SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัด
และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาระที่ ๘ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและ
อาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อ
การดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมี
ความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย
คานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๘.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณใน
การแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็น
ระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ
เรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ม.1 ม.1
๑. อธิบายหลักการทางาน บทบาทและประโยชน์ของ
คอมพิวเตอร์
๒. อภิปรายลักษณะสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
๓. ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
มาตรฐาน ว ๘.๑
๑. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ในชีวิตประจาวัน
และวิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวัน
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ
และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นาเสนอแนวทางการ
แก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา
๔. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง ที่เกิดขึ้น
พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผล
การแก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง
ถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
มาตรฐาน ว ๘.๒
๑.ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อ
แก้ปัญหาหรืออธิบายการทางานที่พบ ในชีวิตจริง
๒.ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหา
ทางคณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์
๓. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล
นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้
ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้สื่อและ
แหล่งข้อมูลตามข้อกาหนดและข้อตกลง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ม.2 ม.2
๑. อธิบายหลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
๒. อธิบายหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
๓. ค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
มาตรฐาน ว ๘.๑
๑. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นโดยพิจารณาจากสาเหตุ
หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห์
เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบที่
เกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชน หรือท้องถิ่น สรุปกรอบของ
ปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจ
เลือกข้อมูลที่จาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอ
แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนขั้นตอนการทางานและ
ดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
๔. ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหา หรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น
ภายใต้กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ
นาเสนอผลการแก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภัย
มาตรฐาน ว ๘.๒
๑.ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการ
แก้ปัญหา หรือการทางานที่พบ ในชีวิตจริง
๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันใน
การแก้ปัญหา
๓. อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี การสื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้
งาน หรือแก้ปัญหาเบื้องต้น
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความ
รับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ ในการเผยแพร่ผลงาน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ม.3 ม.3
๑. อธิบายหลักการทาโครงงานที่มีการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
๒. เขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน
๓. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานใน
รูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
มาตรฐาน ว ๘.๑
๑. วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ
คณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อพัฒนางานอาชีพ
สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา โดยคานึงถึง ความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา
๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือก
ข้อมูลที่จาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการ
แก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย วางแผนขั้นตอน
การทางานและดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่
เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ
นาเสนอผลการแก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องกับลักษณะของงาน และปลอดภัย เพื่อแก้ปัญหา
หรือพัฒนางาน
มาตรฐาน ว ๘.๒
๑.พัฒนาแอพพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง
สร้างสรรค์
๒. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและ
สารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการ บน
อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย
๓. ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและ
ผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่า
ทัน
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความ
รับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ม.4-6 ม.4
๑. อธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
๒. อธิบายองค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์
๓. อธิบายระบบสื่อสารข้อมูล สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
๕. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
๖. เขียนโปรแกรมภาษา
๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
๘. ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
๙. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
๑๐. ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็น
สารสนเทศ เพื่อประกอบการตัดสินใจ
๑๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน ในรูปแบบที่
เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน
๑๒. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมี
จิตสานึกและความรับผิดชอบ
๑๓. บอกข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐาน ว ๘.๑
๑. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะ
วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมทั้ง
ประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อ
เป็นแนวทางาน ในการพัฒนาเทคโนโลยี
๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์
ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ
เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา
๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือก
ข้อมูลที่จาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการ
แก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์
ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอน การทางานและดาเนินการแก้ปัญหา
๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่
เกิดขึ้นภายใต้กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการ
แก้ปัญหา พร้อมทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอด
๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ได้อย่าง
ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
มาตรฐาน ว ๘.๒
๑. ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนา
โครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่น อย่าง
สร้างสรรค์ และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ม.4-6 ม.5
๑. อธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
๒. อธิบายองค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์
๓. อธิบายระบบสื่อสารข้อมูล สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
๕. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
๖. เขียนโปรแกรมภาษา
๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
๘. ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
๙. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
๑๐. ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
เพื่อประกอบการตัดสินใจ
๑๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน ในรูปแบบที่
เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน
๑๒. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมี
จิตสานึกและความรับผิดชอบ
๑๓. บอกข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐาน ว ๘.๑
๑. ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์
ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากร ในการทาโครงงานเพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางาน
มาตรฐาน ว ๘.๒
๑. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ ด้าน
วิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี
สารสนเทศในการแก้ปัญหา หรือเพิ่มมูลค่าให้กับ
บริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ในชีวิตจริงอย่าง
สร้างสรรค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ม.4-6 ม.6
๑. อธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
๒. อธิบายองค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์
๓. อธิบายระบบสื่อสารข้อมูล สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
๕. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
๖. เขียนโปรแกรมภาษา
๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
๘. ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
๙. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
๑๐. ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
เพื่อประกอบการตัดสินใจ
๑๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน ในรูปแบบที่
เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน
๑๒. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมี
จิตสานึกและความรับผิดชอบ
๑๓. บอกข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐาน ว ๘.๑
-
มาตรฐาน ว ๘.๒
๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอ และ
แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และ
วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และ
วัฒนธรรม
ข้อดี ข้อจากัด
1. ผู้เรียนจะมีพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการออกแบบเชิงวิศวกรรม
มากขึ้น เช่น การออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อ
แก้ปัญหาหรืออธิบายการทางานที่พบในชีวิตจริง ตั้งแต่ระดับฃั้น ม.1
2. ผู้เรียนได้เรียนการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ไม่เพียงแต่เรียนเนื้อหา
เบื้องต้น ที่เป็นในส่วนของภาพทฤษฎีเท่านั้น ได้มีการ ระบุปัญหา
ทดสอบ ประเมินผลการทางานจริง เพื่อนามาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
1.การเรียนรู้ต้องอยู่ในขอบเขตของศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียน
หากมีการจัดการเรียนรู้ที่ไม่เหมาะสม ก็อาจจะส่งผลให้การเรียนรู้ของ
ผู้เรียนไม่ประสบผลสาเร็จ และไม่มีประสิทธิภาพ
อาจารย์ประจาวิชา
ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์
ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร
จัดทาโดย
นายณัฐศาสตร์ โยธินนะกร 573050206-3
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา 237400
DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT SECONDARY SCHOOL

More Related Content

What's hot

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อะลิ้ตเติ้ล นก
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555kengweb
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...Nat Wrkt
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรsirato2539
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตKlangpanya
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 

What's hot (20)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรkrutep
 
เฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบเฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบJewelrytnr
 
เฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบเฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบkowasint4
 
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57Jirarat Cherntongchai
 
เตรียมความพร้อม O net 2557
เตรียมความพร้อม O net 2557เตรียมความพร้อม O net 2557
เตรียมความพร้อม O net 2557ครู กรุณา
 
AI and Machine Learning Demystified by Carol Smith at Midwest UX 2017
AI and Machine Learning Demystified by Carol Smith at Midwest UX 2017AI and Machine Learning Demystified by Carol Smith at Midwest UX 2017
AI and Machine Learning Demystified by Carol Smith at Midwest UX 2017Carol Smith
 

Viewers also liked (8)

Web based learning
Web based learningWeb based learning
Web based learning
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
เฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบเฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบ
 
Gat pat
Gat patGat pat
Gat pat
 
เฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบเฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบ
 
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
 
เตรียมความพร้อม O net 2557
เตรียมความพร้อม O net 2557เตรียมความพร้อม O net 2557
เตรียมความพร้อม O net 2557
 
AI and Machine Learning Demystified by Carol Smith at Midwest UX 2017
AI and Machine Learning Demystified by Carol Smith at Midwest UX 2017AI and Machine Learning Demystified by Carol Smith at Midwest UX 2017
AI and Machine Learning Demystified by Carol Smith at Midwest UX 2017
 

Similar to การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นม.1-6

ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรNong Earthiiz
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖Kitsanee Homewong
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...Meenarat Bunkanha
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...Ham Had
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรCholticha New
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551narissararuksri
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางBest Khotseekhiaw
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางPhunthawit
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางKAWIN TEARNWUN
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guidechickyshare
 
วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรYuttana Sojantuek
 
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์DrDanai Thienphut
 

Similar to การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นม.1-6 (20)

ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็กเปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
 
Dpu template 462-n
Dpu template 462-nDpu template 462-n
Dpu template 462-n
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
 
อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตร
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
 

การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นม.1-6

  • 1. การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6
  • 2. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาระที่ ๘ เทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้ กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและ อาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อ การดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมี ความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย คานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๘.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณใน การแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ เรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
  • 3. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ม.1 ม.1 ๑. อธิบายหลักการทางาน บทบาทและประโยชน์ของ คอมพิวเตอร์ ๒. อภิปรายลักษณะสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยี สารสนเทศ ๓. ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ มาตรฐาน ว ๘.๑ ๑. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ในชีวิตประจาวัน และวิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นาเสนอแนวทางการ แก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา ๔. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผล การแก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย มาตรฐาน ว ๘.๒ ๑.ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อ แก้ปัญหาหรืออธิบายการทางานที่พบ ในชีวิตจริง ๒.ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ ๓. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้สื่อและ แหล่งข้อมูลตามข้อกาหนดและข้อตกลง
  • 4. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ม.2 ม.2 ๑. อธิบายหลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๒. อธิบายหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓. ค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม มาตรฐาน ว ๘.๑ ๑. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นโดยพิจารณาจากสาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบที่ เกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชน หรือท้องถิ่น สรุปกรอบของ ปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจ เลือกข้อมูลที่จาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนขั้นตอนการทางานและ ดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ๔. ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหา หรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ นาเสนอผลการแก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย มาตรฐาน ว ๘.๒ ๑.ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการ แก้ปัญหา หรือการทางานที่พบ ในชีวิตจริง ๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันใน การแก้ปัญหา ๓. อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี การสื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้ งาน หรือแก้ปัญหาเบื้องต้น ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความ รับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ ในการเผยแพร่ผลงาน
  • 5. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ม.3 ม.3 ๑. อธิบายหลักการทาโครงงานที่มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒. เขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน ๓. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานใน รูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน มาตรฐาน ว ๘.๑ ๑. วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อพัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา โดยคานึงถึง ความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือก ข้อมูลที่จาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการ แก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย วางแผนขั้นตอน การทางานและดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ นาเสนอผลการแก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องกับลักษณะของงาน และปลอดภัย เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางาน มาตรฐาน ว ๘.๒ ๑.พัฒนาแอพพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง สร้างสรรค์ ๒. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและ สารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการ บน อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ๓. ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและ ผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่า ทัน ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความ รับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม
  • 6. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ม.4-6 ม.4 ๑. อธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ๒. อธิบายองค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ ๓. อธิบายระบบสื่อสารข้อมูล สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ๕. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ ๖. เขียนโปรแกรมภาษา ๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ๘. ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน ๙. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ๑๐. ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็น สารสนเทศ เพื่อประกอบการตัดสินใจ ๑๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน ในรูปแบบที่ เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน ๑๒. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมี จิตสานึกและความรับผิดชอบ ๑๓. บอกข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ว ๘.๑ ๑. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมทั้ง ประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อ เป็นแนวทางาน ในการพัฒนาเทคโนโลยี ๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือก ข้อมูลที่จาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการ แก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอน การทางานและดาเนินการแก้ปัญหา ๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้นภายใต้กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการ แก้ปัญหา พร้อมทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอด ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย มาตรฐาน ว ๘.๒ ๑. ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนา โครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่น อย่าง สร้างสรรค์ และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง
  • 7. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ม.4-6 ม.5 ๑. อธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ๒. อธิบายองค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ ๓. อธิบายระบบสื่อสารข้อมูล สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ๕. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ ๖. เขียนโปรแกรมภาษา ๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ๘. ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน ๙. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ๑๐. ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เพื่อประกอบการตัดสินใจ ๑๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน ในรูปแบบที่ เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน ๑๒. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมี จิตสานึกและความรับผิดชอบ ๑๓. บอกข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ว ๘.๑ ๑. ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากร ในการทาโครงงานเพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางาน มาตรฐาน ว ๘.๒ ๑. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ ด้าน วิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี สารสนเทศในการแก้ปัญหา หรือเพิ่มมูลค่าให้กับ บริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ในชีวิตจริงอย่าง สร้างสรรค์
  • 8. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ม.4-6 ม.6 ๑. อธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ๒. อธิบายองค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ ๓. อธิบายระบบสื่อสารข้อมูล สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ๕. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ ๖. เขียนโปรแกรมภาษา ๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ๘. ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน ๙. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ๑๐. ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เพื่อประกอบการตัดสินใจ ๑๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน ในรูปแบบที่ เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน ๑๒. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมี จิตสานึกและความรับผิดชอบ ๑๓. บอกข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ว ๘.๑ - มาตรฐาน ว ๘.๒ ๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอ และ แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และ วัฒนธรรม
  • 9. ข้อดี ข้อจากัด 1. ผู้เรียนจะมีพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการออกแบบเชิงวิศวกรรม มากขึ้น เช่น การออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อ แก้ปัญหาหรืออธิบายการทางานที่พบในชีวิตจริง ตั้งแต่ระดับฃั้น ม.1 2. ผู้เรียนได้เรียนการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ไม่เพียงแต่เรียนเนื้อหา เบื้องต้น ที่เป็นในส่วนของภาพทฤษฎีเท่านั้น ได้มีการ ระบุปัญหา ทดสอบ ประเมินผลการทางานจริง เพื่อนามาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน 1.การเรียนรู้ต้องอยู่ในขอบเขตของศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียน หากมีการจัดการเรียนรู้ที่ไม่เหมาะสม ก็อาจจะส่งผลให้การเรียนรู้ของ ผู้เรียนไม่ประสบผลสาเร็จ และไม่มีประสิทธิภาพ
  • 10. อาจารย์ประจาวิชา ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร จัดทาโดย นายณัฐศาสตร์ โยธินนะกร 573050206-3 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา 237400 DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT SECONDARY SCHOOL