SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาค้นคว้าโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่องกล่องอัจฉริยะพิชิตเวกเตอร์สามมิติในครั้งนี้
มีเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
1. ความหมายของโครงงาน
2. ประเภทของโครงงาน
3. เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์
1. ความหมายของโครงงาน
กระทรวงศึกษาธิการ (2533 : 5) ให้ความหมายว่า “โครงงาน เป็นการทากิจกรรมที่เปิด
โอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษา
ของครู ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติรวมทั้งร่วม
กาหนดแนวทางในการวัดผลและประเมินผล”
สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2529 : 1-2) ให้ความหมายว่า “โครงงาน
เป็นการศึกษาค้นคว้าตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบหรือผลงานที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยนักเรียนเป็นผู้
วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียงผู้ให้คาปรึกษาเท่านั้น”
ดวงเดือน เทศวานิช (2529 : 127) ให้ความหมายว่า “โครงงาน เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนได้วางแผน และดาเนินงานตามแผนจนจบสิ้นโครงงาน โดยอาจทาเป็นโครงงานเล็ก ๆ ที่
ทาเพียงคนเดียว หรือโครงงานใหญ่ที่ทาเป็นกลุ่ม โดยคานึงถึงความเป็นจริงในชีวิตประจาวัน เป็น
การทางานเริ่มต้นด้วยปัญหา แล้วดาเนินการแก้ปัญหาด้วยการใช้ความคิด และลงมือปฏิบัติจริงด้วย
ตัวนักเรียน”
4
ดร.ยงยุทธ ไกยวรรณ์ (2546 : 14) ให้ความหมายว่า “โครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้น
กระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น วางแผน และลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้อาศัยเครื่องมือ
เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ในการปฏิบัติเพื่อให้โครงงานสาเร็จภายใต้คาแนะนา การกระตุ้นความคิด
กระตุ้นการทางานชี้แนะ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทางาน ตลอดทั้งติดตาม วัดผล และประเมิน
โครงงาน”
กล่าวโดยสรุป โครงงาน หมายถึง งานที่นักเรียนมีความสนใจในการหาความรู้และวิธีการ
เพื่อแก้ปัญหา หาคาตอบ หาความรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้เรียนถนัดและมีความสนใจ โดยนา
เทคโนโลยี ความรู้และประสบการณ์มาบูรณาการปฏิบัติด้วยตนเองหรือหมู่คณะ ด้วยกระบวนการ
ที่เป็นระบบชัดเจนและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
2. ประเภทของโครงงาน
โครงงานอาจจาแนกตามลักษณะของการดาเนินการแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. โครงงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้น (Development Research Project)
โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการนาเอาความรู้ ทฤษฎี
หลักการหรือแนวคิดมาประยุกต์ใช้ โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ใน
การเรียนการทางาน หรือการใช้สอยอื่น ๆ การประดิษฐ์คิดค้นตามโครงงานนี้ อาจเป็นการประดิษฐ์
ขึ้นมาใหม่โดยที่ยังไม่มีใครทา หรืออาจเป็นการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่
แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ รวมทั้งการสร้างแบบจาลองต่าง ๆ เพื่อประกอบการ
อธิบายแนวคิดเรื่องต่าง ๆ โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์คิดค้นนี้ จะครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ทั้ง
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา สังคม การตลาด คอมพิวเตอร์ ช่างอุตสาหกรรม คหกรรม
เกษตรกรรม เป็นต้น โครงงานประดิษฐ์คิดค้นมักใช้วิธีการประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์หรือ
หลักการวิจัยเข้ามาสู่กระบวนการปฏิบัติ โดยอาศัยเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ นามาปฏิบัติตามแผนงาน
ที่วางไว้เพื่อให้ได้ผลตามข้อสมมุติฐานที่กาหนด ซึ่งจะได้ผลของโครงงานสิ่งประดิษฐ์ออกมาเป็น
ผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น โครงงานประดิษฐ์เครื่องควบคุมการให้น้าและปุ๋ ยกับพืชสวนครัว เป็นต้น
2. โครงงานสารวจและรวบรวมข้อมูล (Survey Research Project)
เป็นโครงงานที่ทาการศึกษารวบรวมข้อมูลจากที่มีอยู่ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แล้วนาข้อมูลเหล่านั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่ และนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การศึกษาเรื่องพืช
สมุนไพรในท้องถิ่นที่ใช้ในการบริโภค สามารถให้ผลกับการรักษาสุขภาพ
5
3. โครงงานประเภททฤษฎีและอธิบาย (Theoretical Research Project)
เป็นโครงงานที่มีลักษณะในการหาความรู้ใหม่ จากการวิเคราะห์ รวบรวมข้อมูล
หรือแนวคิดใหม่ ๆ แล้วนามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเข้าช่วย แล้วอธิบายสรุปผลออกมาในรูปของ
สูตรสมการ หรืออธิบายด้วยหลักการใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ทั้งนี้ผู้ศึกษาต้องมีความรู้พื้นฐานใน
เรื่องที่ต้องการทาโครงงานเป็นอย่างดี จึงจะสามารถอธิบายได้อย่างสมเหตุผลและน่าเชื่อถือซึ่งเป็น
เรื่องค่อนข้างยากสาหรับนักเรียน
4. โครงงานทดลองและวิจัย (Experimental Research Project)
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
โดยเฉพาะ ซึ่งการออกแบบโครงงานในรูปของการทดลอง ผู้เรียนต้องกาหนดรูปแบบในการ
ทดลอง และตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลองอย่างชัดเจน เพื่อศึกษาว่าตัวแปรหนึ่งจะมีผลต่อตัวแปร
ที่ต้องการศึกษาอย่างไร ด้วยการควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ซึ่งอาจมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษาไว้
เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
1. เวกเตอร์ หมายถึง ปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง
2. เวกเตอร์สามมิติ หมายถึง การนาเวกเตอร์มาเขียนให้อยู่บนแกน ที่แทนจุดจุดหนึ่ง
บนระนาบ จานวนแรกของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด x เป็นระยะตั้งฉาก ที่จุดนั้นห่างจากแกนดิ่ง ส่วน
จานวนที่ 2ของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด y เป็นระยะตั้งฉากที่จุดนั้นห่างจากแกนนอน ส่วนที่ 3 ของคู่
อันดับเรียกว่า พิกัด z เป็นระยะห่างระหว่างแกนนอนกับแกนตั้ง
3. ระบบพิกัดฉากสามมิติ กาหนดเส้นตรง XX' , YY' และ ZZ' เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด
O และตั้งฉากซึ่งกันและกันโดยกาหนด ทิศทางของเส้นตรงทั้งสามเป็นระบบมือขวา ดังรูป 1
รูปที่ 1 การใช้กฎมือขวาในการแสดงแกนทางคณิตศาสตร์
6
ถ้าเส้นตรงทั้งสามเป็นเส้นจานวน (real line) จะเรียกเส้นตรง XX' , YY' และ ZZ' ว่า
แกนพิกัด X แกนพิกัด Y และ แกนพิกัด Z หรือเรียนสั้นๆ ว่า แกน X (x-axis) แกน Y (y-axis) และ
แกน Z (z-axis) และเรียนจุด O ว่า จุดกาเนิด (origin) ดังรูป 2
รูปที่ 2 แสดงแกนพิกัดฉากสามมิติ
ตัวอย่างพิกัดฉากเวกเตอร์สามมิติ
รูปที่ 3 เป็นการสร้างแสดงตัวอย่างพิกัดฉากเวกเตอร์สามมิติเพื่อหาพิกัดต่างๆบนแกน
X( -2, 2 ) , Y( -2, 2 ) , Z( -2, 2 ) ที่กล่องวางอยู่ในจุดกึ่งกลางระหว่างแกนทั้งสาม
7
รูปที่ 4 เป็นการสร้างแสดงตัวอย่างพิกัดฉากเวกเตอร์สามมิติเพื่อหาพิกัดต่างๆบนแกน
X , Y , Z ที่กล่องวางอยู่ทางด้านขวาบนแกน X ( 0, -5 ) และด้านบนของแกน Z( 0,5 )
8
รูปที่ 5 เป็นการสร้างแสดงตัวอย่างพิกัดฉากเวกเตอร์สามมิติเพื่อหาพิกัดต่างๆบนแกน
X , Y , Z ที่กล่องวางอยู่ทางด้านขวาล่างของแกน X ( 0 , 5 ) และด้านล่างของแกน Z(0,-5 )

More Related Content

What's hot

ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลpeesartwit
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลpeesartwit
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6nay220
 
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือRevill Noes
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8Bee Bie
 
ใบงานท 3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
ใบงานท   3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)ใบงานท   3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
ใบงานท 3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)Milk MK
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังkrubeau
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์nolmolcy001
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1 krurutsamee
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานPawarit Jitakul
 

What's hot (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูล
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
K6
K6K6
K6
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6
 
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
ใบงานท 3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
ใบงานท   3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)ใบงานท   3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
ใบงานท 3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

Similar to บทที่ 2

โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPatchara Pussadee
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม natjira
 
โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608 Kalanyu Tamdee
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingintprisana2
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingintkorakate
 
Teahingint[1]
Teahingint[1]Teahingint[1]
Teahingint[1]numpueng
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Siripassorn
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8noeypornnutcha
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้pompameiei
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6pompameiei
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 

Similar to บทที่ 2 (20)

Commm
CommmCommm
Commm
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
Teahingint[1]
Teahingint[1]Teahingint[1]
Teahingint[1]
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 

More from Siwimol Wannasing

บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆSiwimol Wannasing
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมSiwimol Wannasing
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงSiwimol Wannasing
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วSiwimol Wannasing
 

More from Siwimol Wannasing (11)

พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลา
 
วงรี
วงรีวงรี
วงรี
 
วงกลม
วงกลมวงกลม
วงกลม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลม
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
 

บทที่ 2

  • 1. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่องกล่องอัจฉริยะพิชิตเวกเตอร์สามมิติในครั้งนี้ มีเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. ความหมายของโครงงาน 2. ประเภทของโครงงาน 3. เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ 1. ความหมายของโครงงาน กระทรวงศึกษาธิการ (2533 : 5) ให้ความหมายว่า “โครงงาน เป็นการทากิจกรรมที่เปิด โอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษา ของครู ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติรวมทั้งร่วม กาหนดแนวทางในการวัดผลและประเมินผล” สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2529 : 1-2) ให้ความหมายว่า “โครงงาน เป็นการศึกษาค้นคว้าตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบหรือผลงานที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยนักเรียนเป็นผู้ วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียงผู้ให้คาปรึกษาเท่านั้น” ดวงเดือน เทศวานิช (2529 : 127) ให้ความหมายว่า “โครงงาน เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้วางแผน และดาเนินงานตามแผนจนจบสิ้นโครงงาน โดยอาจทาเป็นโครงงานเล็ก ๆ ที่ ทาเพียงคนเดียว หรือโครงงานใหญ่ที่ทาเป็นกลุ่ม โดยคานึงถึงความเป็นจริงในชีวิตประจาวัน เป็น การทางานเริ่มต้นด้วยปัญหา แล้วดาเนินการแก้ปัญหาด้วยการใช้ความคิด และลงมือปฏิบัติจริงด้วย ตัวนักเรียน”
  • 2. 4 ดร.ยงยุทธ ไกยวรรณ์ (2546 : 14) ให้ความหมายว่า “โครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้น กระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น วางแผน และลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้อาศัยเครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ในการปฏิบัติเพื่อให้โครงงานสาเร็จภายใต้คาแนะนา การกระตุ้นความคิด กระตุ้นการทางานชี้แนะ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทางาน ตลอดทั้งติดตาม วัดผล และประเมิน โครงงาน” กล่าวโดยสรุป โครงงาน หมายถึง งานที่นักเรียนมีความสนใจในการหาความรู้และวิธีการ เพื่อแก้ปัญหา หาคาตอบ หาความรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้เรียนถนัดและมีความสนใจ โดยนา เทคโนโลยี ความรู้และประสบการณ์มาบูรณาการปฏิบัติด้วยตนเองหรือหมู่คณะ ด้วยกระบวนการ ที่เป็นระบบชัดเจนและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 2. ประเภทของโครงงาน โครงงานอาจจาแนกตามลักษณะของการดาเนินการแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. โครงงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้น (Development Research Project) โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการนาเอาความรู้ ทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดมาประยุกต์ใช้ โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ใน การเรียนการทางาน หรือการใช้สอยอื่น ๆ การประดิษฐ์คิดค้นตามโครงงานนี้ อาจเป็นการประดิษฐ์ ขึ้นมาใหม่โดยที่ยังไม่มีใครทา หรืออาจเป็นการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่ แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ รวมทั้งการสร้างแบบจาลองต่าง ๆ เพื่อประกอบการ อธิบายแนวคิดเรื่องต่าง ๆ โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์คิดค้นนี้ จะครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ทั้ง วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา สังคม การตลาด คอมพิวเตอร์ ช่างอุตสาหกรรม คหกรรม เกษตรกรรม เป็นต้น โครงงานประดิษฐ์คิดค้นมักใช้วิธีการประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์หรือ หลักการวิจัยเข้ามาสู่กระบวนการปฏิบัติ โดยอาศัยเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ นามาปฏิบัติตามแผนงาน ที่วางไว้เพื่อให้ได้ผลตามข้อสมมุติฐานที่กาหนด ซึ่งจะได้ผลของโครงงานสิ่งประดิษฐ์ออกมาเป็น ผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น โครงงานประดิษฐ์เครื่องควบคุมการให้น้าและปุ๋ ยกับพืชสวนครัว เป็นต้น 2. โครงงานสารวจและรวบรวมข้อมูล (Survey Research Project) เป็นโครงงานที่ทาการศึกษารวบรวมข้อมูลจากที่มีอยู่ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แล้วนาข้อมูลเหล่านั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่ และนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การศึกษาเรื่องพืช สมุนไพรในท้องถิ่นที่ใช้ในการบริโภค สามารถให้ผลกับการรักษาสุขภาพ
  • 3. 5 3. โครงงานประเภททฤษฎีและอธิบาย (Theoretical Research Project) เป็นโครงงานที่มีลักษณะในการหาความรู้ใหม่ จากการวิเคราะห์ รวบรวมข้อมูล หรือแนวคิดใหม่ ๆ แล้วนามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเข้าช่วย แล้วอธิบายสรุปผลออกมาในรูปของ สูตรสมการ หรืออธิบายด้วยหลักการใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ทั้งนี้ผู้ศึกษาต้องมีความรู้พื้นฐานใน เรื่องที่ต้องการทาโครงงานเป็นอย่างดี จึงจะสามารถอธิบายได้อย่างสมเหตุผลและน่าเชื่อถือซึ่งเป็น เรื่องค่อนข้างยากสาหรับนักเรียน 4. โครงงานทดลองและวิจัย (Experimental Research Project) โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะ ซึ่งการออกแบบโครงงานในรูปของการทดลอง ผู้เรียนต้องกาหนดรูปแบบในการ ทดลอง และตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลองอย่างชัดเจน เพื่อศึกษาว่าตัวแปรหนึ่งจะมีผลต่อตัวแปร ที่ต้องการศึกษาอย่างไร ด้วยการควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ซึ่งอาจมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษาไว้ เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 1. เวกเตอร์ หมายถึง ปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง 2. เวกเตอร์สามมิติ หมายถึง การนาเวกเตอร์มาเขียนให้อยู่บนแกน ที่แทนจุดจุดหนึ่ง บนระนาบ จานวนแรกของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด x เป็นระยะตั้งฉาก ที่จุดนั้นห่างจากแกนดิ่ง ส่วน จานวนที่ 2ของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด y เป็นระยะตั้งฉากที่จุดนั้นห่างจากแกนนอน ส่วนที่ 3 ของคู่ อันดับเรียกว่า พิกัด z เป็นระยะห่างระหว่างแกนนอนกับแกนตั้ง 3. ระบบพิกัดฉากสามมิติ กาหนดเส้นตรง XX' , YY' และ ZZ' เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด O และตั้งฉากซึ่งกันและกันโดยกาหนด ทิศทางของเส้นตรงทั้งสามเป็นระบบมือขวา ดังรูป 1 รูปที่ 1 การใช้กฎมือขวาในการแสดงแกนทางคณิตศาสตร์
  • 4. 6 ถ้าเส้นตรงทั้งสามเป็นเส้นจานวน (real line) จะเรียกเส้นตรง XX' , YY' และ ZZ' ว่า แกนพิกัด X แกนพิกัด Y และ แกนพิกัด Z หรือเรียนสั้นๆ ว่า แกน X (x-axis) แกน Y (y-axis) และ แกน Z (z-axis) และเรียนจุด O ว่า จุดกาเนิด (origin) ดังรูป 2 รูปที่ 2 แสดงแกนพิกัดฉากสามมิติ ตัวอย่างพิกัดฉากเวกเตอร์สามมิติ รูปที่ 3 เป็นการสร้างแสดงตัวอย่างพิกัดฉากเวกเตอร์สามมิติเพื่อหาพิกัดต่างๆบนแกน X( -2, 2 ) , Y( -2, 2 ) , Z( -2, 2 ) ที่กล่องวางอยู่ในจุดกึ่งกลางระหว่างแกนทั้งสาม
  • 5. 7 รูปที่ 4 เป็นการสร้างแสดงตัวอย่างพิกัดฉากเวกเตอร์สามมิติเพื่อหาพิกัดต่างๆบนแกน X , Y , Z ที่กล่องวางอยู่ทางด้านขวาบนแกน X ( 0, -5 ) และด้านบนของแกน Z( 0,5 )
  • 6. 8 รูปที่ 5 เป็นการสร้างแสดงตัวอย่างพิกัดฉากเวกเตอร์สามมิติเพื่อหาพิกัดต่างๆบนแกน X , Y , Z ที่กล่องวางอยู่ทางด้านขวาล่างของแกน X ( 0 , 5 ) และด้านล่างของแกน Z(0,-5 )