืชตามแนวระดับความสูงชันเพื่อลดการพังทลาย ของหน้าดิน 2.ขนาดของพื้นที่ ถ้าพื้นที่มีขนาดเล็กการใช้เครื่องทุ่นแรงได้ไม่สะดวกและไม่คุ้มค่ากับการลงทุนและควรเลือกพื้นที่ที่สามารถ ขยายกิจการได้ในอนาคต 3.ลักษณะของดิน 4.สถานที่ตั้งของดิน ควรเป็นพื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้กับตลาดและชุมชนเพื่อความสะดวกในการขนส่งผลผลิตออกสู่ตลาดและต้อง ป้องพื้นที่ที่ถูกต้องตามกฎหมายจะได้ไม่เกิดปัญหาในเวลาต่อมา 5.แหล่งน้า โดยทั่วไปเราสามารถใช้น้าในการทาการเกษตรจากแหล่งต่างๆดังนี้ 5.1.น้าจากแหล่งน้าธรรมชาติเกิดจากน้าฝนที่ไหลมารวมกัน โดยจะมีปุ๋ ยและธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ปะปนด้วยอยู่เสมอ 5.2.แหล่งน้าใต้ดิน เมื่อฝนตกแล้วก็จะไหลซึมผ่านลงไปในชั้นดินจนถึงชั้นหินที่ไม่สามารถไหลลงได้อีกน้าใต้ดินมีอยู่หลาย ระดับจะมีความลึก ตื้น ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับสภาพของพื้นที่ 5.3.น้าจากอ่างเก็บน้าเหมือง ฝายและเขื่อน มีความสาคัญต่อการเพาะปลูกเป็นอย่างมากโดยเฉพาะฤดูแล้งน้าจากแหล่งนี้จะช่วย ให้พืชมีการเจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอ
  • 4. 1.ดิน หมายถึง วัตถุที่เกิดจากการรวมตัวตามธรรมชาติของเศษหินและแร่ธาตุต่างๆที่สลายตัว เป็นชิ้นเล็กๆกับอินทรีย์วัตุที่เน่าเปื่อยผุพังรวมตัวกันเป็นชั้นๆห่อหุ้มโลก ความสาคัญ - ดินเป็นรากฐานสาหรับการเจริญเติบโตของพืชและเป็นที่ยึดเหนี่ยวของรากพืช - ดินเป็นแหล่งน้าและอากาศให้รากพืชดูดไปใช้ประโยชน์ -.ดินเป็นแหล่งธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช - ดินเป็นที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ชนิดที่เป็นประโยชน์ของพืช ส่วนประกอบของดิน คือ แร่ธาตุหรืออนินทรีย์วัตถุ อินทรียวัตถุ น้า อากาศ ประเภทของดิน โดยทั่วไปแบ่งได้3ประเภท คือดินเหนียว ที่มีขนาดเล็กที่สุด ถัดมาคือดินร่วน มีขนาดตั้งแต่ 0.002-0.05 มิลลิเมตร และดินทราย มีขนาดตั้งแต่ 0.05-2.0 การปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ 1.ดินด่าง ใส่ปุ๋ ยอินทรีย์ได้แก่ ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก เพื่อลดปฎิกิริยาทางเคมีของดิน การทดน้าเข้าแปลงปลูกพืชและกักไว้ช่วยลดความเจือจางของด่าง การไถพลิกหน้าดินด้านบนและด้านล่างและใส่ปุ๋ ยที่มีฤทธิ์ตกค้างเป็นกรด เช่น ปุ๋ ยแอมโมเนียซัลเฟต 2.ดินกรด ใส่ปูนขาวหรือปูนมาร์ลหรือขี้เถ้าแกลบลงในดิน 2.น้า น้าเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตและการเจริญเติบโตของพืช ดังนี้ 1.เป็นตัวช่วยละลายธาตุอาหารพืชที่อยู่ในดินให้อยู่ในรูปแบบของสารละลาย 2.เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์แสงของพืช 3.ทาให้เซลล์พืชเต่งตึง 4.ช่วยลาเลียงแร่ธาตุ 5.ช่วยปรับระดับอุณหภูมิภายในต้นพืชด้วยการคายน้า 2.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช
  • 5. 3.อุณหภูมิ โดยทั่วไปสามารถแบ่งพืชออกเป็น2 ประเภทดังนี้ 1.พืชเมืองหนาว เป็นพืชที่มีความต้องการอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 15-20 องศาเซลเซียส เช่น แอปเปิล ข้าวบาร์เลย์สตอเบอร์รี่ เป็นต้น แต่ถ้านา พืชเหล่านี้มาปลูกในที่ที่มีอากาศร้อนจะทาให้ใบของพืชไหม้ เนื่องจากมีการคายน้ามาก 2.พืชเมืองร้อน เป็นพืชที่มีความต้องการอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 20-40 องศาเซลเซียส เช่น ข้าวโพด มังคุดเงาะ ข้าว เป็นต้น แต่ถ้านาพืช เหล่านี้ไปปลูกในพื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่ากว่านี้มากๆก้จะทาให้พืชชักการเจริญเติบโตหรือตายได้ 4.แสงสว่าง ความสาคัญ 1.แสงมีความสาคัญต่อพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดพืชแต่ละชนิดมีความต้องการแสงสว่างไม่เท่ากัน การงอกของเมล็ดจะไม่ใช้แสงสว่างแต่ เมื่อเจริญเติบโตจึงจะใช้แสงต่างกัน 2.แสงมีอิทธิพลต่อการสร้างผลผลิตพืช แบ่งตามการตอบสนองของแสงได้3 ประเภทดังนี้ 2.1 พืชวันสั้น ต้องการแสงประมาณ 10-14 ชั่วโมงต่อวัน หรือน้อยกว่าจึงจะออกดอก เช่น มันเทศ คริสต์มาส เป็นต้น 2.2 พืชวันยาว ต้องการแสงประมาณ 14-16 ชั่วโมงต่อวัน หรือมากกว่านี้ เช่น แครอต ข้าวโอ๊ต พุดซ้อน เป็นต้น 2.3พืชที่ไม่มีปฏิกิริยาต่อช่วงแสงคือแสงไม่มีผลต่อการออกดอกของพืช เช่น แตงกวา มะเขือเทศ พริกไทย เป็นต้น 3.คุณภาพของแสง 3.1 แสงสีแดง จะช่วยส่งเสริมให้เมล็ดพืชงอกได้เร็วขึ้นรวมทั้งการเจริญเติบโตของต้นกล้าและการผลิตดอก 3.2 แสงสีน้าเงิน ทาให้เซลล์พืชแก่เร็วและช่วยกระตุ้นการสร้างคลอโรฟิลล์ในพืชมากยิ่งขึ้น 4.ความเข้มของแสง สามารถจาแนกพืชออกตามความต้องการความเข้มของแสงได้ดังนี้ 4.1 พืชในร่ม เป็นพืชที่ต้องการความเข้มของแสงต่าควรปลูกในที่ร่มมีแสงราไร เช่น เฟิร์นต่างๆ บอนสี เป็นต้น 4.2พืชกลางแจ้งเป็นพืชที่ต้องการความเข้มของแสงสูงควรปลูกกลางแจ้งให้ถูกแดดจัดทั้งวันเช่น ดาวกระจาย เข็ม เป็นต้น
  • 6. 5.อากาศ คือ กลุ่มแก๊สชนิดต่างๆซึ่งมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืชและจุลินทรีย์ต่างๆอากาศส่วนใหญ่จะแก๊ส ออกซิเจน ไนโตรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สอื่นๆปะปนอยู่เล็กน้อย แก๊สออกซิเจน - ถ้าในดินมีแก๊สออกซิเจนไม่มากพอจะทาให้รากพืชไม่เจริญเติบโตมีผลโดยตรงต่อการดูดน้า - พืชใช้แก๊สออกซิเจนเป็นวัตถุดิบที่สาคัญต่อกระบวนการหายใจ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ - ถ้ามีมากเกินไปในดินก็จะเป็นพิษต่อพืชรากพืชดูดน้าและธาตุอาหารได้น้อยลง - พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นตัวสาคัญในกระบวนการสังเคราะห์แสงหรือการปรุงอาหารของพืชเพื่อให้ได้แป้ง และน้าตาล
  • 7. 3.การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการปลูกพืช 1.ประเภทของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืช 1.1เครื่องมือที่ใช้ในการเตรียมดินและพรวนดิน เพื่อให้ดินเหมาะแก่การเจริญเติบโต เช่น จอบ เสียม เป็นต้น 1.2 เครื่องมือที่ใช้ปฏิบัติดูแลบารุงรักษาพืชเป็นเครื่องมือที่ใช้ให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เช่น มีด กรรไกร เป็นต้น 1.3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บเกี่ยว ใช้ในการเก็บเกี่ยวเพื่อนาไปบริโภค แปรรูป เช่น เคียว ตะกร้อ เป็นต้น 1.4 เครื่องมือบริการพิเศษ เป็นเครื่องมือที่ช่วยทาให้การทางานสะดวกขึ้น เช่น เครื่องฝัดมือ เครื่องหว่านเมล็ดพืช
  • 8. 2.หลักการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการปลูกพืช หลักการใช้เครื่องมือมีดังนี้ 2.1 ศึกษาวิธีการใช้เครื่องมือจากคู่มือการใช้งานของชนิดนั้นๆ 2.2 ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับงาน 2.3 ขณะใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานไม่ควรหยอกล้อ 2.4 เมื่อปฏิบัติงานเสร็จแล้วหรืออยู่ในระหว่างพักงานควรเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบในที่จัดเก็บ 2.5 ผู้ปฏิบัติงานควรแต่งกายให้รัดกุมและเหมาะสมกับงานนั้นๆ 3.หลักการเก็บรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการปลูกพืชควรปฏิบัติ ดังนี้ 3.1 เครื่องมือทุกชนิดควรเก็บไว้ในโรงเรือนให้มิดชิด 3.2 เครื่องมือที่มีชิ้นส่วนเป็นโลหะควรชะโลมด้วยน้ามันกันสนิมหลังการใช้งานทุกครั้ง 3.3ควรอัดจารบีหล่อลื่นในชิ้นส่วนที่มีความเคลื่อนไหวและเสียดสีกันของโลหะ 3.4 เครื่องมือที่มีจานวนมากละชิ้นเล็กควรวางบนแผ่นใส่เครื่องมือให้เรียบร้อย 3.5 ควรดูแลเครื่องมืออุปกรณ์ที่ผู้อื่นหยิบยืมไปใช้ ซึ่งอาจจะมีการสึกหรอหรือเสียหายเกิดขึ้น
  • 9. 4.การเตรียมดินปลูกพืช โดยทั่วไปการเตรียมดินปลูกพืชมี 3 ลักษณะ ดังนี้ 1.การเตรียมดินเพาะเมล็ดหรือเพาะกล้าในภาชนะ อาจใช้ดินผสมซึ่งมีอยู่หลายชนิดหรือหลายสูตรด้วยกัน ดังนี้ สูตรที่ 1 ดินร่วน 3 ส่วน ปุ๋ ยหมัก 1 ส่วน ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน สูตรที่ 2 ดินร่วน 1 ส่วน ทรายหยาบ 1 ส่วน ปุ๋ ยหมัก 1 ส่วน ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน สูตรที่ 3 ดินร่วน 6 ส่วน ปุ๋ ยหมักหรือปุ๋ ยคอก 2 ส่วน ทรายหยาบ 1 ส่วน วิธีการผสมดินคือนาส่วนผสมที่มีน้าหนักมากไว้ล่างสุด โดยใช้จอบหรือพลั่วพลิกส่วนผสมของดินและวัสดุอื่นๆ จาก ข้างล่างขึ้นข้างบนกลับไปกลับมาจนส่วนผสมเข้ากัน แล้วจึงนามาใส่ภาชนะที่เตรียมไว้เกลี่ยหน้าดินให้เรียบแล้วโรยเมล็ด 2.การเตรียมดินเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ มีขั้นตอนในการเตรียม ดังนี้ 2.1 กาจัดวัชพืชและวัสดุอื่นๆ เช่น ก้อนหิน กรวด กิ่งไม้ขยะ ออกจากบริเวณแปลงเพาะให้หมด 2.2 ใช้จอบขุด โดยขุดดินให้ลึกอย่างน้อยหน้าจอบหรือลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร และพลิกดินชั้นล่างขึ้นมาข้างบน 2.3 ย่อยดินให้ละเอียดและเก็บเศษวัชพืชออกอีกครั้ง 2.4 ขนาดของแปลงเพาะควรกว้างประมาณ 1 เมตร ความยาวแล้วแต่ปริมาณต้นกล้าที่ใช้ขอบแปลงสูงประมาณ 15-20 เซนติเมตร เพื่อ ระบายน้าได้ดียิ่งขึ้น 2.5 แปลงเพาะควรมีหลังคาที่ทาด้วยใบจากหรือทางมะพร้าวหรือตาข่ายกรองแสง เพื่อป้องกันแสงแดด ลมและฝน
  • 10. 3.การเตรียมดินปลูกพืชเฉพาะอย่าง แต่ละชนิดจะมีวิธีการที่แตกต่างกันไป ดังนี้ การเตรียมดินปลูกพืชผักสวนครัว โดยทั่วไปพื้นที่ปลูกจะมีขนาด 1*4 เมตร มีวิธีการปลูก ดังนี้ -กาจัดวัชพืชและวัสดุอื่นๆ - ใช้ไม้ปักเพื่อกาหนดขนาดของแปลงที่ปลูกทั้ง4 มุม - ใช้จอบขุดพลิกหน้าดินชั้นล่างมาชั้นบนให้ลึก 15-30 เซนติเมตร ตากให้แห้ง 2-3 วัน - ใช้เสียมย่อยดินในแปลงให้ร่วนและเก็บวัชพืชออกอีกครั้ง - ใส่ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมัก ปริมาณ 4-5 ปิ๊ป ต่อพื้นที่ 4 ตารางเมตร และผสมให้เข้ากัน - ปรับตกแต่งแปลงปลูกให้สวยงาม การเตรียมดินปลูกไม้กระถาง คุณสมบัติของดินที่ใช้ปลูก คือ มีน้าหนักเบา ลักษณะโปร่ง มีธาตุอาหารเพียงพอตามความต้องการของพืช ไม่มีฤทธิ์เป็นกรดหรือด่างจัดและหา ง่ายมีราคาถูก ส่วนผสมของดินที่ใช้ปลูก คือ ดินร่วน อินทรียวัตถุ ปุ๋ ยคอก และทรายหยาบ อย่างละ1 ส่วนโดยปริมาตร วิธีการผสมดิน ทาได้โดยนาเอาส่วนผสมทั้ง 4 ส่วน มากองรวมกันเป็นชั้นๆและจัดให้วัตถุที่หนักอยู่ชั้นบนสุดแล้วใช้พลั่วตักส่วนผสมออกจาก ชั้นล่างขึ้นชั้นบน พลิกกองวัสดุจนกว่าส่วนผสมจะเข้ากัน การปลูกไม้ยืนต้น สามารถทาได้ดังนี้ -ขุดหลุมปลูกไม้ยืนต้นมีความกว้าง ความยาวและความลึก 1เมตร - การขุดควรแยกหน้าดินชั้นบนและดินชั้นล่างไว้คนละข้างของปากหลุม - เมื่อขุดแล้วควรตากดินไว้ประมาณ10-15 เซนติเมตร เพื่อฆ่าเชื้อโรค - ใช้หญ้าแห้งหรือฟางแห้งรองที่บริเวณก้นหลุม ให้หนาประมาณ 50 เซนติเมตร - ใส่ปุ๋ ยคอกแห้งประมาณ 1-2 ปิ๊ป ผสมกับดินนั้นบนในหลุมและใส่ดินผสมคือ ดินร่วน 2 ส่วนและปุ๋ ยหมัก 1 ส่วน ผสมคลุกเคล้าให้เต็มหลุม
  • 11. 5.การเตรียมพันธุ์พืช 1.วัตถุประสงค์ของการเตรียมพันธุ์ มีดังนี้ 1.1 เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ปลูกถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ปลูก 1.2 เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ดี 1.3 เพื่อให้ได้ต้นพืชที่ให้ผลผลิตสูงทั้งปริมาณและคุณภาพ 1.4 เพื่อให้ได้พันธุ์พืชในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการที่จะปลูก 1.5 การเตรียมต้นพันธุ์ที่มีอายุเท่าๆกันจะทาให้ผู้ปลูกได้รับผลผลิตพร้อมกันทั้งแปลง 2.หลักการคัดเลือกพันธุ์ 2.1 ควรเป็นพันธุ์พืชที่มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นของผู้ปลูก 2.2 ควรเป็นพันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงและดีที่สุด 2.3 ควรเป็นพันธุ์พืชที่มีความต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืชในท้องถิ่น 2.4 ควรเป็นพันธุ์พืชที่ตรงกับความต้องการของตลาดและผู้บริโภค 3.แหล่งที่มาของพันธุ์ สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ 3.1 การเก็บรวบรวมพันธุ์พืชไว้ใช้เอง 3.2 การจัดซื้อจากแหล่งที่เชื่อถือได้ 3.3 การจัดซื้อหรือติดต่อขอรับจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง 4.วิธีการเตรียมพันธุ์พืช มี 2 ทาได้ลักษณะ ดังนี้ 4.1 การเตรียมพันธุ์พืชจากเมล็ด คือ ผลที่ได้รับจากการผสมพันธุ์ระหว่างเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เมล็ดที่แก่เต็มที่สามารถนาไป เพาะปลูกเป็นพืชต้นใหม่ได้เช่น ถั่ว ผักกาด ผักบุ้ง เป็นต้น 4.2 การเตรียมพันธุ์จากส่วนต่างๆของพืช เช่น ราก ลาต้น ใบ กิ่งหรือยอดอ่อน สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การปักชา การตอนกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง การต่อกิ่งหรือการเสียบยอด เป็นต้น
  • 12. ในการเพาะปลุกพืช ผู้ปลูกจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชที่จะปลูก เช่น ดิน น้า อากาศ แสงสว่าง อุณหภูมิและธาตุอาหารของพืช เป็นต้น นอกจากนี้ควรเลือก สถานที่ให้เหมาะสมกับชนิดของพืชที่ใช้ปลูก ตลอดจนเตรียมเครื่องมือและ อุปกรณ์การปลูก การเตรียมพันธุ์พืช การเตรียมดินที่ใช้ในการปลูกพืชได้อย่าง ถูกต้องตามขั้นตอน จึงจะประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้