SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
คํานํา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก
กระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุมสาระ
การเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระการออกแบบและเทคโนโลยี
และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตลอดจนจัดทํา
สื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว
คูมือครูเลมนี้ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู
คณิตศาสตรใหผูเรียนไดพัฒนาตนเอง นําความรูทางคณิตศาสตรไปพัฒนาชาติและเปนเครื่องมือ
ในการเรียนรูคณิตศาสตรตลอดจนศาสตรอื่น ๆ ในระดับที่สูงขึ้นไป
ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ
นักวิชาการและครูผูสอน จากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทาน
ไว ณ ที่นี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตร
ใหสามารถนําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน
หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท. ทราบดวย
จักขอบคุณยิ่ง
(นายพิศาล สรอยธุหร่ํา)
ผูอํานวยการ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คําชี้แจง
สาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)
ไดรับมอบหมายจากกระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชวงชั้น
ที่ 3 (มัธยมศึกษาปที่ 1–3) ชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4–6) ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2544 นอกจากนั้นยังไดพัฒนาสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตรเพื่อใชประกอบหลักสูตร
ของชวงชั้นที่ 3 และ 4 อีกดวย
หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตรของชวงชั้นที่ 3 จะมีดวยกันทั้ง
หมดอยางละ 6 เลม ไดแก หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 2 ชั้นมัธยม
ศึกษาปที่ 2 เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และเลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ตามลําดับ ทั้งนี้สถานศึกษา
สามารถนําไปปรับใชใหเหมาะสมกับหลักสูตรของแตละสถานศึกษา
คูมือครูคณิตศาสตรเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียน
สาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ใชเวลาในการเรียนการสอน 2 ชั่วโมง
ตอสัปดาหตอภาค สวนหนาของเลมประกอบดวยคําชี้แจงการใชคูมือครู ในการใชคูมือครูขอใหอาน
คําชี้แจงการใชคูมือครูดังกลาวกอนที่จะศึกษารายละเอียดในแตละบท
ในแตละบทของคูมือครูประกอบดวย คํานําประจําบท ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป แนวทาง
การจัดการเรียนรู จุดประสงค (ประจําหัวขอ) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมเสนอแนะ คําตอบของกิจกรรมหรือแบบฝกหัด
คณะผูจัดทําหวังวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนคณิตศาสตร อยางไร
ก็ดีหากทานผูใชคูมือครูเลมนี้มีขอเสนอแนะประการใด โปรดแจงใหสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทราบ เพื่อปรับปรุงเอกสารใหสมบูรณยิ่งขึ้น
ตอไป
(นางสาวจารุวรรณ แสงทอง)
หัวหนาสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สารบัญ
หนา
คํานํา
คําชี้แจง
คําชี้แจงการใชคูมือครู ก
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง
บทที่ 1 สมบัติของเลขยกกําลัง 1
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1
แนวทางในการจัดการเรียนรู 2
1.1 สมบัติของเลขยกกําลัง 2
จุดประสงค 2
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2
1.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง 3
จุดประสงค 3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3
1.3 สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกําลัง 4
จุดประสงค 4
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 5
บทที่ 2 พหุนามและเศษสวนของพหุนาม 17
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 17
แนวทางในการจัดการเรียนรู 18
2.1 ทบทวนพหุนาม 18
จุดประสงค 18
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 18
2.2 การคูณพหุนาม 19
จุดประสงค 19
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 19
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 19
2.3 การหารพหุนาม 20
จุดประสงค 20
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 20
2.4 การบวกและการลบพหุนาม 21
จุดประสงค 21
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 21
2.5 การคูณพหุนาม 23
จุดประสงค 23
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 23
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 23
2.6 การหารพหุนาม 24
จุดประสงค 24
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 24
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 24
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 25
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 31
บทที่ 3 บทประยุกต 2 46
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 46
แนวทางในการจัดการเรียนรู 47
3.1 แบบรูปของจํานวน 47
จุดประสงค 47
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 47
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 47
3.2 ขายงาน 50
จุดประสงค 50
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 50
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 50
3.3 การประยุกตของเศษสวนและทศนิยม 51
จุดประสงค 51
หนา
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 51
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 53
ใบประกอบกิจกรรม 67
คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 69
คําชี้แจงการใชคูมือครู
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหการจัดการเรียน
การสอนคณิตศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตร
ครบถวนทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณธรรม
จริยธรรมและคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครูซึ่งเสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวโดยละเอียด
เพื่อใชควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่2 ดังนั้นครูตอง
ศึกษาคูมือครูใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอน
ทุกบทเรียน และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและวิธีจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ
คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้
1. ชื่อบทและหัวขอเรื่องประจําบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบท
และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่เห็นสมควร
2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรย้ํา
3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่
ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา
จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนเกิดผลการเรียนรูตามที่กําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง
จบการเรียนการสอน ผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู
ชวงชั้นที่ 3 ดวย
4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอยอยของแตละบทไดใหรายละเอียดของ
หัวขอตอไปนี้
1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนใหนักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่ง
จะตองเกิดขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตาม
จุดประสงคและใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหบรรลุถึงผลการเรียนรูที่
คาดหวังรายป
การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา
แบบฝกหัด การทํากิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา
นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอนซอม
เสริมใหม
ข
2) เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม ในบางหัวขอไดระบุรายการกิจกรรมเสนอแนะ
หรือใบประกอบกิจกรรมไวดังรายละเอียดในขอ 6
3) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู
ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน
5. คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําถามทุกคําถามในกิจกรรมและแบบฝกหัดทุกขอมี
คําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไวใหเพื่อเปนแนวทางในการหาคําตอบ บางขอมีหลายคําตอบแตให
ไวเปนตัวอยางอยางนอยหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะกิจกรรมหรือแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทําไดสอดแทรก
ปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะ สังเกต รวบรวมขอมูล วิเคราะห สรางขอความคาดการณและ
พิสูจนงาย ๆ การเฉลยคําตอบหรือการใหเหตุผลประกอบคําตอบไดคํานึงถึงพื้นฐานความรูและวุฒิภาวะ
ของนักเรียนเปนหลัก การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจ
แบบฝกหัดครูควรพิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ถึงแมวา
จะไมเหมือนกับคําตอบที่เฉลยไว ปญหาที่มีลักษณะเปนปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย
6. กิจกรรมเสนอแนะ บางบทเรียนไดเสนอแนะกิจกรรมที่พัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรเพื่อใหครูเลือกใช ในแตละกิจกรรมครูอาจปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับเวลาและความสามารถ
ของนักเรียน
กอนดําเนินกิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง เพื่อใหเกิดความ
เขาใจและมองเห็นแงมุมตาง ๆ ของกิจกรรมที่จะทํา ไมควรดวนอธิบายหรือชี้นําแนวคิด ขณะทํา
กิจกรรมครูตองสงเสริมใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ตลอดจนฝกฝนให
นักเรียนรูจัก วิเคราะหปญหา ตัดสินใจและหาขอสรุป
ทั้งนี้ในบางกิจกรรมไดแสดงคําตอบไวในวงเล็บสีแดง
7. แบบฝกหัดเพิ่มเติม ในบางบทเรียนไดเตรียมแบบฝกหัดเพิ่มเติมไวใหครูเลือกหรือปรับใช
ใหเหมาะสมกับนักเรียนของตนเองและในบางขอไดแสดงคําตอบไวในวงเล็บดวยเชนกัน
ค
คําแนะนําการใชหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร ประกอบดวย
1. เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระที่นําเสนอไวในหนังสือเรียนเลมนี้ เปนเนื้อหาสาระที่ใหความรูเสริม
และเพิ่มเติมจากเนื้อหาสาระในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร ทั้งในดาน
เนื้อหาคณิตศาสตรและดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ไดจัดกิจกรรมที่หลากหลายใหกับ
ผูเรียน เพื่อบูรณาการความรูตาง ๆ ที่มีอยูกับความรูใหมทั้งที่เปนความรูทางคณิตศาสตรและความรู
ในศาสตรอื่น ๆ ตลอดจนสามารถนําไปใชในการแกปญหาได
2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช
3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ แก
โจทยปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ
4. ปญหาชวนคิดหรือเรื่องนารู เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่
เรียนมาเพื่อแกปญหาหรือหาขอสรุปใหม
เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู ให
เขาใจอยางถองแท
2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งขอ
ที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย ครูตองยอมรับคําตอบของนักเรียนเมื่อนักเรียนมีเหตุผลที่
เหมาะสมมาประกอบคําตอบ
3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา
4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม
หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได
5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ
ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู
ตาง ๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1
ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2
บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง
1
2
3
4
สมบัติของเลขยกกําลัง
พหุนามและเศษสวนของพหุนาม
การประยุกตเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ
การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต
14
18
16
12
รวม 60

More Related Content

What's hot

GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiWichai Likitponrak
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาSurapong Khamjai
 
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichaiWichai Likitponrak
 
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...Dnavaroj Dnaka
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยJirathorn Buenglee
 
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...ssuser100cd5
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 

What's hot (18)

Asessmentproject gstu
Asessmentproject gstuAsessmentproject gstu
Asessmentproject gstu
 
Report bioposn63tu
Report bioposn63tuReport bioposn63tu
Report bioposn63tu
 
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
 
Gst ureportcamp61
Gst ureportcamp61Gst ureportcamp61
Gst ureportcamp61
 
Gst uprojectlearningunit
Gst uprojectlearningunitGst uprojectlearningunit
Gst uprojectlearningunit
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
Gst ureportsonnong62
Gst ureportsonnong62Gst ureportsonnong62
Gst ureportsonnong62
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
 
Gst ureport oph61
Gst ureport oph61Gst ureport oph61
Gst ureport oph61
 
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
 
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
 
Gst ureportstudent62
Gst ureportstudent62Gst ureportstudent62
Gst ureportstudent62
 
Su mreport globe2562
Su mreport globe2562Su mreport globe2562
Su mreport globe2562
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 

Viewers also liked (16)

Assistive technology
Assistive technologyAssistive technology
Assistive technology
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Olya b cookman #7
Olya b cookman #7 Olya b cookman #7
Olya b cookman #7
 
โรคมะนาว
โรคมะนาวโรคมะนาว
โรคมะนาว
 
ประโยชน์ของมะนาว
ประโยชน์ของมะนาวประโยชน์ของมะนาว
ประโยชน์ของมะนาว
 
Արքիմեդ
Արքիմեդ Արքիմեդ
Արքիմեդ
 
Grandpa Rich Eulogy
Grandpa Rich EulogyGrandpa Rich Eulogy
Grandpa Rich Eulogy
 
ереван
ереванереван
ереван
 
Season
SeasonSeason
Season
 
7апрель
7апрель7апрель
7апрель
 
моя семья
моя семьямоя семья
моя семья
 
Весна
ВеснаВесна
Весна
 
Managing children’s behaviour
Managing children’s behaviourManaging children’s behaviour
Managing children’s behaviour
 
Historical foundations of curriculum
Historical foundations of curriculumHistorical foundations of curriculum
Historical foundations of curriculum
 
English fruits
English fruitsEnglish fruits
English fruits
 
Gizi dan Osteoporosis
Gizi dan OsteoporosisGizi dan Osteoporosis
Gizi dan Osteoporosis
 

Similar to Add m2-1-link

แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology Tarn Takpit
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนnarongsak promwang
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55tassanee chaicharoen
 

Similar to Add m2-1-link (20)

Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
Add m6-2-link
Add m6-2-linkAdd m6-2-link
Add m6-2-link
 
Add m5-2-link
Add m5-2-linkAdd m5-2-link
Add m5-2-link
 
Add m5-1-link
Add m5-1-linkAdd m5-1-link
Add m5-1-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology
 
Add m3-2-link
Add m3-2-linkAdd m3-2-link
Add m3-2-link
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
111111
111111111111
111111
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
2สารบัญ
2สารบัญ2สารบัญ
2สารบัญ
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
 
ประมวลผลรายวิชาง32101
ประมวลผลรายวิชาง32101ประมวลผลรายวิชาง32101
ประมวลผลรายวิชาง32101
 

Add m2-1-link

  • 1. คํานํา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก กระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุมสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระการออกแบบและเทคโนโลยี และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตลอดจนจัดทํา สื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว คูมือครูเลมนี้ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู คณิตศาสตรใหผูเรียนไดพัฒนาตนเอง นําความรูทางคณิตศาสตรไปพัฒนาชาติและเปนเครื่องมือ ในการเรียนรูคณิตศาสตรตลอดจนศาสตรอื่น ๆ ในระดับที่สูงขึ้นไป ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการและครูผูสอน จากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทาน ไว ณ ที่นี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตร ใหสามารถนําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท. ทราบดวย จักขอบคุณยิ่ง (นายพิศาล สรอยธุหร่ํา) ผูอํานวยการ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 2. คําชี้แจง สาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจากกระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชวงชั้น ที่ 3 (มัธยมศึกษาปที่ 1–3) ชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4–6) ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 นอกจากนั้นยังไดพัฒนาสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตรเพื่อใชประกอบหลักสูตร ของชวงชั้นที่ 3 และ 4 อีกดวย หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตรของชวงชั้นที่ 3 จะมีดวยกันทั้ง หมดอยางละ 6 เลม ไดแก หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 2 ชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 2 เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และเลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ตามลําดับ ทั้งนี้สถานศึกษา สามารถนําไปปรับใชใหเหมาะสมกับหลักสูตรของแตละสถานศึกษา คูมือครูคณิตศาสตรเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียน สาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ใชเวลาในการเรียนการสอน 2 ชั่วโมง ตอสัปดาหตอภาค สวนหนาของเลมประกอบดวยคําชี้แจงการใชคูมือครู ในการใชคูมือครูขอใหอาน คําชี้แจงการใชคูมือครูดังกลาวกอนที่จะศึกษารายละเอียดในแตละบท ในแตละบทของคูมือครูประกอบดวย คํานําประจําบท ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป แนวทาง การจัดการเรียนรู จุดประสงค (ประจําหัวขอ) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมเสนอแนะ คําตอบของกิจกรรมหรือแบบฝกหัด คณะผูจัดทําหวังวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนคณิตศาสตร อยางไร ก็ดีหากทานผูใชคูมือครูเลมนี้มีขอเสนอแนะประการใด โปรดแจงใหสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทราบ เพื่อปรับปรุงเอกสารใหสมบูรณยิ่งขึ้น ตอไป (นางสาวจารุวรรณ แสงทอง) หัวหนาสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 3. สารบัญ หนา คํานํา คําชี้แจง คําชี้แจงการใชคูมือครู ก กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง บทที่ 1 สมบัติของเลขยกกําลัง 1 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2 1.1 สมบัติของเลขยกกําลัง 2 จุดประสงค 2 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2 1.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง 3 จุดประสงค 3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3 1.3 สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกําลัง 4 จุดประสงค 4 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 5 บทที่ 2 พหุนามและเศษสวนของพหุนาม 17 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 17 แนวทางในการจัดการเรียนรู 18 2.1 ทบทวนพหุนาม 18 จุดประสงค 18 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 18 2.2 การคูณพหุนาม 19 จุดประสงค 19 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 19 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 19
  • 4. 2.3 การหารพหุนาม 20 จุดประสงค 20 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 20 2.4 การบวกและการลบพหุนาม 21 จุดประสงค 21 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 21 2.5 การคูณพหุนาม 23 จุดประสงค 23 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 23 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 23 2.6 การหารพหุนาม 24 จุดประสงค 24 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 24 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 24 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 25 กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 31 บทที่ 3 บทประยุกต 2 46 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 46 แนวทางในการจัดการเรียนรู 47 3.1 แบบรูปของจํานวน 47 จุดประสงค 47 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 47 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 47 3.2 ขายงาน 50 จุดประสงค 50 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 50 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 50 3.3 การประยุกตของเศษสวนและทศนิยม 51 จุดประสงค 51 หนา
  • 5. ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 51 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 53 ใบประกอบกิจกรรม 67 คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 69
  • 6. คําชี้แจงการใชคูมือครู สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหการจัดการเรียน การสอนคณิตศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตร ครบถวนทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครูซึ่งเสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวโดยละเอียด เพื่อใชควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่2 ดังนั้นครูตอง ศึกษาคูมือครูใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอน ทุกบทเรียน และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและวิธีจัดกิจกรรม การเรียนการสอนไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้ 1. ชื่อบทและหัวขอเรื่องประจําบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบท และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่เห็นสมควร 2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรย้ํา 3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่ ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนเกิดผลการเรียนรูตามที่กําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง จบการเรียนการสอน ผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู ชวงชั้นที่ 3 ดวย 4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอยอยของแตละบทไดใหรายละเอียดของ หัวขอตอไปนี้ 1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียน การสอนใหนักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่ง จะตองเกิดขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตาม จุดประสงคและใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหบรรลุถึงผลการเรียนรูที่ คาดหวังรายป การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา แบบฝกหัด การทํากิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอนซอม เสริมใหม
  • 7. ข 2) เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม ในบางหัวขอไดระบุรายการกิจกรรมเสนอแนะ หรือใบประกอบกิจกรรมไวดังรายละเอียดในขอ 6 3) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน 5. คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําถามทุกคําถามในกิจกรรมและแบบฝกหัดทุกขอมี คําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไวใหเพื่อเปนแนวทางในการหาคําตอบ บางขอมีหลายคําตอบแตให ไวเปนตัวอยางอยางนอยหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะกิจกรรมหรือแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทําไดสอดแทรก ปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะ สังเกต รวบรวมขอมูล วิเคราะห สรางขอความคาดการณและ พิสูจนงาย ๆ การเฉลยคําตอบหรือการใหเหตุผลประกอบคําตอบไดคํานึงถึงพื้นฐานความรูและวุฒิภาวะ ของนักเรียนเปนหลัก การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจ แบบฝกหัดครูควรพิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ถึงแมวา จะไมเหมือนกับคําตอบที่เฉลยไว ปญหาที่มีลักษณะเปนปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย 6. กิจกรรมเสนอแนะ บางบทเรียนไดเสนอแนะกิจกรรมที่พัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตรเพื่อใหครูเลือกใช ในแตละกิจกรรมครูอาจปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับเวลาและความสามารถ ของนักเรียน กอนดําเนินกิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง เพื่อใหเกิดความ เขาใจและมองเห็นแงมุมตาง ๆ ของกิจกรรมที่จะทํา ไมควรดวนอธิบายหรือชี้นําแนวคิด ขณะทํา กิจกรรมครูตองสงเสริมใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ตลอดจนฝกฝนให นักเรียนรูจัก วิเคราะหปญหา ตัดสินใจและหาขอสรุป ทั้งนี้ในบางกิจกรรมไดแสดงคําตอบไวในวงเล็บสีแดง 7. แบบฝกหัดเพิ่มเติม ในบางบทเรียนไดเตรียมแบบฝกหัดเพิ่มเติมไวใหครูเลือกหรือปรับใช ใหเหมาะสมกับนักเรียนของตนเองและในบางขอไดแสดงคําตอบไวในวงเล็บดวยเชนกัน
  • 8. ค คําแนะนําการใชหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร ประกอบดวย 1. เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระที่นําเสนอไวในหนังสือเรียนเลมนี้ เปนเนื้อหาสาระที่ใหความรูเสริม และเพิ่มเติมจากเนื้อหาสาระในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร ทั้งในดาน เนื้อหาคณิตศาสตรและดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ไดจัดกิจกรรมที่หลากหลายใหกับ ผูเรียน เพื่อบูรณาการความรูตาง ๆ ที่มีอยูกับความรูใหมทั้งที่เปนความรูทางคณิตศาสตรและความรู ในศาสตรอื่น ๆ ตลอดจนสามารถนําไปใชในการแกปญหาได 2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช 3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ แก โจทยปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ 4. ปญหาชวนคิดหรือเรื่องนารู เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่ เรียนมาเพื่อแกปญหาหรือหาขอสรุปใหม เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู ให เขาใจอยางถองแท 2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งขอ ที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย ครูตองยอมรับคําตอบของนักเรียนเมื่อนักเรียนมีเหตุผลที่ เหมาะสมมาประกอบคําตอบ 3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา 4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได 5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู ตาง ๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
  • 9. กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง 1 2 3 4 สมบัติของเลขยกกําลัง พหุนามและเศษสวนของพหุนาม การประยุกตเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต 14 18 16 12 รวม 60