SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ปัจจุบันถ้าจะกล่าวถึงสัตว์ที่เป็นพาหะนาโรค สัตว์อันดับต้นๆที่คิดคงไม่พ้นยุง เนื่องจากยุงเป็นพาหะนาโรค
ร้ายต่างๆที่คร่าชีวิตคนเป็นจานวนมาก ยุงเป็นพาหะนาโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้
มาลาเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น
จึงมีผู้คิดทาตัวยาเพื่อกาจัด และป้องกันยุงขึ้นมาหลายชนิด เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ามัน
ไล่ยุง เป็นต้น แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ ซึ่งทาให้ผู้ใช้บางคน
เกิดอาการแพ้ ผู้จัดทาโครงงานได้พบว่ามีชาวบ้านในท้องถิ่นได้นาใบตะไคร้หอมนามาทุบแล้วนามาวางไว้ใกล้ตัว
พบว่าสามารถไล่ยุงได้ จากการค้นคว้า ตะไคร้หอมเป็นสมุนไพรที่สามารถไล่ยุงได้ โดยใบตะไคร้หอม จะมีน้ามันหอม
ระเหยสกัดสามารถใช้ไล่แมลงได้ เมื่อนาน้ามันหอมระเหยจากตะไคร้หอม มาทดสอบกับยุงที่เป็นพาหะของโรค
มาลาเรีย ไข้เลือดออก และเท้าช้าง พบว่ามีผลป้องกันยุงกัดได้นาน 8-10 ชม.
ดังนั้น ทางกลุ่มจึงมีความคิดที่จะทาการศึกษา ค้นคว้า โดยนาตะไคร้หอมมาใช้เป็นส่วนผสมหลัก และมี
ส่วนประกอบอื่นๆ นามาผสมด้วย อาทิเช่น เปลือกส้มแห้ง ขี้เลื่อย แป้งเปียก มาใช้ในรูปผลิตภัณฑ์เป็นรูปร่างต่างๆ โดย
ให้มีส่วนผสมของใบตะไคร้และน้าตะไคร้ ซึ่งจะได้เทียนที่มีประสิทธิภาพในการไล่ยุง และ หมดปัญหาการแพ้สารเคมี
ได้
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาสมุนไพรไทยที่สามารถไล่ยุงได้
2. เพื่อศึกษาโรคที่ยุงเป็นพาหะ
3. เพื่อศึกษาอันตรายและอาการแพ้จากการใช้ยาจุดกันยุง
สมมุติฐาน
1. ยาจุดกันยุงมีสารพิษที่เป็นอันตรายอยู่
2. สมุนไพรไทยสามารถไล่ยุงได้จริง
ขอบเขตของการศึกษา
1. ขอบเขตของเนื้อหา
การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาความคิดเห็นของประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ยาจุด กันยุง และ
อาการแพ้ยาจุดกันยุงของประชาชนทั่วไป
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคว้าในเรื่องนี้ได้แก่
- ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านสายลมโชย หมู่บ้านบุญเกิด และหมู่บ้านบุญเรือง ที่ อ.ดอกคาใต้ จ.
พะเยา
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเรื่องนี้ได้แก่
- ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านสายลมโชย จานวน 10 คน
- ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านบุญเกิด จานวน 10 คน
- ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านบุญเรือง จานวน 10 คน
3. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
ตัวแปรตาม ได้แก่ ความคิดเห็นของประชาชนต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ไล่ยุงด้วย
สมุนไพรไทย
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. พาหะนาโรค หมายถึง สัตว์ที่เป็นพาหะนาโรคที่สาคัญ คือ หนู กระรอก และสัตว์กัดแทะอื่นๆ รวมทั้งสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยน้านม เช่น แมว สุนัข วัว ควาย สุกร กวาง เชื้อก่อโรคจะแพร่กระจายวนเวียนอยู่ในสัตว์ต่างๆ ได้มาก
ถึง 160 ชนิด โดยมากสัตว์เหล่านี้ได้รับเชื้อเลปโทสไปเรมาตั้งแต่วัยอ่อน แต่จะไม่เจ็บป่วย โดยเชื้อไปหลบและ
แบ่งตัว ที่หลอดไต แล้วถูกขับออกมา พร้อมกับน้าปัสสาวะเป็นระยะๆ หรือตลอดเวลาได้นานหลายเดือน ซึ่งต่าง
จากมนุษย์ที่เวลาป่วยจะมีเชื้อออกมาในปัสสาวะไม่เกิน 60 วันก็จะหมดไป บางครั้งการอพยพของสัตว์ที่เป็นพาหะ
ทาให้เชื้อแพร่กระจายได้ไกลยิ่งขึ้น การระบาดที่จังหวัดนครราชสีมา และบุรีรัมย์พบว่า เกิดจากการที่หนูจานวน
มากอพยพหนีน้าท่วมเข้ามาในนาข้าว ทาให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อของน้าในนาข้าว และในแหล่งน้าที่ชาวบ้านลงไป
จับปลา
2. โรคไข้เลือดออก หมายถึง เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งและมียุงลายเป็นพาหะนาโรค มักพบใน
เด็กอายุ 5-10 ปี ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันจาหน่าย
3. ตะไคร้ หมายถึง ตะไคร้จัดเป็นพืชล้มลุกตระกูลหญ้า ใบมีลักษณะเรียวยาว ปลายใบมีขนหนาม เป็ น
สมุนไพรไทยชนิดหนึ่งที่นิยมนามาประกอบ ซึ่งเป็นสมุนไพรไทยที่นิยมปลูกทั่วไปในบ้านเรา โดยมีถิ่นกาเนิดใน
ประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย พม่า ศรีลังกา และไทยตะไคร้เป็นทั้งยารักษาโรคและสามารถไล่ยุงได้
กรอบแนวคิดในการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ได้นาหลักการ/แนวคิด/ทฤษฎี เกี่ยวกับ การไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย ซึ่งมีสาระสาคัญ ได้แก่
อันตรายและอาการแพ้จากการใช้ยาจุดกันยุง ประกอบกับการวิจัยนี้ได้ศึกษา จากประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้าน
ผู้ศึกษาจึงได้นาหรือประยุกต์จากแนวความคิดดังกล่าวมาใช้และประมวลเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ทราบถึงอันตรายจากยุง
2. ได้ทราบถึงอันตรายจากยาจุดกันยุง
3. ได้นาสมุนไพรไทยมาใช้ขับไล่ยุงแทนยาจุดกันยุงทั่วไป
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมการใช้ยาจุดกันยุงและอาการแพ้ที่เกิดจากยาจุดกันยุง โดยลาดับเนื้อหาที่เป็น
สาระสาคัญดังต่อไปนี้
1. โรคที่เกิดจากยุง
2. ลักษณะทั่วไปของยาจุดกันยุง
3. ส่วนผสมของยาจุดกันยุง
4. ลักษณะการทางานของยาจุดกันยุง
5. อันตรายที่เกิดจากยาจุดกันยุง
6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6.1 งานวิจัยในประเทศ
6.2 งานวิจัยต่างประเทศ
โรคที่เกิดจากยุง
ในทุกๆปีมีผู้ที่เสียชีวิตจากโรคที่ยุงเป็นพาหะมากกว่า 1ล้านคนทั่วโลก และยังมีผู้ที่เจ็บป่วยจากโรคที่ยุง
เป็นพาหะมากกว่าร้อยล้านคน โรคที่ยุงเป็นพาหะที่พบในประเทศไทย มีดังนี้
1. ไข้เลือดออก หรือ ไข้เดงกี่ - มียุงลายเป็นพาหะ ไข้เลือดออกมักพบในประเทศเขตร้อนและเขตอบอุ่น
ตามชุมชนเมืองหรือกึ่งเมือง ซึ่งมีกิจกรรมของมนุษย์ และยุงหนาแน่น
2. การติดเชื้อไวรัสซิกา - เป็นโรคติดเชื้อไวรัสอุบัติใหม่ที่มียุงเป็นพาหะ และพบเป็นครั้งแรกในrhesus
monkey หรือลิงวอก โดยเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้เหลืองในป่าที่ประเทศยูกันดาในปี ค.ศ.1947 (พ.ศ. 2490) ต่อมา
จึงพบไวรัสซิกาในมนุษย์ในปี ค.ศ.1952 (พ.ศ. 2495) ในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกา และเอเชียแปซิฟิก
3. ไข้มาลาเรีย หรือ ไข้จับสั่น - มีสาเหตุจากปรสิตโปรโตซัวที่มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ มีคนประมาณ 3.2
พันล้านคน หรือประมาณครึ่งนึงของประชากรโลกมีความเสี่ยงเป็นโรคมาลาเรีย โดย 85% ของผู้ป่วยมาลาเรียในปี
ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) มาจากแอฟริกาตอนใต้
4. โรคติดเชื้อไข้สมองอักเสบ (Japanese Encephalitis) - เป็นการติดเชื้อรุนแรงที่เกิดจากไวรัสเจอี (JE :
Japanese Encephalitis) มักพบบริเวณเขตชนบทในเอเชีย การติดเชื้อเจอีส่วนใหญ่ไม่รุนแรง (มีไข้และปวดหัว)
หรือไม่มีอาการปรากฎชัด แต่จะมีผู้ติดเชื้อประมาณ 1 ใน 250 รายที่อาจมีอาการเจ็บป่วยที่รุนแรงได้
5. โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา (Chikungunya) - โรคชิคุนกุนย่าเหรือโรคไวรัสข้ออักเสบป็นโรคติดเชื้อไวรัส
ติดต่อโดยยุงลาย จะมีอาการไข้สูงและมีอาการปวดข้อ ร่วมกับอาการอื่นๆ เช่น ปวดหัว ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ข้อ
บวม หรือผื่นแดง โรคชิคุนกุนยา มักจะไม่เสียชีวิต แต่อาจรุนแรงจนถึงทาให้เกิดความพิการได้
ลักษณะทั่วไปของยาจุดกันยุง
ยาจุดกันยัง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ยากันยุงเมื่อใช้จุดสามารถออกฤทธิ์ไล่ยุงหรือฆ่ายุงได้ ยาจุดกันยุงต่าง
จากสเปรย์กันยุง และยาทากันยุงตรงที่ยาจุดกันยุงสามารถทั้งป้องกันและฆ่ายุงได้ ซึ่งลักษณะการใช้งานจะเป็น
วิธีการจุด เพื่อให้เกิดควันพิษแก่ยุง
ส่วนผสมของยาจุดกันยุง
1. สารที่ออกฤทธิ์ขับไล่และกาจัดยุง สารสังเคราะห์ไพรีทรอยด์ เช่น
1.1 แอลเลอทริน (Allethrin) มีลักษณะเป็นน้ามัน สีเหลืองอ่อน มีจุดเดือด 140 องศาเซลเซียส ละลายน้า
ได้เล็กน้อย และละลายได้ดีในตัวทาละลายอินทรีย์
1.2 ไบโอแอลเลอทริน หรือ ดี-แอลเลอทริน (Bioallethrin, d-Allethrin) ออกฤทธิ์รุนแรงกว่าแอลเลอทริน มี
ลักษณะเป็นของเหลวเหนียวเป็นยาง สีเหลืองอาพัน ไม่ละลายน้า แต่ละลายในตัวทาละลายอินทรีย์
2. วัสดุช่วยเผาไหม้ เช่น ผงไม้โกบ๊วย
3. สารยึดเกาะ เช่น แป้งจากธรรมชาติ
4. สารเติมแต่ง เช่น สี ยากันบูด
ลักษณะการทางานของยาจุดกันยุง
สารสังเคราะห์ไพรีทรอยด์ และสารสกัดธรรมชาติไพรีทริน ออกฤทธิ์ได้ดีในสัตว์จาพวกแมลง และไม่ค่อยมี
ผลต่อมนุษย์ และสัตว์ เพราะมีอัตราการซึมผ่านในระบบทางเดินอาหาร และผิวหนังน้อยมาก ซึ่งเมื่อเทียบกับ
แมลงจะออกฤทธิ์ซึมผ่านไคตินบริเวณผิวหนังของแมลงได้ดี การออกฤทธิ์เมื่อเข้าสู่ผิวหนังของแมลง สารเหล่านี้จะ
จับกับไขมันในเซลประสาทของแมลง ยับยั้งการทางานการส่งต่อกระแสประสาททาให้แมลงสั่น กระตุก เป็น
อัมพาต และตายในที่สุด
อันตรายที่เกิดจากยาจุดกันยุง
หลายๆคนมักจุดยากันยุงเพื่อไล่ยุงในบริเวณที่มีคนอยู่ ซึ่งทาให้เกิดการสูดดมสารที่ระเหยจากกันยุงเข้าไป
ในร่างกาย โดยอาการเบื้องต้นของการสูดดมสารระเหยนี้อาจไม่รุนแรงมากนัก คุณอาจแค่รู้สึกหายใจติดๆขัดๆ
หายใจไม่สะดวกเท่านั้น แต่ผลที่ร้ายแรงกว่านั้นจากการสูดดมสารระเหยจากยาจุดกันยุงนี้จะเกิดในไม่ช้า เพราะ
มันจะเข้าไปสะสมในร่างกายของคุณเรื่อยๆ ซึ่งความร้ายแรงของสารระเหยจากยาจุดกันยุงนี้เทียบเท่าได้กับการสูด
ดมควันจากบุหรี่เข้าไป โดยอันตรายจากสารระเหยของยาจุดกันยุงที่มากกว่าแค่การรู้สึกหายใจไม่สะดวก คือสาร
ระเหยจากยาจุดกันยุงจะเข้าไปทาลายเยื่อบุเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน จะทาให้หลอดลมและกล่องเสียง
อักเสบ อีกทั้งยังเข้าไปทาลายปอด ทรวงอก ทางเดินอาหาร ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ นอกจากนั้นทาให้เกิด
อาการหายใจถี่ๆรัว รู้สึกวิงเวียนปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน การสัมผัสทางผิวหนังก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่าง
แรง
อันตรายที่เกิดจากยาจุดกันยุง (ต่อ)
สามารถซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย การกลืนหรือกินเข้าไป ทาให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน และอาจเป็น
อันตรายถึงชีวิตได้ หากสารจากยาจุดกันยุงเข้าตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทาให้มีอาการตาแดง รู้สึกเจ็บตา
น้าตาจะไหลออกมา และสารจากยาจุดกันยุงนี้ยังเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ของมารดาอีกด้วย
หากคุณมีความจาเป็นต้องใช้ยาจุดกันยุงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ข้อแนะนาที่ดีที่สุด คือ ให้จุดยากันยุงใน
บริเวณที่ไม่มีคนอยู่เท่านั้น หรือจุดให้ห่างจากบริเวณที่มีคนอยู่เพื่อจะได้ไม่สูดดมสารจากยากันยุงเข้าสู่ร่างกาย ทั้ง
หลังการสัมผัสโดนยาจุดกันยุงต้องล้างให้สะอาดทันที
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยในประเทศ
นายเกียรติศักดิ์ สายสดและคณะได้กล่าวว่า
“โครงงานเรื่อง ตะไคร้หอมไล่ยุง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการศึกษาหาสมุนไพรที่สามารถใช้ป้องกัน
ยุงได้ และ เพื่อเป็นการนาสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ได้ โดยศึกษาประสิทธิภาพการไล่ยุงซึ่งได้จัดทาการทดลองขึ้นมา
โดยการนาตะไคร้หอม มาสับละเอียดแล้วนาไปวางในที่ที่มียุงชุม ซึ่งผลจากการทดลองพบว่าตะไคร้ ที่สับละเอียด
สามารถไล่ยุงได้จริง เพราะใบของตะไคร้อุดมไปด้วยน้ามันหอมระเหย มีส่วนประกอบที่สาคัญในการออกฤทธิ์
คือ camphor , cineol , eugenol , linalool , citronellal และ citral ซึ่งมีฤทธิ์ในการไล่ยุงได้ดี ดังนั้นสารที่อยู่ใน
ตะไคร้หอมสามารถไล่ยุงได้จริง”
งานวิจัยต่างประเทศ
Sandeep Salvi, Chest Research Foundation Director said :
As a result peoples are exposed to a chemically complex mosquito-coil smoke
small particles (< 1 µm), metal fumes, and vapors that may reach the alveolar region of the lung.
Burning of one mosquito coil would release the same amount of particulate matter (PM)
2.5 mass as burning 75-137 cigarettes; the emission of formaldehyde from burning one coil can be as
high as that released from burning 51 cigarettes.
“Not many people know about it, but the damage done to your lungs by one mosquito coil is equivalent
to the damage done by 100 cigarettes."
To avoid exposure from harmful chemically complex mosquito-coil smoke, usage of
natural mosquito repellents is one of the best alternative methods.
Studies have shown that the best natural mosquito repellents usually contain more than
just one type of oil.
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านสายลมโชย หมู่บ้านบุญเกิด หมู่บ้านบุญ
เรือง อ.ดอกคาใต้ จ.พะเยา จานวน 30 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น แบบสอบถาม (Questionnaire) ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเองซึ่ง แบบสอบถาม
แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เป็น ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการกาจัดยุง
ตอนที่ 2 เป็น ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยากันยุง
ตอนที่ 3 เป็น ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ยากันยุงแบบจุด
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการศึกษาค้นคว้าผ่านอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีขั้นตอนในการดาเนินงาน
ดังนี้
1. ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธี สัมภาษณ์ และเก็บรวบรวมข้อมูลกลับด้วยการเรียกเก็บคืนจาก
ผู้ทาแบบสอบถาม
2. ได้รับแบบสอบถามกลับคืนและตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามแล้ว มีความสมบูรณ์จานวน
30 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ100
3. นาแบบสอบถาม มาตรวจให้คะแนนดังนี้(ในกรณีของแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า)
มีความคิดเห็น มากที่สุด ให้ 5 คะแนน
มีความคิดเห็น มาก ให้ 4 คะแนน
มีความคิดเห็น ปานกลาง ให้ 3 คะแนน
มีความคิดเห็น น้อย ให้ 2 คะแนน
มีความคิดเห็น น้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน
4. นาคะแนนที่ได้จัดพิมพ์ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อเตรียมการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
สรุปผลการศึกษา
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. สมุนไพรไทยบางชนิดสามารถไล่ยุงได้
2. ยากันยุงสมุนไพรแบบจุดสามารถลดปริมาณการแพ้ยากันยุงได้
3. ชาวบ้านส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการไล่ยุงหรือการกาจัดยุงภายในครัวเรือนโดยการใช้ยากันยุงแบบจุด
อภิปรายผล
จากการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า ยาจุดกันยุงที่ทาจาก
สมุนไพรไทยสามารถไล่ยุงและลดปริมาณการแพ้ยากันยุงได้
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะสาหรับการนาไปใช้
1.ให้ผู้นาชุมชนให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุง รวมถึงวิธีที่กาจัดยุงที่ปลอดภัยแก่คนด้วย
2. ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของยาจุดกันยุงรวมถึงส่วนประกอบที่เป็นอันตรายแก่คนด้วย
ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาต่อไป
1. ควรศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้ชนิดยากันยุงอื่นๆประกอบด้วย
2. ควรศึกษาความคิดเห็นของประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงที่พบเจอ
3. ควรศึกษาความคิดเห็นของเทศบาลเกี่ยวกับวิธีกาจัดยุงภายในตาบลหรืออาเภอ
1. นาย ภัทรภพ กันทะสาร เลขที่ 10
2. นางสาว ชลธิฌา สุขแก้ว เลขที่ 19
3. นางสาว มณีรัตน์ แก้วประภา เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ครูที่ปรึกษา คุณครู ศศิอร ศักดิ์กิตติพงศา
คุณครู จิรสุดา กุมาลี

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศโครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศThrus Teerakiat
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองพัน พัน
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศโครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 

Viewers also liked

Jesus Christus maak jou gesond en heel en ryk
Jesus Christus maak jou gesond en heel en rykJesus Christus maak jou gesond en heel en ryk
Jesus Christus maak jou gesond en heel en rykLord Jesus Christ
 
CINEFORUM: los limoneros
CINEFORUM: los limonerosCINEFORUM: los limoneros
CINEFORUM: los limonerosDones en Xarxa
 
Indian startups- How they effect the economy
Indian startups- How they effect the economyIndian startups- How they effect the economy
Indian startups- How they effect the economyMohit Jaswani
 
Periodic Reassessment, Continuous Improvement of Finance Operations
Periodic Reassessment, Continuous Improvement of Finance OperationsPeriodic Reassessment, Continuous Improvement of Finance Operations
Periodic Reassessment, Continuous Improvement of Finance OperationsCognizant
 
Manual security outdoor camera presence - netatmo
Manual   security outdoor camera presence - netatmoManual   security outdoor camera presence - netatmo
Manual security outdoor camera presence - netatmoDomotica daVinci
 

Viewers also liked (9)

Jesus Christus maak jou gesond en heel en ryk
Jesus Christus maak jou gesond en heel en rykJesus Christus maak jou gesond en heel en ryk
Jesus Christus maak jou gesond en heel en ryk
 
Osuuskunnan perustaminen
Osuuskunnan perustaminenOsuuskunnan perustaminen
Osuuskunnan perustaminen
 
CINEFORUM: los limoneros
CINEFORUM: los limonerosCINEFORUM: los limoneros
CINEFORUM: los limoneros
 
Indian startups- How they effect the economy
Indian startups- How they effect the economyIndian startups- How they effect the economy
Indian startups- How they effect the economy
 
Periodic Reassessment, Continuous Improvement of Finance Operations
Periodic Reassessment, Continuous Improvement of Finance OperationsPeriodic Reassessment, Continuous Improvement of Finance Operations
Periodic Reassessment, Continuous Improvement of Finance Operations
 
JD Edwards EnterpriseOne Process Manufacturing Presentation Quest Infocus 2016
JD Edwards EnterpriseOne Process Manufacturing Presentation Quest Infocus 2016JD Edwards EnterpriseOne Process Manufacturing Presentation Quest Infocus 2016
JD Edwards EnterpriseOne Process Manufacturing Presentation Quest Infocus 2016
 
Clase 3 once
Clase 3 onceClase 3 once
Clase 3 once
 
Manual security outdoor camera presence - netatmo
Manual   security outdoor camera presence - netatmoManual   security outdoor camera presence - netatmo
Manual security outdoor camera presence - netatmo
 
BURNS
BURNSBURNS
BURNS
 

Similar to ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย

8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์Sathit Seethaphon
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง Nitikan2539
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
คู่มือนักขาย
คู่มือนักขายคู่มือนักขาย
คู่มือนักขายVirak Taratower
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 

Similar to ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย (12)

สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
 
8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
คู่มือนักขาย
คู่มือนักขายคู่มือนักขาย
คู่มือนักขาย
 
Pest control
Pest controlPest control
Pest control
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 

ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย

  • 1.
  • 2. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ปัจจุบันถ้าจะกล่าวถึงสัตว์ที่เป็นพาหะนาโรค สัตว์อันดับต้นๆที่คิดคงไม่พ้นยุง เนื่องจากยุงเป็นพาหะนาโรค ร้ายต่างๆที่คร่าชีวิตคนเป็นจานวนมาก ยุงเป็นพาหะนาโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้ มาลาเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น จึงมีผู้คิดทาตัวยาเพื่อกาจัด และป้องกันยุงขึ้นมาหลายชนิด เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ามัน ไล่ยุง เป็นต้น แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ ซึ่งทาให้ผู้ใช้บางคน เกิดอาการแพ้ ผู้จัดทาโครงงานได้พบว่ามีชาวบ้านในท้องถิ่นได้นาใบตะไคร้หอมนามาทุบแล้วนามาวางไว้ใกล้ตัว พบว่าสามารถไล่ยุงได้ จากการค้นคว้า ตะไคร้หอมเป็นสมุนไพรที่สามารถไล่ยุงได้ โดยใบตะไคร้หอม จะมีน้ามันหอม ระเหยสกัดสามารถใช้ไล่แมลงได้ เมื่อนาน้ามันหอมระเหยจากตะไคร้หอม มาทดสอบกับยุงที่เป็นพาหะของโรค มาลาเรีย ไข้เลือดออก และเท้าช้าง พบว่ามีผลป้องกันยุงกัดได้นาน 8-10 ชม. ดังนั้น ทางกลุ่มจึงมีความคิดที่จะทาการศึกษา ค้นคว้า โดยนาตะไคร้หอมมาใช้เป็นส่วนผสมหลัก และมี ส่วนประกอบอื่นๆ นามาผสมด้วย อาทิเช่น เปลือกส้มแห้ง ขี้เลื่อย แป้งเปียก มาใช้ในรูปผลิตภัณฑ์เป็นรูปร่างต่างๆ โดย ให้มีส่วนผสมของใบตะไคร้และน้าตะไคร้ ซึ่งจะได้เทียนที่มีประสิทธิภาพในการไล่ยุง และ หมดปัญหาการแพ้สารเคมี ได้
  • 3. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาสมุนไพรไทยที่สามารถไล่ยุงได้ 2. เพื่อศึกษาโรคที่ยุงเป็นพาหะ 3. เพื่อศึกษาอันตรายและอาการแพ้จากการใช้ยาจุดกันยุง สมมุติฐาน 1. ยาจุดกันยุงมีสารพิษที่เป็นอันตรายอยู่ 2. สมุนไพรไทยสามารถไล่ยุงได้จริง
  • 4. ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตของเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาความคิดเห็นของประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ยาจุด กันยุง และ อาการแพ้ยาจุดกันยุงของประชาชนทั่วไป 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคว้าในเรื่องนี้ได้แก่ - ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านสายลมโชย หมู่บ้านบุญเกิด และหมู่บ้านบุญเรือง ที่ อ.ดอกคาใต้ จ. พะเยา 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเรื่องนี้ได้แก่ - ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านสายลมโชย จานวน 10 คน - ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านบุญเกิด จานวน 10 คน - ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านบุญเรือง จานวน 10 คน 3. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ตัวแปรตาม ได้แก่ ความคิดเห็นของประชาชนต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ไล่ยุงด้วย สมุนไพรไทย
  • 5. นิยามศัพท์เฉพาะ 1. พาหะนาโรค หมายถึง สัตว์ที่เป็นพาหะนาโรคที่สาคัญ คือ หนู กระรอก และสัตว์กัดแทะอื่นๆ รวมทั้งสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยน้านม เช่น แมว สุนัข วัว ควาย สุกร กวาง เชื้อก่อโรคจะแพร่กระจายวนเวียนอยู่ในสัตว์ต่างๆ ได้มาก ถึง 160 ชนิด โดยมากสัตว์เหล่านี้ได้รับเชื้อเลปโทสไปเรมาตั้งแต่วัยอ่อน แต่จะไม่เจ็บป่วย โดยเชื้อไปหลบและ แบ่งตัว ที่หลอดไต แล้วถูกขับออกมา พร้อมกับน้าปัสสาวะเป็นระยะๆ หรือตลอดเวลาได้นานหลายเดือน ซึ่งต่าง จากมนุษย์ที่เวลาป่วยจะมีเชื้อออกมาในปัสสาวะไม่เกิน 60 วันก็จะหมดไป บางครั้งการอพยพของสัตว์ที่เป็นพาหะ ทาให้เชื้อแพร่กระจายได้ไกลยิ่งขึ้น การระบาดที่จังหวัดนครราชสีมา และบุรีรัมย์พบว่า เกิดจากการที่หนูจานวน มากอพยพหนีน้าท่วมเข้ามาในนาข้าว ทาให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อของน้าในนาข้าว และในแหล่งน้าที่ชาวบ้านลงไป จับปลา 2. โรคไข้เลือดออก หมายถึง เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งและมียุงลายเป็นพาหะนาโรค มักพบใน เด็กอายุ 5-10 ปี ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันจาหน่าย 3. ตะไคร้ หมายถึง ตะไคร้จัดเป็นพืชล้มลุกตระกูลหญ้า ใบมีลักษณะเรียวยาว ปลายใบมีขนหนาม เป็ น สมุนไพรไทยชนิดหนึ่งที่นิยมนามาประกอบ ซึ่งเป็นสมุนไพรไทยที่นิยมปลูกทั่วไปในบ้านเรา โดยมีถิ่นกาเนิดใน ประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย พม่า ศรีลังกา และไทยตะไคร้เป็นทั้งยารักษาโรคและสามารถไล่ยุงได้
  • 6. กรอบแนวคิดในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ได้นาหลักการ/แนวคิด/ทฤษฎี เกี่ยวกับ การไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย ซึ่งมีสาระสาคัญ ได้แก่ อันตรายและอาการแพ้จากการใช้ยาจุดกันยุง ประกอบกับการวิจัยนี้ได้ศึกษา จากประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้าน ผู้ศึกษาจึงได้นาหรือประยุกต์จากแนวความคิดดังกล่าวมาใช้และประมวลเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงอันตรายจากยุง 2. ได้ทราบถึงอันตรายจากยาจุดกันยุง 3. ได้นาสมุนไพรไทยมาใช้ขับไล่ยุงแทนยาจุดกันยุงทั่วไป
  • 7. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมการใช้ยาจุดกันยุงและอาการแพ้ที่เกิดจากยาจุดกันยุง โดยลาดับเนื้อหาที่เป็น สาระสาคัญดังต่อไปนี้ 1. โรคที่เกิดจากยุง 2. ลักษณะทั่วไปของยาจุดกันยุง 3. ส่วนผสมของยาจุดกันยุง 4. ลักษณะการทางานของยาจุดกันยุง 5. อันตรายที่เกิดจากยาจุดกันยุง 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.1 งานวิจัยในประเทศ 6.2 งานวิจัยต่างประเทศ
  • 8. โรคที่เกิดจากยุง ในทุกๆปีมีผู้ที่เสียชีวิตจากโรคที่ยุงเป็นพาหะมากกว่า 1ล้านคนทั่วโลก และยังมีผู้ที่เจ็บป่วยจากโรคที่ยุง เป็นพาหะมากกว่าร้อยล้านคน โรคที่ยุงเป็นพาหะที่พบในประเทศไทย มีดังนี้ 1. ไข้เลือดออก หรือ ไข้เดงกี่ - มียุงลายเป็นพาหะ ไข้เลือดออกมักพบในประเทศเขตร้อนและเขตอบอุ่น ตามชุมชนเมืองหรือกึ่งเมือง ซึ่งมีกิจกรรมของมนุษย์ และยุงหนาแน่น 2. การติดเชื้อไวรัสซิกา - เป็นโรคติดเชื้อไวรัสอุบัติใหม่ที่มียุงเป็นพาหะ และพบเป็นครั้งแรกในrhesus monkey หรือลิงวอก โดยเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้เหลืองในป่าที่ประเทศยูกันดาในปี ค.ศ.1947 (พ.ศ. 2490) ต่อมา จึงพบไวรัสซิกาในมนุษย์ในปี ค.ศ.1952 (พ.ศ. 2495) ในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกา และเอเชียแปซิฟิก 3. ไข้มาลาเรีย หรือ ไข้จับสั่น - มีสาเหตุจากปรสิตโปรโตซัวที่มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ มีคนประมาณ 3.2 พันล้านคน หรือประมาณครึ่งนึงของประชากรโลกมีความเสี่ยงเป็นโรคมาลาเรีย โดย 85% ของผู้ป่วยมาลาเรียในปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) มาจากแอฟริกาตอนใต้ 4. โรคติดเชื้อไข้สมองอักเสบ (Japanese Encephalitis) - เป็นการติดเชื้อรุนแรงที่เกิดจากไวรัสเจอี (JE : Japanese Encephalitis) มักพบบริเวณเขตชนบทในเอเชีย การติดเชื้อเจอีส่วนใหญ่ไม่รุนแรง (มีไข้และปวดหัว) หรือไม่มีอาการปรากฎชัด แต่จะมีผู้ติดเชื้อประมาณ 1 ใน 250 รายที่อาจมีอาการเจ็บป่วยที่รุนแรงได้ 5. โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา (Chikungunya) - โรคชิคุนกุนย่าเหรือโรคไวรัสข้ออักเสบป็นโรคติดเชื้อไวรัส ติดต่อโดยยุงลาย จะมีอาการไข้สูงและมีอาการปวดข้อ ร่วมกับอาการอื่นๆ เช่น ปวดหัว ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ข้อ บวม หรือผื่นแดง โรคชิคุนกุนยา มักจะไม่เสียชีวิต แต่อาจรุนแรงจนถึงทาให้เกิดความพิการได้
  • 9. ลักษณะทั่วไปของยาจุดกันยุง ยาจุดกันยัง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ยากันยุงเมื่อใช้จุดสามารถออกฤทธิ์ไล่ยุงหรือฆ่ายุงได้ ยาจุดกันยุงต่าง จากสเปรย์กันยุง และยาทากันยุงตรงที่ยาจุดกันยุงสามารถทั้งป้องกันและฆ่ายุงได้ ซึ่งลักษณะการใช้งานจะเป็น วิธีการจุด เพื่อให้เกิดควันพิษแก่ยุง ส่วนผสมของยาจุดกันยุง 1. สารที่ออกฤทธิ์ขับไล่และกาจัดยุง สารสังเคราะห์ไพรีทรอยด์ เช่น 1.1 แอลเลอทริน (Allethrin) มีลักษณะเป็นน้ามัน สีเหลืองอ่อน มีจุดเดือด 140 องศาเซลเซียส ละลายน้า ได้เล็กน้อย และละลายได้ดีในตัวทาละลายอินทรีย์ 1.2 ไบโอแอลเลอทริน หรือ ดี-แอลเลอทริน (Bioallethrin, d-Allethrin) ออกฤทธิ์รุนแรงกว่าแอลเลอทริน มี ลักษณะเป็นของเหลวเหนียวเป็นยาง สีเหลืองอาพัน ไม่ละลายน้า แต่ละลายในตัวทาละลายอินทรีย์ 2. วัสดุช่วยเผาไหม้ เช่น ผงไม้โกบ๊วย 3. สารยึดเกาะ เช่น แป้งจากธรรมชาติ 4. สารเติมแต่ง เช่น สี ยากันบูด
  • 10. ลักษณะการทางานของยาจุดกันยุง สารสังเคราะห์ไพรีทรอยด์ และสารสกัดธรรมชาติไพรีทริน ออกฤทธิ์ได้ดีในสัตว์จาพวกแมลง และไม่ค่อยมี ผลต่อมนุษย์ และสัตว์ เพราะมีอัตราการซึมผ่านในระบบทางเดินอาหาร และผิวหนังน้อยมาก ซึ่งเมื่อเทียบกับ แมลงจะออกฤทธิ์ซึมผ่านไคตินบริเวณผิวหนังของแมลงได้ดี การออกฤทธิ์เมื่อเข้าสู่ผิวหนังของแมลง สารเหล่านี้จะ จับกับไขมันในเซลประสาทของแมลง ยับยั้งการทางานการส่งต่อกระแสประสาททาให้แมลงสั่น กระตุก เป็น อัมพาต และตายในที่สุด อันตรายที่เกิดจากยาจุดกันยุง หลายๆคนมักจุดยากันยุงเพื่อไล่ยุงในบริเวณที่มีคนอยู่ ซึ่งทาให้เกิดการสูดดมสารที่ระเหยจากกันยุงเข้าไป ในร่างกาย โดยอาการเบื้องต้นของการสูดดมสารระเหยนี้อาจไม่รุนแรงมากนัก คุณอาจแค่รู้สึกหายใจติดๆขัดๆ หายใจไม่สะดวกเท่านั้น แต่ผลที่ร้ายแรงกว่านั้นจากการสูดดมสารระเหยจากยาจุดกันยุงนี้จะเกิดในไม่ช้า เพราะ มันจะเข้าไปสะสมในร่างกายของคุณเรื่อยๆ ซึ่งความร้ายแรงของสารระเหยจากยาจุดกันยุงนี้เทียบเท่าได้กับการสูด ดมควันจากบุหรี่เข้าไป โดยอันตรายจากสารระเหยของยาจุดกันยุงที่มากกว่าแค่การรู้สึกหายใจไม่สะดวก คือสาร ระเหยจากยาจุดกันยุงจะเข้าไปทาลายเยื่อบุเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน จะทาให้หลอดลมและกล่องเสียง อักเสบ อีกทั้งยังเข้าไปทาลายปอด ทรวงอก ทางเดินอาหาร ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ นอกจากนั้นทาให้เกิด อาการหายใจถี่ๆรัว รู้สึกวิงเวียนปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน การสัมผัสทางผิวหนังก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่าง แรง
  • 11. อันตรายที่เกิดจากยาจุดกันยุง (ต่อ) สามารถซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย การกลืนหรือกินเข้าไป ทาให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน และอาจเป็น อันตรายถึงชีวิตได้ หากสารจากยาจุดกันยุงเข้าตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทาให้มีอาการตาแดง รู้สึกเจ็บตา น้าตาจะไหลออกมา และสารจากยาจุดกันยุงนี้ยังเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ของมารดาอีกด้วย หากคุณมีความจาเป็นต้องใช้ยาจุดกันยุงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ข้อแนะนาที่ดีที่สุด คือ ให้จุดยากันยุงใน บริเวณที่ไม่มีคนอยู่เท่านั้น หรือจุดให้ห่างจากบริเวณที่มีคนอยู่เพื่อจะได้ไม่สูดดมสารจากยากันยุงเข้าสู่ร่างกาย ทั้ง หลังการสัมผัสโดนยาจุดกันยุงต้องล้างให้สะอาดทันที งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยในประเทศ นายเกียรติศักดิ์ สายสดและคณะได้กล่าวว่า “โครงงานเรื่อง ตะไคร้หอมไล่ยุง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการศึกษาหาสมุนไพรที่สามารถใช้ป้องกัน ยุงได้ และ เพื่อเป็นการนาสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ได้ โดยศึกษาประสิทธิภาพการไล่ยุงซึ่งได้จัดทาการทดลองขึ้นมา โดยการนาตะไคร้หอม มาสับละเอียดแล้วนาไปวางในที่ที่มียุงชุม ซึ่งผลจากการทดลองพบว่าตะไคร้ ที่สับละเอียด สามารถไล่ยุงได้จริง เพราะใบของตะไคร้อุดมไปด้วยน้ามันหอมระเหย มีส่วนประกอบที่สาคัญในการออกฤทธิ์ คือ camphor , cineol , eugenol , linalool , citronellal และ citral ซึ่งมีฤทธิ์ในการไล่ยุงได้ดี ดังนั้นสารที่อยู่ใน ตะไคร้หอมสามารถไล่ยุงได้จริง”
  • 12. งานวิจัยต่างประเทศ Sandeep Salvi, Chest Research Foundation Director said : As a result peoples are exposed to a chemically complex mosquito-coil smoke small particles (< 1 µm), metal fumes, and vapors that may reach the alveolar region of the lung. Burning of one mosquito coil would release the same amount of particulate matter (PM) 2.5 mass as burning 75-137 cigarettes; the emission of formaldehyde from burning one coil can be as high as that released from burning 51 cigarettes. “Not many people know about it, but the damage done to your lungs by one mosquito coil is equivalent to the damage done by 100 cigarettes." To avoid exposure from harmful chemically complex mosquito-coil smoke, usage of natural mosquito repellents is one of the best alternative methods. Studies have shown that the best natural mosquito repellents usually contain more than just one type of oil.
  • 13. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ประชาชนทั่วไปภายในหมู่บ้านสายลมโชย หมู่บ้านบุญเกิด หมู่บ้านบุญ เรือง อ.ดอกคาใต้ จ.พะเยา จานวน 30 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น แบบสอบถาม (Questionnaire) ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเองซึ่ง แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็น ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการกาจัดยุง ตอนที่ 2 เป็น ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยากันยุง ตอนที่ 3 เป็น ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ยากันยุงแบบจุด
  • 14. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการศึกษาค้นคว้าผ่านอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีขั้นตอนในการดาเนินงาน ดังนี้ 1. ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธี สัมภาษณ์ และเก็บรวบรวมข้อมูลกลับด้วยการเรียกเก็บคืนจาก ผู้ทาแบบสอบถาม 2. ได้รับแบบสอบถามกลับคืนและตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามแล้ว มีความสมบูรณ์จานวน 30 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ100 3. นาแบบสอบถาม มาตรวจให้คะแนนดังนี้(ในกรณีของแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า) มีความคิดเห็น มากที่สุด ให้ 5 คะแนน มีความคิดเห็น มาก ให้ 4 คะแนน มีความคิดเห็น ปานกลาง ให้ 3 คะแนน มีความคิดเห็น น้อย ให้ 2 คะแนน มีความคิดเห็น น้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน 4. นาคะแนนที่ได้จัดพิมพ์ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อเตรียมการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์
  • 15. สรุปผลการศึกษา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สมุนไพรไทยบางชนิดสามารถไล่ยุงได้ 2. ยากันยุงสมุนไพรแบบจุดสามารถลดปริมาณการแพ้ยากันยุงได้ 3. ชาวบ้านส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการไล่ยุงหรือการกาจัดยุงภายในครัวเรือนโดยการใช้ยากันยุงแบบจุด อภิปรายผล จากการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า ยาจุดกันยุงที่ทาจาก สมุนไพรไทยสามารถไล่ยุงและลดปริมาณการแพ้ยากันยุงได้
  • 16. ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสาหรับการนาไปใช้ 1.ให้ผู้นาชุมชนให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุง รวมถึงวิธีที่กาจัดยุงที่ปลอดภัยแก่คนด้วย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของยาจุดกันยุงรวมถึงส่วนประกอบที่เป็นอันตรายแก่คนด้วย ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาต่อไป 1. ควรศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้ชนิดยากันยุงอื่นๆประกอบด้วย 2. ควรศึกษาความคิดเห็นของประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงที่พบเจอ 3. ควรศึกษาความคิดเห็นของเทศบาลเกี่ยวกับวิธีกาจัดยุงภายในตาบลหรืออาเภอ
  • 17. 1. นาย ภัทรภพ กันทะสาร เลขที่ 10 2. นางสาว ชลธิฌา สุขแก้ว เลขที่ 19 3. นางสาว มณีรัตน์ แก้วประภา เลขที่ 29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ครูที่ปรึกษา คุณครู ศศิอร ศักดิ์กิตติพงศา คุณครู จิรสุดา กุมาลี