SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
ให้เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นระดับ มัธยม ม. 1-6
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร
 มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการด ารงชีวิตในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
ศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยค านึงถึงผลกระทบต่อ
ชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม.1-3
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๑. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปร
ที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่
สนใจ ได้อย่าง ครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้
๒. สร้างสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้
และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
๓. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบ
ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย
โดยใช้วัสดุและเครื่องมือ
ที่เหมาะสม
๔. รวบรวมข้อมูลจัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
ชั้น ม.1
๑. อธิบายแนวคิด หลักของ เทคโนโลยีใน ชีวิตประจ
าวัน และวิเคราะห์ สาเหตุหรือปัจจัย ที่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี
๒. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการใน ชีวิตประจ าวัน
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และแนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา
๓. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหา โดย วิเคราะห์
เปรียบเทียบ และ ตัดสินใข้อมูลที่จ าเป็น น าเสนอ
แนวทาง การแก้ปัญหาให้ ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและ ด
าเนินการ แก้ปัญหา
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม.1-3
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๕.วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์
พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน
และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ
๖. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือ
แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ
๗. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่
เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ ในสถานการณ์ใหม่หรือ
อธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
๔. ทดสอบ ประเมินผล และ ระบุข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้น
พร้อมทั้ง หาแนวทางการ ปรับปรุงแก้ไข และน า
เสนอผล การแก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และ ทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
กลไก ไฟฟ้า หรือ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้
อย่างถูกต้อง เหมาะสมและ ปลอดภัยจเลือก
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .1-3
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสารวจ
ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้
ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่
ค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือ
โต้แย้งจากเดิม
๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบาย
เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือ
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
ชั้น ม.2
๑. คาดการณ์ แนวโน้ม เทคโนโลยีที่จะ เกิดขึ้นโดย
พิจารณาจาก สาเหตุ หรือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การ
เปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และวิเคราะห์
เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้ เทคโนโลยี โดย ค านึ
งถึง ผลกระทบที่ เกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และ
สิ่งแวดล้อม
๒. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการใน ชุมชนหรือ ท้องถิ่น
สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และ
แนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับ ปัญหา
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .1-3
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๓. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหา โดย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ
และตัดสินใจ เลือกข้อมูลที่ จ าเป็น ภายใต้ เงื่อนไขและ
ทรัพยากรที่มีอยู่ น าเสนอแนวทาง การแก้ปัญหาให้ ผู้อื่น
เข้าใจ วางแผน ขั้นตอนการ ท างานและ ด าเนินการ
แก้ปัญหาอย่าง เป็นขั้นตอน
๔. ทดสอบ ประเมินผล และ อธิบายปัญหา หรือ
ข้อบกพร่อง ที่เกิดขึ้น ภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหา
แนว ทางการปรับปรุง แก้ไข และ น าเสนอผลการ
แก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และ ทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
กลไก ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนา
งาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .1-3
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
ชั้น ม.3
๑. วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผล ต่อการ
เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี และ ความสัมพันธ์ของ
เทคโนโลยีกับ ศาสตร์อื่น โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์
หรือ คณิตศาสตร์ เพื่อ เป็นแนวทางการ แก้ปัญหา
หรือ พัฒนางาน
๒. ๒. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการของ ชุมชนหรือ
ท้องถิ่น เพื่อพัฒนางาน อาชีพ สรุปกรอบ ของปัญหา
รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา โดย ค านึงถึงความ ถูกต้องด้าน ทรัพย์สิน
ทาง ปัญญา
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .1-3
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๓. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหา โดย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ
ตัดสินใจเลือก ข้อมูลที่จ าเป็น ภายใต้เงื่อนไข และทรัพยากรที่มี
อยู่ น าเสนอ แนวทางการ แก้ปัญหาให้ผู้อื่น เข้าใจด้วยเทคนิค
หรือวิธีการที่ หลากหลาย วางแผนขั้นตอน การท างานและ ด
าเนินการ แก้ปัญหาอย่าง เป็นขั้นตอน
๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้ เหตุผลของปัญหา หรือ
ข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหา แนว
ทางการ ปรับปรุงแก้ไข และน าเสนอผล การแก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และ ทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก
ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ให้ ถูกต้องกับลักษณะ ของงาน และ
ปลอดภัย เพื่อแก้ไขหรือพัฒนางาน
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .4-6
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๑. ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐาน ของความรู้และความเข้าใจ
ทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นใน
ขณะนั้น ที่สามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้
อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
๒. สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์
สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลอง หรือสร้างรูปแบบ เพื่อนาไปสู่
การสารวจตรวจสอบ
๓. ค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือตัวแปร
สาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และ
จานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีความ
เชื่อมั่นอย่างเพียงพอ
ชั้น ม.4
๑. วิเคราะห์แนวคิด หลักของ เทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับ
ศาสตร์อื่น โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์
รวมทั้ง ประเมินผล กระทบที่จะ เกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม
เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทาง ในการพัฒนา
เทคโนโลยี
๒. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการที่มี ผลกระทบต่อ สังคม
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับ ปัญหา
ที่มีความ ซับซ้อนเพื่อ สังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการ
แก้ปัญหา โดย ค านึงถึงความ ถูกต้องด้าน ทรัพย์สินทาง
ปัญญา
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .4-6
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๔. เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ ที่ใช้ในการสังเกต การวัด
การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึกในเชิง
ปริมาณและคุณภาพ
๕. รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็น
ระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดย
ตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาด
ของข้อมูล
๖. จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มี
ระดับความถูกต้องและนาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธี
ที่เหมาะสม
๓. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหา โดย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ
ตัดสินใจเลือก ข้อมูลที่จ าเป็น ภายใต้เงื่อนไข และทรัพยากรที่มี
อยู่ น าเสนอ แนวทางการ แก้ปัญหาให้ผู้อื่น เข้าใจด้วยเทคนิค
หรือวิธีการที่ หลากหลาย โดย ใช้ซอฟต์แวร์ช่วย ในการออกแบบ
วางแผนขั้นตอน การท างาน และ ด าเนินการ แก้ปัญหา
๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้ เหตุผลของปัญหา หรือ
ข้อบกพร่องทเกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการ
ปรับปรุงแก้ไข และน าเสนอผล การแก้ปัญหา พร้อมทั้งเสนอ
แนวทางการ พัฒนาต่อยอด
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .4-6
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๗. วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูล และประเมินความ
สอดคล้องของข้อสรุป หรือสาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบ กับ
สมมติฐานที่ตั้งไว้
๘. พิจารณาความน่าเชื่อถือ ของวิธีการและผลการสารวจ
ตรวจสอบ โดยใช้หลักความคลาดเคลื่อน ของการวัดและ
การสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ
๙. นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการ และองค์
ความรู้ที่ได้ไปสร้าง คาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหา ใน
สถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง
๑๐. ตระหนักถึงความสาคัญ ในการที่จะต้องมีส่วนร่วม
รับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผล
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความ
ถูกต้อง
๕. ใช้ความรู้และ ทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก
ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยีที่ ซับซ้อนในการ
แก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน ได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ
ปลอดภัย
ชั้น ม.5
๑. ประยุกต์ใช้ ความรู้และ ทักษะจาก ศาสตร์ต่างๆ รวมทั้ง
ทรัพยากร ในการท า โครงงานเพื่อ แก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .4-6
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
๑๑. บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล
ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐาน
อ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับ
ว่าความรู้เดิม อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ
ประจักษ์ พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้
มีการตรวจสอบอย่างระมัดระวัง
อันจะนามาสู่ การยอมรับ เป็นความรู้ใหม่
๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และอธิบายเกี่ยวกับ
แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่น
เข้าใจ
วิพากษ์ จากการเปรียบเทียบในข้อ 1 ในแง่มุมต่างๆ โดยใช้หลักการและผลการวิจัย
หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ผ่านมา ในมุมมองของนักศึกษาครูคอม ดีหรือมีข้อจากัด
อย่างไรบ้าง
วิพากษ์วิจารณ์หลักสูตร
หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
(ปรับปรุง2560)
ข้อดี
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและเนื้อหาต่างๆ ซึ่ง
มีการเน้นที่การฝึกฝน
ข้อด้อย
ผู้เรียนขาดทักษะการคิดและเนื่องจากการเรียนแบบดั้งเดิม
ที่ค่อนข้าง direct ซึ่งถ่ายทอดได้ดีแต่ไม่มีความ
น่าสนใจและขาดการประยุกต์ใช้ ต่อยอดความรู้อีกทั้ง
ไม่ได้เน้นเทคโนโลยีมากนัก
ข้อดี
มีการเรียนแบบบูรณาการกับเทคโนโลยีมากขึ้นซึ่งเป็น
ทักษะที่สาคัญในการเรียนศตวรรษที่ 21
ข้อด้อย
หากเด็กจาดความสนใจในการเรียนก็ไม่เกิดกระบวนการ
เรียนรู้เนื่องเป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเองและการใช้เทคโนโลยี
จะต้องมีเรื่องของงบประมาณหรือค่าใช้จ่ายต่างๆซึ่ง
จะต้องมีความพร้อม
237400-2560 DESIGNING COMPUTER LEARNING
MANAGEMENT IN SECONDARY SCHOOL
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา
จัดทาโดย
นายเวโรจน์ เหลืองยวง 573050670-8
ที่ปรึกษา
ผศ.ดร. จารุณี ซามาตย์
ผศ.ดร. อิศรา ก้านจักร

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556Cher Phabet
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)Rojsak Chiablaem
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรkrutep
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54Sani Satjachaliao
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61Bordeedon Sasen
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
โครงร่างการนำสะเต็มศึกษาเข้าสู่ชั้นเรียน
โครงร่างการนำสะเต็มศึกษาเข้าสู่ชั้นเรียนโครงร่างการนำสะเต็มศึกษาเข้าสู่ชั้นเรียน
โครงร่างการนำสะเต็มศึกษาเข้าสู่ชั้นเรียนโกญจนาท คูณพูล
 

What's hot (19)

เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
 
Book design example
Book design exampleBook design example
Book design example
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็กเปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 
stem
stemstem
stem
 
2222
22222222
2222
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงร่างการนำสะเต็มศึกษาเข้าสู่ชั้นเรียน
โครงร่างการนำสะเต็มศึกษาเข้าสู่ชั้นเรียนโครงร่างการนำสะเต็มศึกษาเข้าสู่ชั้นเรียน
โครงร่างการนำสะเต็มศึกษาเข้าสู่ชั้นเรียน
 

Similar to ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร

เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรWinmixhaha TheJude
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...Meenarat Bunkanha
 
วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรYuttana Sojantuek
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรCholticha New
 
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) maitree_s
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖Kitsanee Homewong
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...HeroFirst BirdBird
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางPhunthawit
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางKAWIN TEARNWUN
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางBest Khotseekhiaw
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551narissararuksri
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...Nat Wrkt
 

Similar to ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร (20)

เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
 
วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตร
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
 
Dpu template 462-n
Dpu template 462-nDpu template 462-n
Dpu template 462-n
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 

ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร

  • 1.
  • 2. ให้เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นระดับ มัธยม ม. 1-6
  • 3. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร  มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการด ารงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยค านึงถึงผลกระทบต่อ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
  • 4. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม.1-3 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๑. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปร ที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่ สนใจ ได้อย่าง ครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้ ๒. สร้างสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้ และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ๓. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบ ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ ปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือ ที่เหมาะสม ๔. รวบรวมข้อมูลจัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ชั้น ม.1 ๑. อธิบายแนวคิด หลักของ เทคโนโลยีใน ชีวิตประจ าวัน และวิเคราะห์ สาเหตุหรือปัจจัย ที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี ๒. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการใน ชีวิตประจ าวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และแนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับ ปัญหา ๓. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหา โดย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ ตัดสินใข้อมูลที่จ าเป็น น าเสนอ แนวทาง การแก้ปัญหาให้ ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและ ด าเนินการ แก้ปัญหา
  • 5. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม.1-3 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๕.วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์ พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือ แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ ๗. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่ เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ ในสถานการณ์ใหม่หรือ อธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ๔. ทดสอบ ประเมินผล และ ระบุข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้น พร้อมทั้ง หาแนวทางการ ปรับปรุงแก้ไข และน า เสนอผล การแก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และ ทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรือ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมและ ปลอดภัยจเลือก
  • 6. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .1-3 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ ค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือ โต้แย้งจากเดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบาย เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือ ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ชั้น ม.2 ๑. คาดการณ์ แนวโน้ม เทคโนโลยีที่จะ เกิดขึ้นโดย พิจารณาจาก สาเหตุ หรือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การ เปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้ เทคโนโลยี โดย ค านึ งถึง ผลกระทบที่ เกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และ สิ่งแวดล้อม ๒. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการใน ชุมชนหรือ ท้องถิ่น สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และ แนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับ ปัญหา
  • 7. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .1-3 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๓. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหา โดย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจ เลือกข้อมูลที่ จ าเป็น ภายใต้ เงื่อนไขและ ทรัพยากรที่มีอยู่ น าเสนอแนวทาง การแก้ปัญหาให้ ผู้อื่น เข้าใจ วางแผน ขั้นตอนการ ท างานและ ด าเนินการ แก้ปัญหาอย่าง เป็นขั้นตอน ๔. ทดสอบ ประเมินผล และ อธิบายปัญหา หรือ ข้อบกพร่อง ที่เกิดขึ้น ภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหา แนว ทางการปรับปรุง แก้ไข และ น าเสนอผลการ แก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และ ทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนา งาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย
  • 8. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .1-3 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ชั้น ม.3 ๑. วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผล ต่อการ เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี และ ความสัมพันธ์ของ เทคโนโลยีกับ ศาสตร์อื่น โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ เพื่อ เป็นแนวทางการ แก้ปัญหา หรือ พัฒนางาน ๒. ๒. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการของ ชุมชนหรือ ท้องถิ่น เพื่อพัฒนางาน อาชีพ สรุปกรอบ ของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา โดย ค านึงถึงความ ถูกต้องด้าน ทรัพย์สิน ทาง ปัญญา
  • 9. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .1-3 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๓. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหา โดย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ ตัดสินใจเลือก ข้อมูลที่จ าเป็น ภายใต้เงื่อนไข และทรัพยากรที่มี อยู่ น าเสนอ แนวทางการ แก้ปัญหาให้ผู้อื่น เข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่ หลากหลาย วางแผนขั้นตอน การท างานและ ด าเนินการ แก้ปัญหาอย่าง เป็นขั้นตอน ๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้ เหตุผลของปัญหา หรือ ข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหา แนว ทางการ ปรับปรุงแก้ไข และน าเสนอผล การแก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และ ทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ให้ ถูกต้องกับลักษณะ ของงาน และ ปลอดภัย เพื่อแก้ไขหรือพัฒนางาน
  • 10. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .4-6 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๑. ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐาน ของความรู้และความเข้าใจ ทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นใน ขณะนั้น ที่สามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้ อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ๒. สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์ สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลอง หรือสร้างรูปแบบ เพื่อนาไปสู่ การสารวจตรวจสอบ ๓. ค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือตัวแปร สาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และ จานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีความ เชื่อมั่นอย่างเพียงพอ ชั้น ม.4 ๑. วิเคราะห์แนวคิด หลักของ เทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับ ศาสตร์อื่น โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมทั้ง ประเมินผล กระทบที่จะ เกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทาง ในการพัฒนา เทคโนโลยี ๒. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการที่มี ผลกระทบต่อ สังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับ ปัญหา ที่มีความ ซับซ้อนเพื่อ สังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการ แก้ปัญหา โดย ค านึงถึงความ ถูกต้องด้าน ทรัพย์สินทาง ปัญญา
  • 11. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .4-6 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๔. เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึกในเชิง ปริมาณและคุณภาพ ๕. รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็น ระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดย ตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาด ของข้อมูล ๖. จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มี ระดับความถูกต้องและนาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธี ที่เหมาะสม ๓. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหา โดย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ ตัดสินใจเลือก ข้อมูลที่จ าเป็น ภายใต้เงื่อนไข และทรัพยากรที่มี อยู่ น าเสนอ แนวทางการ แก้ปัญหาให้ผู้อื่น เข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่ หลากหลาย โดย ใช้ซอฟต์แวร์ช่วย ในการออกแบบ วางแผนขั้นตอน การท างาน และ ด าเนินการ แก้ปัญหา ๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้ เหตุผลของปัญหา หรือ ข้อบกพร่องทเกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการ ปรับปรุงแก้ไข และน าเสนอผล การแก้ปัญหา พร้อมทั้งเสนอ แนวทางการ พัฒนาต่อยอด
  • 12. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .4-6 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๗. วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูล และประเมินความ สอดคล้องของข้อสรุป หรือสาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบ กับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ ๘. พิจารณาความน่าเชื่อถือ ของวิธีการและผลการสารวจ ตรวจสอบ โดยใช้หลักความคลาดเคลื่อน ของการวัดและ การสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ ๙. นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการ และองค์ ความรู้ที่ได้ไปสร้าง คาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหา ใน สถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง ๑๐. ตระหนักถึงความสาคัญ ในการที่จะต้องมีส่วนร่วม รับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความ ถูกต้อง ๕. ใช้ความรู้และ ทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยีที่ ซับซ้อนในการ แก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน ได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย ชั้น ม.5 ๑. ประยุกต์ใช้ ความรู้และ ทักษะจาก ศาสตร์ต่างๆ รวมทั้ง ทรัพยากร ในการท า โครงงานเพื่อ แก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน
  • 13. ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ชั้น ม .4-6 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ๑๑. บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐาน อ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับ ว่าความรู้เดิม อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ ประจักษ์ พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้ มีการตรวจสอบอย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การยอมรับ เป็นความรู้ใหม่ ๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และอธิบายเกี่ยวกับ แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่น เข้าใจ
  • 14. วิพากษ์ จากการเปรียบเทียบในข้อ 1 ในแง่มุมต่างๆ โดยใช้หลักการและผลการวิจัย หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ผ่านมา ในมุมมองของนักศึกษาครูคอม ดีหรือมีข้อจากัด อย่างไรบ้าง
  • 15. วิพากษ์วิจารณ์หลักสูตร หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ปรับปรุง2560) ข้อดี ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและเนื้อหาต่างๆ ซึ่ง มีการเน้นที่การฝึกฝน ข้อด้อย ผู้เรียนขาดทักษะการคิดและเนื่องจากการเรียนแบบดั้งเดิม ที่ค่อนข้าง direct ซึ่งถ่ายทอดได้ดีแต่ไม่มีความ น่าสนใจและขาดการประยุกต์ใช้ ต่อยอดความรู้อีกทั้ง ไม่ได้เน้นเทคโนโลยีมากนัก ข้อดี มีการเรียนแบบบูรณาการกับเทคโนโลยีมากขึ้นซึ่งเป็น ทักษะที่สาคัญในการเรียนศตวรรษที่ 21 ข้อด้อย หากเด็กจาดความสนใจในการเรียนก็ไม่เกิดกระบวนการ เรียนรู้เนื่องเป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเองและการใช้เทคโนโลยี จะต้องมีเรื่องของงบประมาณหรือค่าใช้จ่ายต่างๆซึ่ง จะต้องมีความพร้อม
  • 16.
  • 17. 237400-2560 DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT IN SECONDARY SCHOOL การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา จัดทาโดย นายเวโรจน์ เหลืองยวง 573050670-8 ที่ปรึกษา ผศ.ดร. จารุณี ซามาตย์ ผศ.ดร. อิศรา ก้านจักร