SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
สมาชิกในกลุ่ม
 นาย ศราวุฒิ พรมวัน เลขที่ 5
 นาย วีระชัย จาปาสี เลขที่ 9
 นางสาว ปวีณา ศิริมา เลขที่ 20
 นางสาว วราภรณ์ อาพันธ์ เลขที่ 22
 นางสาว จุฑาทิพย์ โฮ เลขที่ 27
 นางสาว นิรันดร์รัตน์ วงศ์ชาลี เลขที่28
 นางสาว ศิวพร เกษมสิงห์ เลขที่ 31
 นางสาว นลินรัตน์ วงค์ษาเคน เลขที่38
 นางสาว เรวดี มะลิพันธ์ เลขที่ 44
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/8
ลักษณะของกระบวนการเทคโนโลยี
1.ฮาร์ดแวร์ เป็นเทคโนโลยีในรูปของเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์
2.ซอร์ฟแวร์ เป็นเทคโนโลยีในรูปของวิธีการ กระบวนการ
ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์เป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นจากฝีมือมนุษย์เพื่อตอบสนองความปรารถนา ความ
ต้องการ และเพิ่มขีดความสามารถในการทางานของมนุษย์ให้ดารงชีวิตอยู่บนโลกปัจจุบันได้อย่าง
สะดวกสบายมากขึ้น
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี
 1.1ความเป็นมาของเทคโนโลยี
ในอดีตมนุษย์ยุคหินได้สร้างเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทามาจากหิน เพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน เป็นเทคโนโลยี
อย่าง่ายๆในสมัยนั้น ต่อมามนุษย์ได้เรียนรู้และพัฒนาเทคโนโลยีมาตามลาดับ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
1.เทคโนโลยีระดับพื้นบ้าน เช่น ครกตาข้าว ยาสมุนไพร เรือพาย
2.เทคโนโลยีระดับกลาง เช่น เครื่องพ่นสารเคมี รถเกี่ยวข้าว เป็นต้น
3. เทคโนโลยีระดับสูงเช่น ยารักษาโรคแผนปัจจุบัน การตัดต่อพันธุกรรม การรักษาโรคธาลัสซีเมียด้วย
วิธีการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกาเนิด เป็นต้น
1.2 ความหมายของเทคโนโลยี
คาว่า เทคโนโลยี แปลว่า การกระทาที่มีระบบและความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พุทธศักราช 2542 หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนาเอาวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีในความหมายทั่วไป หมายถึง ผลผลิตแห่งความฉลาดของมนุษย์ในการประยุกต์ใช้
วิทยาศาสตร์และระบบความรู้ ความเข้าใจต่างๆกการฝึกฝนปฏิบัติ การแก้ปัญหาในงานต่างๆ
เทคโนโลยีเป็นวิยาการที่ใช้ความรู้ หลักการและเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาโดยอาศัย
เครื่องมือและความรู้สาขาต่างๆซึ่งมีอยู่2 ลักษณะ
1.3 ความสาคัญของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีทาให้เกิดการพัฒนาคิดค้นสิ่งต่างๆเพื่ออานวยความสะดวกสบายต่อชีวิตมนุษย์ได้อย่าง
มากมาย อีกทั้งยังเป็นตัวการสาคัญในการเข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตเป็นอย่างดี เพื่อตอบสนอง
ความต้องการของมนุษย์ด้านต่างๆ เช่น เทคโนโลยีด้านระบบการผลิต ทาให้ผลิตสินค้าในปริมาณมากขึ้น
ส่งผลให้สินค้ามีราคาถูกลง เทคโนโลยีด้านระบบบริการได้มีส่วนช่วยเพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการ
เทคโนโลยีด้านการสื่อสารที่มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกโลก
ทาให้การติดต่อถึงกันอย่างสะดวก รวดเร็ว และทาให้โลกดูเสมือนแคบลง
เป็นต้น
1.4 จุดมุ่งหมายของการใช้เทคโนโลยี
การนาเทคโนโลยีมาใช้กับงานสาขาหนึ่งสาขาใดเพื่อใช้ในการสร้างหรือผลิตชิ้นงานและซ่อมแซม
ปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานให้มีสภาพการใช้งานได้ดี ย่อมมีจุดมุ่งหมาย ดังนี้
1.ประสิทธิภาพ เทคโนโลยีจะช่วยให้การทางานบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้อย่างเที่ยงตรง แม่นยา และ
รวดเร็ว
2.ประสิทธิผล เทคโนโลยีจะช่วยให้การทางานได้ผลผลิตหรือผลสัมฤทธิ์ออกมาอย่างเต็มที่ คือ ได้
ประสิทธิผลสูงสุด
3.ประหยัด เทคโนโลยีจะช่วยให้ประหยัดเวลา แรงงาน และต้นทุนในการทางาน แต่เพิ่มผลกาไรมากขึ้น
2.ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยีก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิตของมนุษย์ดังนี้
1.ช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์ให้ดีขึ้นเพราะมนุษย์ทุกคนย่อมรักชีวิตของตนเอง
มนุษย์ก็จะพยายามขวนขวายและดิ้นรนเพื่อให้ได้สิ่งนั้นมาตอบสนองความต้องการของตน
2.ช่วยเสริมสร้างคุณภาพทางการศึกษาของมนุษย์ให้ยั่งยืนเพราะเทคโนโลยีเป็นเครื่องช่วยในการเรียนรู้
รุ่นสู่รุ่น ทาให้เทคโนโลยีมีการสานต่อและเป็นรากฐานนามาใช้พัฒนาต่อยอดสืบไป
3.ช่วยส่งเสริมการผลิตในภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม คหกรรม พาณิชยกรรม ให้มีคุณภาพและ
มาตรฐานที่ดีขึ้น
4.ช่วยส่งเสริมในการนาความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์มาสร้างหรือผลิตชิ้นงานและซ่อมแซซมปรับปรุง แก้ไข
ชิ้นงานให้มีสภาพการใช้งานได้ดี ซึ่งช่วยกระจายโอกาสและสร้างความเท่าเทียมกัน
5.ช่วยส่งเสริมการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติได้เป็นอย่างดีเพราะเทคโนโลยีช่วยสร้างความปลอดภัย
ให้กับมนุษย์ในการดารงชีวิต หรือการรักษาชีวิตจากภัยพิบัติต่างๆ
6.ช่วยเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย สุขภาพใจให้มีความแข็งแรงช่วยยืดอายุของมนุษย์ให้ยาวนานมากยิ่งขึ้นด้วย
เทคโนโลยีทางการแพทย์
7.ช่วยสร้างความบันเทิงให้แก่มนุษย์เนื่องจากปัจจุบันมีเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดให้กับ
มนุษย์หลากหลายรูปแบบ
3.ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์
อื่นๆ
ศาสตร์ หมายถึง วิชาความรู้ ส่วนเทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ให้เกิดประโยชน์
ในปัจจุบันเทคโนโลยีมีศาสตร์หรือวิชาความรู้อยู่มากมายหลายสาขาเช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
สังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น ศาสตร์หรือวิชาความรู้บางสาขาสามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็น
ความจริง การนาเอาศาสตร์หรือวิชาความรู้สาขาต่างๆมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการสร้างสิ่งของหรือการ
ปรับปรุงวิธีการทางานของมนุษย์ให้สะดวกสบายและง่ายขึ้น จึงเรียกว่า เทคโนโลยี
เทคโนโลยีสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท
1. เทคโนโลยีที่เป็นผลผลิต คือ เครื่องมือ เครื่องใช้วัสดุ อุปกรณ์ สิ่งของต่างๆที่มนุษย์สร้างขึ้นโดย
ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ ร่วมกับทักษะ ประสบการณ์ เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตให้ดีขึ้น
2. เทคโนโลยีที่เป็นวิธีการ คือ วิธีการใดวิธีการหนึ่งที่มนุษย์คิดค้นนามาใช้เพื่อให้การทางานง่าย
ขึ้น หรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การตัดต่อพันธุกรรม การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน เป็นต้น
3.1ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับ
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เพราะ ทั้งสองสาขาวิชาเป็นวิชาความรู้ที่มีอิทธิพลต่อการ
ดารงชีวิต
วิทยาศาสตร์เป็นวิชาความรู้ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่ง
ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้
1.การสังเกตหรือระบุปัญหา
2.การตั้งสมมติฐาน
3.การทดลอง
4.การรวบรวมข้อมูล
5.การสรุปผล
ขั้นตอน กระบวนการเทคโนโลยี
1.การกาหนดปัญหาหรือความต้องการ
2.การรวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหา
3.การเลือกวิธีการแก้ปัญหา
4.การออกแบบและปฏิบัติการแก้ปัญหา
5.การทดสอบ
6.การปรับปรุงแก้ไข
7.การประเมิน
3.ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับการงาน
อาชีพ
การงานอาชีพเป็นวิชาความรู้ ที่เกี่ยวกับการนาความรู้ ทักษะพื้นฐานไปปฏิบัติ เพื่อสร้างหรือ
ประดิษฐ์ชิ้นงานให้มีสภาพการใช้งานได้ดี
การงานอาชีพเป็นกลุ่มวิชาความรู้ที่ทาหน้าที่เป็นผู้สร้างเทคโนโลยีจึงเป็นกลุ่มวิชาที่มีความสาคัญ
ในการปรับปรุง ดัดแปลง เทคโนโลยีเดิมให้มีคุณภาพดีขึ้น
กระบวนการงานอาชีพ คือ กระบวนการทางานด้วยความรู้ มีทักษะขั้นตอนในการทางาน มีเจตคติที่ดี
ในการประกอบอาชีพ เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีความสุข
ขั้นตอน กระบวนการงานอาชีพ
1.การสารวจตนเอง หมายถึง การสารวจความพร้อมของตนเองในการทางาน
2.วิเคราะห์ความต้องการทางการตลาด/ธุรกิจ หมายถึง ความเป็นไปของความต้องการของตลาดอย่างชัดเจน
3.การจัดการงานอาชีพ หมายถึง การจัดระบบงานลงมือปฏิบัติงานตามลาดับขั้นตอนของการทางาน
4.การประเมินความคุ้มค่า การทางานหรือการประกอบอาชีพย่อมมีปัญหาที่จะต้องพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบ
5.การพัฒนางานอาชีพให้ดีขึ้น เป็นการมองก้าวไกลในอนาคต การปรับปรุงให้ดีขึ้น เป็นสิ่งที่ช่วยให้สุขใจ แสดงถึงความ
สมบูรณ์ มั่นคงและยั่งยืน
6.การประเมินตนเอง เป็นการตรวจสอบความต้องการของตนเองหลังจากการทางาน เพราฉะนั้นความเข้มแข็งเป็นจุดมุ่งหมาย
ของชีวิต
4.การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี
 กุญแจสาคัญที่นาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งๆขึ้นไป คือ การวิเคราะห์
 การวิเคราะห์เชิงระบบเป็นปัจจัยเดียวที่ส่งผลสะท้อนให้ทราบถึงจุดเด่น จุดด้อยของระบบเมื่อพบ
จุดด้อยก็ต้องรีบดาเนินการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาอย่างเร่งด่วนเพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิด
ขึ้นกับระบบ เมื่อพบจุดเด่นซึ่งจัดได้ว่าเป็นจุดดีของระบบแล้ว เราไม่ควรหยุดนิ่ง ต้องรีบดาเนินการ
พัฒนาต่อไป
ดังนั้น การวิเคราะห์เชิงระบบจึงส่งผลต่อการพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบนั้น
แสดงให้เห็นถึงผลแห่งการวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีที่เป็นรูปธรรม
4.1ความหมายของการวิเคราะห์ระบบ
เทคโนโลยี
การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี หมายถึง กระบวนการพิจารณาการนาเอาผลผลิตแห่งความฉลาดของมนุษย์
เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้เป็นอย่างดี ซึ่งก็คือ ผลสัมฤทธิ์ของงานนั่นเอง
ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ดีย่อมเกิดขึ้นได้จากปัจจัยหลายอย่างประกอบด้วยหลักการวิเคราะห์เบื้องต้น ดังนี้
1.การกาหนดขอบเขตหรือนิยามที่จะวิเคราะห์
2.การกาหนดจุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์
3.องค์ความรู้ที่ใช้ในการวิเคราะห์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่วิเคราะห์
4.สรุปและรายงานผลให้เป็นระบบเพื่อการพัฒนาต่อไป
4.2 ความสาคัญของการวิเคราะห์ระบบ
เทคโนโลยี
การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีนับว่ามีความสาคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยีสาขาต่างๆอย่างต่อเนื่อง
และยั่งยืน ด้วยการตรวจสอบ วัดผล ประเมินผลกระบวนการเทคโนโลยีทั้งระบบ คือ ตัวป้อน
กระบวนการ และผลลัพธ์หรือผลผลิตว่ามีปัจจัยหนึ่งปัจจัยใดที่ไม่เป็นไปตามระบบแล้วดาเนินการแก้ไข
เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งจะก่อให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้น สร้างนวัตกรรมแปลกใหม่
รวมทั้งเทคนิคและวิธีการใหม่ๆด้วย นับว่าเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในการดารงอยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข
4.3 องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี ประกอบด้วย ตัวป้อน กระบวนการ ผลลัพธ์ ทรัพยากร และปัจจัยเอื้อหรือปัจจัย
ขัดขวางต่อเทคโนโลยี
องค์ประกอบระบบเทคโนโลยี
ตัวป้อน เป็นการตั้งปัญหา วิเคราะห์ปัญหา การตั้งวัตถุประสงค์หรือป้อนวัตถุดิบ ตลอดจนข้อมูลต่างๆเพื่อการแก้ไข
กระบวนการ เป็นการรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลที่ป้อนเข้ามาเพื่อดาเนินการปฏิบัติหรือทดลองตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ทรัพยากร หมายถึง คน เครื่องมือ เวลา เทคนิค/วิธีการ วัสดุ อุปกรณ์ เงินทุน
ปัจจัยเอื้อ/ปัจจัยขัดขวาง ปัจจัยเอื้อ เป็นปัจจัยที่มีส่วนในการส่งเสริมเพื่อให้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ปัจจัยขัดขวาง
เป็นปัจจัยที่ขัดขวางให้ผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ต้องการหรือไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ เป็นผลผลิตที่ได้ออกมาภายหลังจาการดาเนินงานเมื่อกระบวนการสิ้นสุดลง
ข้อมูลย้อนกลับ เป็นการนาเอาผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์ที่ประเมินมานมาพิจารณาว่าอยู่ระดับใด มีข้อบกพร่องอย่างไร เพื่อทา
การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องส่วนต่างๆให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้การทางาน
4.4 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี
การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีเป็นการแยกแยะหรือพิจารณาส่วนประกอบและส่วนย่อยที่อยู่ในกระบวนการแต่ละกระบวน
ว่ามีความสัมพันธ์กันหรือส่วนย่อยส่วนหนึ่งส่วนใดไม่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อการปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานและเพื่อผมสัมฤทธิ์
ของงาน ประโยชน์ของการวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีสามารถสรุปได้ดังนี้
1.ช่วยพัฒนาคุณภาพของระบบเทคโนโลยี
2.ช่วยให้ทราบข้อบกพร่องในการปรับปรุงเทคนิควิธีการทางาน
3.ช่วยให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีมีความเหมาะสมกับความต้องการ
4.ช่วยให้การประเมินผลระบบเทคโนโลยีมีความเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้น
5.ช่วยป้องกันและแก้ไขผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่ถูก
6.ช่วยให้การผลิตเทคโนโลยีใหม่ๆมีการวางกรอบแนวคิดและมีการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ
7.ช่วยลดปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างยั่งยืน
8.ช่วยเผยแพร่และพัฒนาผลงานทาระบบเทคโนโลยีที่มีบทบาทต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ให้ดีขึ้น
สรุป
มนุษย์ทุกคนต่างปรารถนาความสุขซึ่งปัจจัยที่ส่งเสริมให้มนุษย์มีความสุขในยุคปัจจุบัน ส่วนหนึ่งมา
จากการนาระบบเทคโนโลยี
เข้ามาใช้ในการดารงชีวิตให้เหมาสมกับตนเองมากที่สุดหรืออย่างพอเพียง
จึงจะถือว่าเป็นการยกระดับมาตราฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น

More Related Content

More from lukhamhan school

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน lukhamhan school
 

More from lukhamhan school (8)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระบบเทคโนโลยี