SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๑
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ครั้งที่หนึ่ง
พ.ศ. ๒๕๔๘
คําชี้แจง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก
กระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุมสาระ
การเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระการออกแบบและเทคโนโลยี
และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตลอดจน
จัดทําสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว
คูมือครูเลมนี้เปนสวนหนึ่งของสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรของกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู
คณิตศาสตรใหผูเรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว
ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ
นักวิชาการและครูผูสอน จากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทาน
ไว ณ ที่นี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตรให
สามารถนําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน
หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท. ทราบดวย
จักขอบคุณยิ่ง
(นางนงนุช ชาญปริยวาทีวงศ)
รองผูอํานวยการ รักษาการแทน
ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สารบัญ
หนา
คํานํา
คําชี้แจง
คําชี้แจงการใชคูมือครู ก
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง
บทที่ 1 กรณฑที่สอง 1
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1
แนวทางในการจัดการเรียนรู 2
1.1 สมบัติของ a เมื่อ a > 0 2
จุดประสงค 2
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2
1.2 การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง 3
จุดประสงค 3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3
1.3 การนําไปใช 3
จุดประสงค 3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 4
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม 11
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 11
แนวทางในการจัดการเรียนรู 12
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสอง 12
จุดประสงค 12
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 12
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 12
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ 13
จุดประสงค 13
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 13
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 13
2.3 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็ม 14
จุดประสงค 14
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 14
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 14
2.4 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มโดยใช 16
ทฤษฎีบทเศษเหลือ 16
จุดประสงค 16
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 16
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 18
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 23
บทที่ 3 สมการกําลังสอง 33
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 33
แนวทางในการจัดการเรียนรู 34
3.1 ทบทวนสมการกําลังสอง 34
จุดประสงค 34
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 34
3.2 การแกสมการกําลังสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ 34
จุดประสงค 34
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 34
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 34
3.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสอง 36
จุดประสงค 36
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 36
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 36
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 38
กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ 42
บทที่ 4 พาราโบลา 50
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 50
แนวทางในการจัดการเรียนรู 51
4.1 สมการของพาราโบลา 51
จุดประสงค 51
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 51
4.2 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
เมื่อ a ≠ 0 52
จุดประสงค 52
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 52
4.3 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 53
จุดประสงค 53
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 54
4.4 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 55
จุดประสงค 55
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 55
4.5 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ bx + c เมื่อ a ≠ 0 56
จุดประสงค 56
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 56
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 56
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 57
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 79
บทที่ 4 พื้นที่ผิวและปริมาตร 83
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 83
แนวทางในการจัดการเรียนรู 84
5.1 พื้นที่ผิวของพีระมิด กรวยและทรงกลม 84
จุดประสงค 84
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 84
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 84
5.2 การนําไปใช 87
จุดประสงค 87
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 87
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 87
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 88
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 97
คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
3
คําแนะนําการใชหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร ประกอบดวย
1. เนื้อหาสาระ ในการนําเสนอเนื้อหาสาระของแตละบทเรียน ไดคํานึงถึงการเชื่อมโยงความรูใหม
กับความรูพื้นฐานเดิมของนักเรียน โดยพยายามใชตัวอยางจากชีวิตจริงและความรูจากศาสตรอื่น
ประกอบการอธิบายเพื่อใหไดขอสรุปเปนความรูใหมตอไป
2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช
3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ แก
โจทยปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ
4. ปญหาชวนคิดหรือเรื่องนารู เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่
เรียนมาเพื่อแกปญหาหรือหาขอสรุปใหม
เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู ให
เขาใจอยางถองแท
2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ขอที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย
3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา
4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม
หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได
5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ
ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู
ตาง ๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
คําชี้แจงการใชคูมือครู
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหการจัดการเรียน
การสอนคณิตศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตร
ครบถวนทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณธรรม
จริยธรรมและคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครูซึ่งเสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวโดยละเอียด
เพื่อใชควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 ดังนั้นครูตอง
ศึกษาคูมือครูใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอน
ทุกบทเรียน และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและวิธีจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ
คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้
1. ชื่อบทและหัวขอเรื่องประจําบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบท
และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่เห็นสมควร
2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรย้ํา
3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่
ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา
จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนเกิดผลการเรียนรูตามที่กําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง
จบการเรียนการสอน ผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู
ชวงชั้นที่ 3 ดวย
4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอยอยของแตละบทไดใหรายละเอียดของ
หัวขอตอไปนี้
1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนใหนักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่ง
จะตองเกิดขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตาม
จุดประสงคและใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหบรรลุถึงผลการเรียนรูที่
คาดหวังรายป
การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา
แบบฝกหัด การทํากิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา
นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอนซอม
เสริมใหม
2
2) เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม ในบางหัวขอไดระบุรายการกิจกรรมเสนอแนะ
หรือใบประกอบกิจกรรมไวดังรายละเอียดในขอ 6
3) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู
ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน
5. คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําถามทุกคําถามในกิจกรรมและแบบฝกหัดทุกขอมี
คําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไวใหเพื่อเปนแนวทางในการหาคําตอบ บางขอมีหลายคําตอบแตให
ไวเปนตัวอยางอยางนอยหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะกิจกรรมหรือแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทําไดสอดแทรก
ปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะ สังเกต รวบรวมขอมูล วิเคราะห สรางขอความคาดการณและ
พิสูจนงาย ๆ การเฉลยคําตอบหรือการใหเหตุผลประกอบคําตอบไดคํานึงถึงพื้นฐานความรูและวุฒิภาวะ
ของนักเรียนเปนหลัก การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจ
แบบฝกหัดครูควรพิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ถึงแมวา
จะไมเหมือนกับคําตอบที่เฉลยไว ปญหาที่มีลักษณะเปนปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย
6. กิจกรรมเสนอแนะ บางบทเรียนไดเสนอแนะกิจกรรมที่พัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรเพื่อใหครูเลือกใช ในแตละกิจกรรมครูอาจปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับเวลาและความสามารถ
ของนักเรียน
กอนดําเนินกิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง เพื่อใหเกิด
ความเขาใจและมองเห็นแงมุมตาง ๆ ของกิจกรรมที่จะทํา ไมควรดวนอธิบายหรือชี้นําแนวคิด ขณะ
ทํากิจกรรมครูตองสงเสริมใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ตลอดจนฝกฝนให
นักเรียนรูจัก วิเคราะหปญหา ตัดสินใจและหาขอสรุป
ทั้งนี้ในบางกิจกรรมไดแสดงคําตอบไวในวงเล็บสีแดง
7. แบบฝกหัดเพิ่มเติม ในบางบทเรียนไดเตรียมแบบฝกหัดเพิ่มเติมไวใหครูเลือกหรือปรับใช
ใหเหมาะสมกับนักเรียนของตนเองและในบางขอไดแสดงคําตอบไวในวงเล็บดวยเชนกัน
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง
1
2
3
4
5
กรณฑที่สอง
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
สมการกําลังสอง
พาราโบลา
พื้นที่ผิวและปริมาตร
9
15
12
12
12
รวม 60

More Related Content

Viewers also liked (6)

Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Add m3-2-link
Add m3-2-linkAdd m3-2-link
Add m3-2-link
 
Add m4-2-chapter1
Add m4-2-chapter1Add m4-2-chapter1
Add m4-2-chapter1
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1 lnw tongphysics
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1  lnw tongphysics(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1  lnw tongphysics
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1 lnw tongphysics
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 

Similar to Add m3-1-link

01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1Siwaphon Tonpui
 
The research of Learning Disabilities
The research of Learning DisabilitiesThe research of Learning Disabilities
The research of Learning DisabilitiesEve shinda
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55tassanee chaicharoen
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น Drnine Nan
 
แผนการจัดการเรียนรู้เทคนิคการฝึกอบรม 2555 ส่ง วช. ok
แผนการจัดการเรียนรู้เทคนิคการฝึกอบรม  2555   ส่ง  วช. okแผนการจัดการเรียนรู้เทคนิคการฝึกอบรม  2555   ส่ง  วช. ok
แผนการจัดการเรียนรู้เทคนิคการฝึกอบรม 2555 ส่ง วช. okนางสาวประชิด เกิดมาก
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 

Similar to Add m3-1-link (20)

Add m2-1-link
Add m2-1-linkAdd m2-1-link
Add m2-1-link
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Add m5-1-link
Add m5-1-linkAdd m5-1-link
Add m5-1-link
 
Add m5-2-link
Add m5-2-linkAdd m5-2-link
Add m5-2-link
 
Add m6-2-link
Add m6-2-linkAdd m6-2-link
Add m6-2-link
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 
The research of Learning Disabilities
The research of Learning DisabilitiesThe research of Learning Disabilities
The research of Learning Disabilities
 
การบวก
การบวกการบวก
การบวก
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้เทคนิคการฝึกอบรม 2555 ส่ง วช. ok
แผนการจัดการเรียนรู้เทคนิคการฝึกอบรม  2555   ส่ง  วช. okแผนการจัดการเรียนรู้เทคนิคการฝึกอบรม  2555   ส่ง  วช. ok
แผนการจัดการเรียนรู้เทคนิคการฝึกอบรม 2555 ส่ง วช. ok
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 

Add m3-1-link

  • 1. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ครั้งที่หนึ่ง พ.ศ. ๒๕๔๘
  • 2. คําชี้แจง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก กระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุมสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระการออกแบบและเทคโนโลยี และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตลอดจน จัดทําสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว คูมือครูเลมนี้เปนสวนหนึ่งของสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรของกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู คณิตศาสตรใหผูเรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการและครูผูสอน จากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทาน ไว ณ ที่นี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตรให สามารถนําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท. ทราบดวย จักขอบคุณยิ่ง (นางนงนุช ชาญปริยวาทีวงศ) รองผูอํานวยการ รักษาการแทน ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 3. สารบัญ หนา คํานํา คําชี้แจง คําชี้แจงการใชคูมือครู ก กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง บทที่ 1 กรณฑที่สอง 1 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2 1.1 สมบัติของ a เมื่อ a > 0 2 จุดประสงค 2 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2 1.2 การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง 3 จุดประสงค 3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3 1.3 การนําไปใช 3 จุดประสงค 3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 4 บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม 11 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 11 แนวทางในการจัดการเรียนรู 12 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสอง 12 จุดประสงค 12 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 12 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 12 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ 13 จุดประสงค 13 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 13 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 13
  • 4. 2.3 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็ม 14 จุดประสงค 14 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 14 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 14 2.4 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มโดยใช 16 ทฤษฎีบทเศษเหลือ 16 จุดประสงค 16 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 16 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 18 กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 23 บทที่ 3 สมการกําลังสอง 33 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 33 แนวทางในการจัดการเรียนรู 34 3.1 ทบทวนสมการกําลังสอง 34 จุดประสงค 34 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 34 3.2 การแกสมการกําลังสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ 34 จุดประสงค 34 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 34 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 34 3.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสอง 36 จุดประสงค 36 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 36 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 36 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 38 กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ 42 บทที่ 4 พาราโบลา 50 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 50 แนวทางในการจัดการเรียนรู 51 4.1 สมการของพาราโบลา 51 จุดประสงค 51 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 51
  • 5. 4.2 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 เมื่อ a ≠ 0 52 จุดประสงค 52 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 52 4.3 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 53 จุดประสงค 53 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 54 4.4 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 55 จุดประสงค 55 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 55 4.5 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 56 จุดประสงค 56 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 56 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 56 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 57 กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 79 บทที่ 4 พื้นที่ผิวและปริมาตร 83 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 83 แนวทางในการจัดการเรียนรู 84 5.1 พื้นที่ผิวของพีระมิด กรวยและทรงกลม 84 จุดประสงค 84 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 84 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 84 5.2 การนําไปใช 87 จุดประสงค 87 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 87 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 87 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 88 กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 97 คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
  • 6. 3 คําแนะนําการใชหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร ประกอบดวย 1. เนื้อหาสาระ ในการนําเสนอเนื้อหาสาระของแตละบทเรียน ไดคํานึงถึงการเชื่อมโยงความรูใหม กับความรูพื้นฐานเดิมของนักเรียน โดยพยายามใชตัวอยางจากชีวิตจริงและความรูจากศาสตรอื่น ประกอบการอธิบายเพื่อใหไดขอสรุปเปนความรูใหมตอไป 2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช 3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ แก โจทยปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ 4. ปญหาชวนคิดหรือเรื่องนารู เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่ เรียนมาเพื่อแกปญหาหรือหาขอสรุปใหม เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู ให เขาใจอยางถองแท 2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ขอที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย 3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา 4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได 5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู ตาง ๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
  • 7. คําชี้แจงการใชคูมือครู สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหการจัดการเรียน การสอนคณิตศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตร ครบถวนทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครูซึ่งเสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวโดยละเอียด เพื่อใชควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 ดังนั้นครูตอง ศึกษาคูมือครูใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอน ทุกบทเรียน และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและวิธีจัดกิจกรรม การเรียนการสอนไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้ 1. ชื่อบทและหัวขอเรื่องประจําบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบท และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่เห็นสมควร 2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรย้ํา 3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่ ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนเกิดผลการเรียนรูตามที่กําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง จบการเรียนการสอน ผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู ชวงชั้นที่ 3 ดวย 4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอยอยของแตละบทไดใหรายละเอียดของ หัวขอตอไปนี้ 1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียน การสอนใหนักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่ง จะตองเกิดขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตาม จุดประสงคและใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหบรรลุถึงผลการเรียนรูที่ คาดหวังรายป การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา แบบฝกหัด การทํากิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอนซอม เสริมใหม
  • 8. 2 2) เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม ในบางหัวขอไดระบุรายการกิจกรรมเสนอแนะ หรือใบประกอบกิจกรรมไวดังรายละเอียดในขอ 6 3) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน 5. คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําถามทุกคําถามในกิจกรรมและแบบฝกหัดทุกขอมี คําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไวใหเพื่อเปนแนวทางในการหาคําตอบ บางขอมีหลายคําตอบแตให ไวเปนตัวอยางอยางนอยหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะกิจกรรมหรือแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทําไดสอดแทรก ปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะ สังเกต รวบรวมขอมูล วิเคราะห สรางขอความคาดการณและ พิสูจนงาย ๆ การเฉลยคําตอบหรือการใหเหตุผลประกอบคําตอบไดคํานึงถึงพื้นฐานความรูและวุฒิภาวะ ของนักเรียนเปนหลัก การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจ แบบฝกหัดครูควรพิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ถึงแมวา จะไมเหมือนกับคําตอบที่เฉลยไว ปญหาที่มีลักษณะเปนปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย 6. กิจกรรมเสนอแนะ บางบทเรียนไดเสนอแนะกิจกรรมที่พัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตรเพื่อใหครูเลือกใช ในแตละกิจกรรมครูอาจปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับเวลาและความสามารถ ของนักเรียน กอนดําเนินกิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง เพื่อใหเกิด ความเขาใจและมองเห็นแงมุมตาง ๆ ของกิจกรรมที่จะทํา ไมควรดวนอธิบายหรือชี้นําแนวคิด ขณะ ทํากิจกรรมครูตองสงเสริมใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ตลอดจนฝกฝนให นักเรียนรูจัก วิเคราะหปญหา ตัดสินใจและหาขอสรุป ทั้งนี้ในบางกิจกรรมไดแสดงคําตอบไวในวงเล็บสีแดง 7. แบบฝกหัดเพิ่มเติม ในบางบทเรียนไดเตรียมแบบฝกหัดเพิ่มเติมไวใหครูเลือกหรือปรับใช ใหเหมาะสมกับนักเรียนของตนเองและในบางขอไดแสดงคําตอบไวในวงเล็บดวยเชนกัน
  • 9. กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง 1 2 3 4 5 กรณฑที่สอง การแยกตัวประกอบของพหุนาม สมการกําลังสอง พาราโบลา พื้นที่ผิวและปริมาตร 9 15 12 12 12 รวม 60