SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
กําหนดการทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ครั้งที่ ๑๑

       คุรุสภา โดยคณะอนุกรรมการรับรองความรู้วิชาชีพทางการศึกษา จะดําเนินการทดสอบความรู้ตาม
มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ครั้งที่ ๑๑ สําหรับชาวไทย และชาวต่างประเทศ ที่มีวุฒปริญญาตรีทางการศึกษา
                                                                            ิ
และสาขาอื่นๆ ที่ประสงค์จะขอรับการรับรองความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด โดยการทดสอบ
ตามกําหนดการ ดังนี้

     วัน/เดือน/ปี                                           กิจกรรม
 ๗-๑๐ มกราคม ๒๕๕๖        ประกาศรับสมัครทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ครั้งที่ ๑๑
                         ผ่านเว็บไซต์คุรุสภา
๑๑-๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ รับสมัครทดสอบความรู้ฯ ครั้งที่ ๑๑ ผ่านระบบรับสมัครทดสอบออนไลน์
                  ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ผ่านเว็บไซต์คุรุสภา www.ksp.or.th
    มีนาคม ๒๕๕๖          ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ทดสอบความรู้ฯ ครั้งที่ ๑๑ วันเวลาและสถานที่
                         ทดสอบความรู้ฯ รวมทั้งระเบียบปฏิบัติของผู้เข้าทดสอบความรู้
                         ผ่านเว็บไซต์คุรุสภา www.ksp.or.th
 ๔-๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ดําเนินการทดสอบความรู้ฯ ครั้งที่ ๑๑ ทั้งชาวไทย และต่างประเทศพร้อมกัน
                  ณ ศูนย์ทดสอบส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค
   กรกฎาคม ๒๕๕๖          ประกาศผลการทดสอบความรู้ฯ ครั้งที่ ๑๑ ผ่านเว็บไซต์คุรุสภา www.ksp.or.th

O วิธีการสมัครทดสอบความรู้ฯ
        ผู้ประสงค์จะสมัครทดสอบความรู้ฯ ต้องสมัครทดสอบผ่านระบบรับสมัครทดสอบออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์
คุรุสภา www.ksp.or.th โดยใช้ Internet Explorer Browser ในการสมัครทดสอบเท่านั้น และจะต้องปฏิบัติ
ตามขั้นตอนและคําแนะนําในการสมัครทดสอบ และชําระค่าธรรมเนียมทดสอบความรู้ ตามประกาศรับสมัคร
ทดสอบความรู้ฯ
O ค่าธรรมเนียมการสมัครทดสอบความรู้
       ๑. ค่าธรรมเนียมทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา
           ๑.๑ ผู้สมัครทดสอบชาวไทย
               มาตรฐานที่ ๑ ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู                           ๓๐๐ บาท
               มาตรฐานที่ ๒ การพัฒนาหลักสูตร                                     ๓๐๐ บาท
               มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนรู้                                    ๓๐๐ บาท
               มาตรฐานที่ ๔ จิตวิทยาสําหรับครู                                   ๓๐๐ บาท
               มาตรฐานที่ ๕ การวัดและประเมินผลการศึกษา                           ๓๐๐ บาท
               มาตรฐานที่ ๖ การบริหารจัดการในห้องเรียน                           ๓๐๐ บาท
               มาตรฐานที่ ๗ การวิจัยทางการศึกษา                                  ๓๐๐ บาท
               มาตรฐานที่ ๘ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา              ๓๐๐ บาท
               มาตรฐานที่ ๙ ความเป็นครู                                          ๓๐๐ บาท
-๒-

           ๑.๒ ผู้สมัครทดสอบชาวต่างประเทศ
               ฉบับที่ ๑ ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู
                         นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา          ๑,๐๐๐ บาท
               ฉบับที่ ๒ การพัฒนาหลักสูตร
                         การจัดการเรียนรู้
                         การบริหารจัดการในห้องเรียน                       ๑,๐๐๐ บาท
               ฉบับที่ ๓ การวัดและประเมินผลการศึกษา
                         การวิจัยทางการศึกษา                               ๑,๐๐๐ บาท
               ฉบับที่ ๔ จิตวิทยาสําหรับครู
                         ความเป็นครู                                       ๑,๐๐๐ บาท
       ๒. ค่าธรรมเนียมการให้บริการรับชําระค่าธรรมเนียมทดสอบผ่านเคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย
          ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในอัตรา ๓๐ บาท / ราย
O สาระความรู้ตามมาตรฐานความรู้วชาชีพครู
                                  ิ
      สาระความรู้ตามมาตรฐานความรู้วิชาชีพครู ประกอบด้วย
      มาตรฐานที่ ๑ ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู
                    (๑) ภาษาไทยสําหรับครู
                    (๒) ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ สําหรับครู
                    (๓) เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับครู
      มาตรฐานที่ ๒ การพัฒนาหลักสูตร
                     (๑) ปรัชญา แนวคิดทฤษฎีการศึกษา
                    (๒) ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย
                    (๓) วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย
                    (๔) ทฤษฎีหลักสูตร
                    (๕) การพัฒนาหลักสูตร
                    (๖) มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชั้นของหลักสูตร
                    (๗) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
                    (๘) ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
      มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนรู้
                    (๑) ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
                    (๒) รูปแบบการเรียนรู้และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
                    (๓) การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
                    (๔) การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้
                    (๕) การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม
                    (๖) เทคนิค และวิทยาการจัดการเรียนรู้
                    (๗) การใช้และการผลิตสื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้
                    (๘) การจัดการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นสําคัญ
                    (๙) การประเมินผลการเรียนรู้
-๓-

มาตรฐานที่ ๔ จิตวิทยาสําหรับครู
             (๑) จิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุษย์
             (๒) จิตวิทยาการศึกษา
             (๓) จิตวิทยาการแนะแนวและให้คําปรึกษา
มาตรฐานที่ ๕ การวัดและประเมินผลการศึกษา
              (๑) หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
              (๒) การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา
              (๓) การประเมินตามสภาพจริง
              (๔) การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
              (๕) การประเมินภาคปฏิบัติ
              (๖) การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารจัดการในห้องเรียน
              (๑) ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ
              (๒) ภาวะผู้นําทางการศึกษา
              (๓) การคิดอย่างเป็นระบบ
              (๔) การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร
              (๕) มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร
              (๖) การติดต่อสื่อสารในองค์กร
              (๗) การบริหารจัดการชั้นเรียน
              (๘) การประกันคุณภาพการศึกษา
              (๙) การทํางานเป็นทีม
              (๑๐) การจัดทําโครงงานทางวิชาการ
              (๑๑) การจัดโครงการฝึกอาชีพ
              (๑๒) การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนา
              (๑๓) การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
             (๑๔) การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน
มาตรฐานที่ ๗ การวิจัยทางการศึกษา
              (๑) ทฤษฎีการวิจัย
              (๒) รูปแบบการวิจัย
              (๓) การออกแบบการวิจัย
              (๔) กระบวนการวิจัย
              (๕) สถิติเพื่อการวิจัย
              (๖) การวิจัยในชั้นเรียน
              (๗) การฝึกปฏิบัติการวิจัย
              (๘) การนําเสนอผลงานวิจัย
              (๙) การค้นคว้า ศึกษางานวิจัยในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้
              (๑๐) การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหา
              (๑๑) การเสนอโครงการเพื่อทําวิจัย
-๔-

       มาตรฐานที่ ๘ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
                    (๑) แนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่สงเสริมการ
                                                                         ่
                        พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
                    (๒) เทคโนโลยีและสารสนเทศ
                    (๓) การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ
                    (๔) แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
                    (๕) การออกแบบ การสร้าง การนําไปใช้การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม
       มาตรฐานที่ ๙ ความเป็นครู
                    (๑) ความสําคัญของวิชาชีพครู บทบาทหน้าที่ ภาระงานของครู
                    (๒) พัฒนาการของวิชาชีพครู
                    (๓) คุณลักษณะของครูที่ดี
                    (๔) การสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู
                    (๕) การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็นครู
                    (๖) การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และการเป็นผู้นาทางวิชาการ
                                                                 ํ
                    (๗) เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
                    (๘) จรรยาบรรณของวิชาชีพครู
                    (๙) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
        ผู้เข้าทดสอบสามารถศึกษาค้นคว้าตําราที่เกี่ยวข้องได้จากเอกสารตําราของสถาบันการศึกษาที่จัด
การเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) ตรวจสอบรายชื่อสถาบันที่ได้รับการรับรอง
หลักสูตรและมาตรฐานการผลิตปริญญาทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) www.ksp.or.th
O การประกาศรายชื่อผู้มสทธิ์ทดสอบความรู้
                        ีิ
        คุรุสภา จะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ทดสอบความรู้ เฉพาะผู้สมัครทดสอบความรู้ทั้งชาวไทย และชาว
ต่างประเทศ ที่ทําการสมัครทดสอบผ่านระบบรับสมัครทดสอบออนไลน์ และได้ชําระค่าธรรมเนียมทดสอบ
ตามขั้นตอนและคําแนะนําในการสมัครทดสอบและการชําระค่าธรรมเนียมทดสอบอย่างถูกต้อง ครบถ้วน
สมบูรณ์แล้วเท่านั้น
O ข้อปฏิบัติในการเข้าทดสอบความรู้
       ๑. แสดงเอกสารและหลักฐานดังต่อไปนี้ ในการแสดงตนกับกรรมการคุมสอบ
            ๑.๑ บัตรประจําตัวประชาชน หรือหนังสือเดินทาง (Passport) ฉบับจริงที่ยังไม่หมดอายุ
                 ก่อนวันทดสอบ
            ๑.๒ ใบสมัครทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ที่พมพ์ออกจากระบบรับสมัคร
                                                                    ิ
                 ทดสอบออนไลน์ ติดรูปถ่ายหน้าตรงที่มุมขวาบนของใบสมัครเรียบร้อยแล้ว
            ๑.๓ ใบเสร็จการรับชําระค่าธรรมเนียมทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา
                 ที่ออกโดยธนาคารกรุงไทย
            ๑.๔ สําเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล (ถ้ามี)
-๕-

          ๒. ปฏิบติตามระเบียบในการทดสอบความรู้ ดังนี้
                   ั
               ๒.๑ ตรวจสอบให้ทราบ วัน เวลา สถานที่ทดสอบ และห้องทดสอบ รวมทั้งศึกษาเส้นทางไป
สนามทดสอบล่วงหน้า และควรไปถึงสถานที่ทดสอบก่อนเริ่มเวลาการทดสอบอย่างน้อย ๓๐ นาที
               ๒.๒ แต่งกายสุภาพเรียบร้อยทั้งสุภาพสตรีและสุภาพบุรุษ สวมรองเท้าหุ้มส้น
ไม่สวมเสื้อยืด กางเกงหรือกระโปรงยีนส์ ทั้งนี้ ผู้แต่งกายไม่สุภาพจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าห้องสอบ
              ๒.๓ เข้าทดสอบตามวัน เวลา สถานที่ทดสอบ และห้องทดสอบที่กําหนดไว้เท่านั้น
              ๒.๔ แสดงเอกสารหลักฐานตามข้อ ๑ กับกรรมการคุมสอบ
              ๒.๕ นําอุปกรณ์เฉพาะดินสอ 2B ,ปากกา และยางลบเข้าห้องสอบเท่านั้น
              ๒.๖ ไม่กระทําการใดๆ ที่เป็นการทุจริตการสอบ หากมีการตรวจพบภายหลังว่ามีการทุจริตการสอบ
ผู้เข้าทดสอบจะถูกตัดสิทธิในการสอบครั้งนี้ และครั้งต่อไป
              ๒.๗ ไม่นํากระเป๋าอุปกรณ์การเขียน กระเป๋าถือสตรี หรือกระเป๋าสัมภาระใดๆ เข้าห้องสอบโดยเด็ดขาด
ทั้งนี้จะไม่มีบริการรับฝากและจะไม่รับผิดชอบต่อการสูญหายใดๆ ทั้งสิน      ้
              ๒.๘ ไม่นําเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิดเข้าห้องสอบ เช่น โทรศัพท์มือถือ วิทยุสื่อสาร
เครื่องบันทึกเสียง หากตรวจพบในห้องสอบ ผู้เข้าทดสอบจะหมดสิทธิทดสอบทันที
              ๒.๙ ปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการทดสอบฯ คําสั่งของกรรมการคุมสอบ และไม่ทุจริตในการสอบ
              ๒.๑๐ เมื่ออยู่ในห้องสอบ ขณะทดสอบต้องไม่พูดหรือติดต่อหรือทําสัญญาณกับผู้เข้าทดสอบคนอื่น
หรือบุคคลภายนอก และไม่ออกจากห้องสอบ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตและอยู่ในความดูแลของกรรมการคุมสอบ
               ๒.๑๑ ไม่สูบบุหรี่ในห้องสอบ
              ๒.๑๒ ไม่ออกจากห้องสอบจนกว่าจะเริ่มเวลาทดสอบไปแล้วไม่น้อยกว่า ๔๕ นาที
              ๒.๑๓ ไม่คดลอกข้อสอบ ห้ามนําแบบทดสอบและกระดาษคําตอบออกจากห้องทดสอบ
                        ั
              ๒.๑๔ เมื่อหมดเวลาทดสอบ กรรมการคุมสอบสั่งให้หยุดทําข้อสอบ ผู้เข้าทดสอบจะต้อง
หยุดทําข้อสอบทันที และจะออกจากห้องทดสอบได้ตอเมื่อกรรมการคุมสอบได้อนุญาตแล้ว
                                                        ่
              ๒.๑๕ เมื่อออกจากห้องทดสอบไปแล้ว ต้องไม่กระทําการใดๆ อันเป็นการรบกวนแก่ผู้ที่ยังทดสอบอยู่
           ผูเข้าทดสอบต้องปฏิบัตตามระเบียบนี้อย่างเคร่งครัด หากพบว่าผูใดไม่ปฏิบติตามอาจไม่ได้รับอนุญาต
             ้                  ิ                                     ้        ั
ให้เข้าทดสอบ หรือไม่ได้รับการตรวจกระดาษคําตอบ
O สอบถามข้อมูลทดสอบความรู้
          กลุ่มทดสอบความรู้ในการประกอบวิชาชีพ สํานักมาตรฐานวิชาชีพ
โทรศัพท์ ๐-๒๓๐๔-๙๘๙๙ ต่อ ๖๗๓, ๖๙๒


                                          ***********************

More Related Content

What's hot

จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จ...
จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จ...จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จ...
จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จ...นายจักราวุธ คำทวี
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12Aon Lalita
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานworapanthewaha
 
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)Wanchart Rojjanaratn
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานDrWilaiporn Rittikoop
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554Nang Ka Nangnarak
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙QA Bpi
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)DrWilaiporn Rittikoop
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบSakda Hwankaew
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองChamoi Buarabutthong
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาAonaon Krubpom
 
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาSure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาKruthai Kidsdee
 

What's hot (19)

จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จ...
จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จ...จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จ...
จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จ...
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครู
 
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
 
17
1717
17
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาSure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
 

Similar to สอบวิชิาชีพครู

Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Panuwat Butriang
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดarisara
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยwanichaya kingchaikerd
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556Jaturapad Pratoom
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56Drnine Nan
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Denpong Soodphakdee
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนsupharinee
 

Similar to สอบวิชิาชีพครู (20)

วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัด
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
B1
B1B1
B1
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 

สอบวิชิาชีพครู

  • 1. กําหนดการทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ครั้งที่ ๑๑ คุรุสภา โดยคณะอนุกรรมการรับรองความรู้วิชาชีพทางการศึกษา จะดําเนินการทดสอบความรู้ตาม มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ครั้งที่ ๑๑ สําหรับชาวไทย และชาวต่างประเทศ ที่มีวุฒปริญญาตรีทางการศึกษา ิ และสาขาอื่นๆ ที่ประสงค์จะขอรับการรับรองความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด โดยการทดสอบ ตามกําหนดการ ดังนี้ วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ๗-๑๐ มกราคม ๒๕๕๖ ประกาศรับสมัครทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ครั้งที่ ๑๑ ผ่านเว็บไซต์คุรุสภา ๑๑-๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ รับสมัครทดสอบความรู้ฯ ครั้งที่ ๑๑ ผ่านระบบรับสมัครทดสอบออนไลน์ ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ผ่านเว็บไซต์คุรุสภา www.ksp.or.th มีนาคม ๒๕๕๖ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ทดสอบความรู้ฯ ครั้งที่ ๑๑ วันเวลาและสถานที่ ทดสอบความรู้ฯ รวมทั้งระเบียบปฏิบัติของผู้เข้าทดสอบความรู้ ผ่านเว็บไซต์คุรุสภา www.ksp.or.th ๔-๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ดําเนินการทดสอบความรู้ฯ ครั้งที่ ๑๑ ทั้งชาวไทย และต่างประเทศพร้อมกัน ณ ศูนย์ทดสอบส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค กรกฎาคม ๒๕๕๖ ประกาศผลการทดสอบความรู้ฯ ครั้งที่ ๑๑ ผ่านเว็บไซต์คุรุสภา www.ksp.or.th O วิธีการสมัครทดสอบความรู้ฯ ผู้ประสงค์จะสมัครทดสอบความรู้ฯ ต้องสมัครทดสอบผ่านระบบรับสมัครทดสอบออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ คุรุสภา www.ksp.or.th โดยใช้ Internet Explorer Browser ในการสมัครทดสอบเท่านั้น และจะต้องปฏิบัติ ตามขั้นตอนและคําแนะนําในการสมัครทดสอบ และชําระค่าธรรมเนียมทดสอบความรู้ ตามประกาศรับสมัคร ทดสอบความรู้ฯ O ค่าธรรมเนียมการสมัครทดสอบความรู้ ๑. ค่าธรรมเนียมทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ๑.๑ ผู้สมัครทดสอบชาวไทย มาตรฐานที่ ๑ ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู ๓๐๐ บาท มาตรฐานที่ ๒ การพัฒนาหลักสูตร ๓๐๐ บาท มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนรู้ ๓๐๐ บาท มาตรฐานที่ ๔ จิตวิทยาสําหรับครู ๓๐๐ บาท มาตรฐานที่ ๕ การวัดและประเมินผลการศึกษา ๓๐๐ บาท มาตรฐานที่ ๖ การบริหารจัดการในห้องเรียน ๓๐๐ บาท มาตรฐานที่ ๗ การวิจัยทางการศึกษา ๓๐๐ บาท มาตรฐานที่ ๘ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ๓๐๐ บาท มาตรฐานที่ ๙ ความเป็นครู ๓๐๐ บาท
  • 2. -๒- ๑.๒ ผู้สมัครทดสอบชาวต่างประเทศ ฉบับที่ ๑ ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ๑,๐๐๐ บาท ฉบับที่ ๒ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการในห้องเรียน ๑,๐๐๐ บาท ฉบับที่ ๓ การวัดและประเมินผลการศึกษา การวิจัยทางการศึกษา ๑,๐๐๐ บาท ฉบับที่ ๔ จิตวิทยาสําหรับครู ความเป็นครู ๑,๐๐๐ บาท ๒. ค่าธรรมเนียมการให้บริการรับชําระค่าธรรมเนียมทดสอบผ่านเคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในอัตรา ๓๐ บาท / ราย O สาระความรู้ตามมาตรฐานความรู้วชาชีพครู ิ สาระความรู้ตามมาตรฐานความรู้วิชาชีพครู ประกอบด้วย มาตรฐานที่ ๑ ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู (๑) ภาษาไทยสําหรับครู (๒) ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ สําหรับครู (๓) เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับครู มาตรฐานที่ ๒ การพัฒนาหลักสูตร (๑) ปรัชญา แนวคิดทฤษฎีการศึกษา (๒) ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย (๓) วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย (๔) ทฤษฎีหลักสูตร (๕) การพัฒนาหลักสูตร (๖) มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชั้นของหลักสูตร (๗) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (๘) ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนรู้ (๑) ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน (๒) รูปแบบการเรียนรู้และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน (๓) การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (๔) การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ (๕) การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม (๖) เทคนิค และวิทยาการจัดการเรียนรู้ (๗) การใช้และการผลิตสื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ (๘) การจัดการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นสําคัญ (๙) การประเมินผลการเรียนรู้
  • 3. -๓- มาตรฐานที่ ๔ จิตวิทยาสําหรับครู (๑) จิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุษย์ (๒) จิตวิทยาการศึกษา (๓) จิตวิทยาการแนะแนวและให้คําปรึกษา มาตรฐานที่ ๕ การวัดและประเมินผลการศึกษา (๑) หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลทางการศึกษา (๒) การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา (๓) การประเมินตามสภาพจริง (๔) การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน (๕) การประเมินภาคปฏิบัติ (๖) การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม มาตรฐานที่ ๖ การบริหารจัดการในห้องเรียน (๑) ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ (๒) ภาวะผู้นําทางการศึกษา (๓) การคิดอย่างเป็นระบบ (๔) การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร (๕) มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร (๖) การติดต่อสื่อสารในองค์กร (๗) การบริหารจัดการชั้นเรียน (๘) การประกันคุณภาพการศึกษา (๙) การทํางานเป็นทีม (๑๐) การจัดทําโครงงานทางวิชาการ (๑๑) การจัดโครงการฝึกอาชีพ (๑๒) การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนา (๑๓) การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (๑๔) การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน มาตรฐานที่ ๗ การวิจัยทางการศึกษา (๑) ทฤษฎีการวิจัย (๒) รูปแบบการวิจัย (๓) การออกแบบการวิจัย (๔) กระบวนการวิจัย (๕) สถิติเพื่อการวิจัย (๖) การวิจัยในชั้นเรียน (๗) การฝึกปฏิบัติการวิจัย (๘) การนําเสนอผลงานวิจัย (๙) การค้นคว้า ศึกษางานวิจัยในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ (๑๐) การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหา (๑๑) การเสนอโครงการเพื่อทําวิจัย
  • 4. -๔- มาตรฐานที่ ๘ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (๑) แนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่สงเสริมการ ่ พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ (๒) เทคโนโลยีและสารสนเทศ (๓) การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ (๔) แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ (๕) การออกแบบ การสร้าง การนําไปใช้การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม มาตรฐานที่ ๙ ความเป็นครู (๑) ความสําคัญของวิชาชีพครู บทบาทหน้าที่ ภาระงานของครู (๒) พัฒนาการของวิชาชีพครู (๓) คุณลักษณะของครูที่ดี (๔) การสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู (๕) การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็นครู (๖) การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และการเป็นผู้นาทางวิชาการ ํ (๗) เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู (๘) จรรยาบรรณของวิชาชีพครู (๙) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ผู้เข้าทดสอบสามารถศึกษาค้นคว้าตําราที่เกี่ยวข้องได้จากเอกสารตําราของสถาบันการศึกษาที่จัด การเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) ตรวจสอบรายชื่อสถาบันที่ได้รับการรับรอง หลักสูตรและมาตรฐานการผลิตปริญญาทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) www.ksp.or.th O การประกาศรายชื่อผู้มสทธิ์ทดสอบความรู้ ีิ คุรุสภา จะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ทดสอบความรู้ เฉพาะผู้สมัครทดสอบความรู้ทั้งชาวไทย และชาว ต่างประเทศ ที่ทําการสมัครทดสอบผ่านระบบรับสมัครทดสอบออนไลน์ และได้ชําระค่าธรรมเนียมทดสอบ ตามขั้นตอนและคําแนะนําในการสมัครทดสอบและการชําระค่าธรรมเนียมทดสอบอย่างถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์แล้วเท่านั้น O ข้อปฏิบัติในการเข้าทดสอบความรู้ ๑. แสดงเอกสารและหลักฐานดังต่อไปนี้ ในการแสดงตนกับกรรมการคุมสอบ ๑.๑ บัตรประจําตัวประชาชน หรือหนังสือเดินทาง (Passport) ฉบับจริงที่ยังไม่หมดอายุ ก่อนวันทดสอบ ๑.๒ ใบสมัครทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ที่พมพ์ออกจากระบบรับสมัคร ิ ทดสอบออนไลน์ ติดรูปถ่ายหน้าตรงที่มุมขวาบนของใบสมัครเรียบร้อยแล้ว ๑.๓ ใบเสร็จการรับชําระค่าธรรมเนียมทดสอบความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ที่ออกโดยธนาคารกรุงไทย ๑.๔ สําเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล (ถ้ามี)
  • 5. -๕- ๒. ปฏิบติตามระเบียบในการทดสอบความรู้ ดังนี้ ั ๒.๑ ตรวจสอบให้ทราบ วัน เวลา สถานที่ทดสอบ และห้องทดสอบ รวมทั้งศึกษาเส้นทางไป สนามทดสอบล่วงหน้า และควรไปถึงสถานที่ทดสอบก่อนเริ่มเวลาการทดสอบอย่างน้อย ๓๐ นาที ๒.๒ แต่งกายสุภาพเรียบร้อยทั้งสุภาพสตรีและสุภาพบุรุษ สวมรองเท้าหุ้มส้น ไม่สวมเสื้อยืด กางเกงหรือกระโปรงยีนส์ ทั้งนี้ ผู้แต่งกายไม่สุภาพจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าห้องสอบ ๒.๓ เข้าทดสอบตามวัน เวลา สถานที่ทดสอบ และห้องทดสอบที่กําหนดไว้เท่านั้น ๒.๔ แสดงเอกสารหลักฐานตามข้อ ๑ กับกรรมการคุมสอบ ๒.๕ นําอุปกรณ์เฉพาะดินสอ 2B ,ปากกา และยางลบเข้าห้องสอบเท่านั้น ๒.๖ ไม่กระทําการใดๆ ที่เป็นการทุจริตการสอบ หากมีการตรวจพบภายหลังว่ามีการทุจริตการสอบ ผู้เข้าทดสอบจะถูกตัดสิทธิในการสอบครั้งนี้ และครั้งต่อไป ๒.๗ ไม่นํากระเป๋าอุปกรณ์การเขียน กระเป๋าถือสตรี หรือกระเป๋าสัมภาระใดๆ เข้าห้องสอบโดยเด็ดขาด ทั้งนี้จะไม่มีบริการรับฝากและจะไม่รับผิดชอบต่อการสูญหายใดๆ ทั้งสิน ้ ๒.๘ ไม่นําเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิดเข้าห้องสอบ เช่น โทรศัพท์มือถือ วิทยุสื่อสาร เครื่องบันทึกเสียง หากตรวจพบในห้องสอบ ผู้เข้าทดสอบจะหมดสิทธิทดสอบทันที ๒.๙ ปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการทดสอบฯ คําสั่งของกรรมการคุมสอบ และไม่ทุจริตในการสอบ ๒.๑๐ เมื่ออยู่ในห้องสอบ ขณะทดสอบต้องไม่พูดหรือติดต่อหรือทําสัญญาณกับผู้เข้าทดสอบคนอื่น หรือบุคคลภายนอก และไม่ออกจากห้องสอบ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตและอยู่ในความดูแลของกรรมการคุมสอบ ๒.๑๑ ไม่สูบบุหรี่ในห้องสอบ ๒.๑๒ ไม่ออกจากห้องสอบจนกว่าจะเริ่มเวลาทดสอบไปแล้วไม่น้อยกว่า ๔๕ นาที ๒.๑๓ ไม่คดลอกข้อสอบ ห้ามนําแบบทดสอบและกระดาษคําตอบออกจากห้องทดสอบ ั ๒.๑๔ เมื่อหมดเวลาทดสอบ กรรมการคุมสอบสั่งให้หยุดทําข้อสอบ ผู้เข้าทดสอบจะต้อง หยุดทําข้อสอบทันที และจะออกจากห้องทดสอบได้ตอเมื่อกรรมการคุมสอบได้อนุญาตแล้ว ่ ๒.๑๕ เมื่อออกจากห้องทดสอบไปแล้ว ต้องไม่กระทําการใดๆ อันเป็นการรบกวนแก่ผู้ที่ยังทดสอบอยู่ ผูเข้าทดสอบต้องปฏิบัตตามระเบียบนี้อย่างเคร่งครัด หากพบว่าผูใดไม่ปฏิบติตามอาจไม่ได้รับอนุญาต ้ ิ ้ ั ให้เข้าทดสอบ หรือไม่ได้รับการตรวจกระดาษคําตอบ O สอบถามข้อมูลทดสอบความรู้ กลุ่มทดสอบความรู้ในการประกอบวิชาชีพ สํานักมาตรฐานวิชาชีพ โทรศัพท์ ๐-๒๓๐๔-๙๘๙๙ ต่อ ๖๗๓, ๖๙๒ ***********************