SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
MCI 203 การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เสนอ ผศ.ดร.พรเทพ เมืองแมน
จัดทําโดย นางสาวดวงเด่น แสนดี รหัส 6053200012
คําถามแบบโสกราตีส (อังกฤษ: Socratic questioning) หมายถึงระเบียบวิธีการตังคําถามสําหรับใช้ในการ
ค้นหาความคิดในหลายๆ ทิศทางเพือวัตถุประสงค์ต่างๆ ซึงรวมถึงการค้นหาความคิดทีซับซ้อน เพือค้นหาความจริงใน
เรืองต่างๆ เพือเปิดประเด็นความคิดและปัญหา เพือเปิดเผยสมมุติฐาน เพือวิเคราะห์แนวคิด เพือแยกความแตกต่างในสิง
ทีเรารู้จากสิงทีเราไม่รู้ และเพือติดตามการประยุกต์ความคิดอย่างมีตรรกะ กุญแจสําคัญสําหรับบ่งความแตกต่างของ
คําถามแบบโสกราตีส โดยตรงก็คือ คําถามแบบโสกราตีสเป็นคําถามทีเป็นระบบ มีระเบียบวิธีทีชัดเจน มีความลึกและ
ปกติจะพุ่งจุดศูนย์รวมไปทีแนวคิดพืนฐาน หลักการ ทฤษฎี ประเด็นปัญหา หรือตัวปัญหา
อ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki/คําถามแบบโสกราตีส
วิธีการของโสคราตีส ( Socratic Method )
วิธีการของโสคราตีสคือศิลปะการสนทนาทีโสคราตีสใช้ในการสนทนาเพือให้การสนทนาดําเนินไปสู่
คําตอบของปัญหาทีกําลังอภิปรายกัน วิธีนีมีชือเรียกทัวไปว่า วิภาษวิธี ( Dialectic ) ซึงมีลักษณะ ๕ ประการคือ
1.สงสัย โสคราตีสเริมต้นการสนทนาด้วยการยกย่องคู่สนทนาว่าเป็นผู้เชียวชาญในเรืองทีท่านเองก็ใคร่
รู้อยู่พอดี เนืองจากท่านไม่มีความรู้เกียวกับเรืองนัน ท่านจึงขอให้เขาตอบคําถามของท่านเกียวกับเรืองนัน การ
ออกตัวทํานองนีถือกันว่าเป็นการถ่อมตัวของนักปรัชญา
2.สนทนา จากนันโสคราตีสก็เป็นฝ่ายตังปัญหาให้คู่สนทนาตอบ การสนทนาจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับ
เทศน์ปุจฉา-วิสัชนา คู่สนทนาจะต้องหาคําจํากัดความของหัวข้อทีสนทนากัน โสคราตีสจะวิจารณ์ว่า คําจํากัด
ความนันมีข้อบกพร่องตรงไหนบ้าง อีกฝ่ายหนึงจะเสนอคําจํากัดความใหม่ทีดูรัดกุมกว่า โสคราตีสจะขัดเกลาคํา
จํากัดความนันอีก การสนทนาจะดําเนินไปอย่างนี จนกว่าทังสองฝ่ายจะได้คําจํากัดความทีน่าพอใจ
3.หาคําจํากัดความ จุดมุ่งหมายของการสนทนาจึงอยู่ทีการหาคําจํากัดความทีถูกต้อง โสคราตีสเชือว่า ถ้า
เราพบคําจํากัดความทีถูกต้องของสิงใด นันแสดงว่าเราพบความจริงแท้เกียวกับสิงนัน ซึงเป็นอันเดียวกับการ
ค้นพบมโนภาพของสิงนันนันเอง
4.อุปนัย การสร้างคําจํากัดความจะเริมจากสิงเฉพาะไปสู่สิงสากล เช่น เมือหาคําจํากัดความของคําว่า
สิทธิ โสคราตีสและคู่สนทนาจะพิจารณาตัวอย่างจากสิทธิต่างๆ ในสังคมแล้วดึงเอาลักษณะทีเป็นแก่นหรือที
เป็นสากลมาสร้างเป็นคํานิยาม
5.นิรนัย คําจํากัดความทีมีผู้เสนอมาจะถูกพิสูจน์โดยการนําไปเป็นมาตรการวัดสิงเฉพาะต่างๆ ว่ามี
ลักษณะร่วมกับลักษณะทีระบุไว้ในคําจํากัดความนันหรือไม่ เช่น ถ้าเราได้คําจํากัดความของ สิทธิ มาเราก็ต้อง
ตรวจสอบดูว่า กรรมสิทธิ ถือเป็นสิทธิตามคําจํากัดความทีเราตังไว้หรือไม่เพียงใด
MCI 203 การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เสนอ ผศ.ดร.พรเทพ เมืองแมน
จัดทําโดย นางสาวดวงเด่น แสนดี รหัส 6053200012
จะเห็นได้ว่าวิธีการของโสคราตีสนันมีสิงทีสําคัญคือการถาม-ตอบ ซึงการถาม-ตอบเพือทีจะบรรลุ
จุดมุ่งหมายคือการพัฒนาความรู้ได้นันก็ต้องอาศัยวิธีการตังคําถามทีมีประสิทธิภาพ ไม่ถามอย่างไร้เหตุผล
ดังนันคําถามจึงเป็นส่วนทีสําคัญมากในวิธีการของโสคราตีส
คําถามแบบโสคราตีส ( Socratic Questioning )
คําถามแบบโสคราตีส คือ ระเบียบวิธีการตังคําถามสําหรับใช้ในการค้นหาความคิดในหลายๆ ทิศทาง
เพือวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพือค้นหาความจริงสากล เพือค้นหาความคิดทีซับซ้อน เพือเปิดประเด็นปัญหา เพือ
เปิดเผยสมมุติฐาน เพือวิเคราะห์แนวคิด เพือจําแนกสิงต่างๆ หรือเพือประยุกต์ความคิดอย่างมีตรรกะ ลักษณะ
ของคําถามแบบโสคราตีสคือ เป็นคําถามทีเป็นระบบ มีระเบียบวิธีทีชัดเจน มีความลึกและปกติจะพุ่งจุดศูนย์รวม
ไปทีแนวคิดพืนฐาน หลักการ ทฤษฎี ประเด็นปัญหา หรือตัวปัญหา
คําถามแบบโสคราตีสมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาและพัฒนาความคิด ดังนันจึงมีประโยชน์ในการเรียนการ
สอน ซึงในการเรียนการสอนนันสามารถใช้คําถามแบบโสคราตีสเพือวัตถุประสงค์อย่างน้อย ๒ ประการคือ
1.เพือเจาะลึกเข้าไปในความคิดของนิสิตนักศึกษา เพือช่วยให้นิสิตนักศึกษาสามารถแยกแยะสิงทีตนรู้
หรือเข้าใจออกจากสิงทีตนไม่รู้หรือไม่เข้าใจ
2.เพือเสริมสร้างขีดความสามารถในการใช้คําถามแบบโสคราตีสให้แก่นิสิตนักศึกษา ให้นํามาใช้เป็น
เครืองมือหลักในการถกเถียงแบบโสคราตีส ( Socratic dialogue ) ได้ ทังนีเพือให้นิสิตนักศึกษาใช้เครืองมือนี
ได้ในชีวิตประจําวัน ( สําหรับการถามตนเองและถามผู้อืน )
อ้างอิง http://www.learners.in.th/blogs/posts/258713
วิธีการตังคําถามแบบโซเครดิต(Socratic Method)
 เป็นวิธีสอนของนักปราชญ์ชาวกรีก ชือโซเครติส วิธีสอนแบบนีใช้การตังคําถามให้นักเรียนคิดหาคําตอบหรือ
ตอบปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะกระตุ้นให้นักเรียนนึกถึงเรืองต่างๆ ทีเคยเรียนแล้ว
 คําถามของครูจะเป็นแนวทางให้นักเรียนคิดค้นหาความรู้ นักเรียนจะเรียนด้วยการพิจารณาอย่างรอบคอบเพือ
หาคําตอบทีถูกต้อง และเป็นการเสริมสร้างสติปัญญาให้ทุกคนรู้จักแสดงความคิดเห็น อภิปรายแล้วสรุปความ
คิดเห็นลงในแนวเดียวกัน วิธีสอนแบบนีเหมาะสําหรับนักเรียนทีชอบใช้ความคิดค้นคว้าหาความรู้ในสิงต่างๆ
Socratic questioning มี 6 แบบ
1. Tell me more: ขอความกระจ่าง
2. Probe assumption: ขอข้อสรุป
3. Reason ขอเหตุผล
4. View point & Perspectives ถามมุมมองแง่อืนและแนวคิด
5. Implication & Consequence การนําไปใช้และคาดการณ์สิงทีจะเกิดขึน
6. คําถามเกียวกับคําถาม เป็นคําถามขันสูง --- รู้ไหมทําไมถามแบบนี
MCI 203 การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เสนอ ผศ.ดร.พรเทพ เมืองแมน
จัดทําโดย นางสาวดวงเด่น แสนดี รหัส 6053200012
วิธีการตังคําถามแบบโซเครติค
การตังคําถามระดับสูงจะทําให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดระดับสูง และเป็นคนมีเหตุผล ผู้เรียนไม่เพียงแต่จดจํา
ความรู้ ข้อเท็จจริงได้อย่างเดียวแต่สามารถนําความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ และประเมินสิงทีถาม
ได้ นอกจากนียังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจสาระสําคัญของเรืองราวทีเรียนได้อย่างถูกต้องและกระตุ้นให้ผู้เรียนค้นหาข้อมูล
มาตอบคําถามด้วยตนเอง
การตอบคําถามระดับสูง ผู้สอนต้องให้เวลาผู้เรียนในการคิดหาคําตอบเป็นเวลามากกว่าการตอบคําถาม
ระดับพืนฐาน เพราะผู้เรียนต้องใช้เวลาในการคิดวิเคราะห์อย่างลึกซึงและมีวิจารณญาณในการตอบคําถาม ความ
ผิดพลาดอย่างหนึงของการตังคําถามคือ การถามแล้วต้องการคําตอบในทันทีโดยไม่ให้เวลาผู้เรียนในการคิดหาคําตอบ
อ้างอิง http://www.ns.mahidol.ac.th/english/th/departments/MN/th/km_clinical.html

More Related Content

What's hot

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางสาวกปิศาจ Kudo
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนPalasut
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลางพัน พัน
 

What's hot (20)

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อน
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 

Similar to คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 Thunyakan Intrawut
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันParishat Tanteng
 

Similar to คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning) (13)

58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
3 m
3 m3 m
3 m
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
2560 project 2561
2560 project 25612560 project 2561
2560 project 2561
 
genius and autism
genius and autismgenius and autism
genius and autism
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
 
Final01
Final01Final01
Final01
 
knowledgebasesociety
knowledgebasesocietyknowledgebasesociety
knowledgebasesociety
 

More from DuangdenSandee

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)DuangdenSandee
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการDuangdenSandee
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาDuangdenSandee
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบDuangdenSandee
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยDuangdenSandee
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามDuangdenSandee
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยDuangdenSandee
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลDuangdenSandee
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลDuangdenSandee
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยDuangdenSandee
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องDuangdenSandee
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์DuangdenSandee
 

More from DuangdenSandee (20)

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบ
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัย
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
 

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)

  • 1. MCI 203 การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เสนอ ผศ.ดร.พรเทพ เมืองแมน จัดทําโดย นางสาวดวงเด่น แสนดี รหัส 6053200012 คําถามแบบโสกราตีส (อังกฤษ: Socratic questioning) หมายถึงระเบียบวิธีการตังคําถามสําหรับใช้ในการ ค้นหาความคิดในหลายๆ ทิศทางเพือวัตถุประสงค์ต่างๆ ซึงรวมถึงการค้นหาความคิดทีซับซ้อน เพือค้นหาความจริงใน เรืองต่างๆ เพือเปิดประเด็นความคิดและปัญหา เพือเปิดเผยสมมุติฐาน เพือวิเคราะห์แนวคิด เพือแยกความแตกต่างในสิง ทีเรารู้จากสิงทีเราไม่รู้ และเพือติดตามการประยุกต์ความคิดอย่างมีตรรกะ กุญแจสําคัญสําหรับบ่งความแตกต่างของ คําถามแบบโสกราตีส โดยตรงก็คือ คําถามแบบโสกราตีสเป็นคําถามทีเป็นระบบ มีระเบียบวิธีทีชัดเจน มีความลึกและ ปกติจะพุ่งจุดศูนย์รวมไปทีแนวคิดพืนฐาน หลักการ ทฤษฎี ประเด็นปัญหา หรือตัวปัญหา อ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki/คําถามแบบโสกราตีส วิธีการของโสคราตีส ( Socratic Method ) วิธีการของโสคราตีสคือศิลปะการสนทนาทีโสคราตีสใช้ในการสนทนาเพือให้การสนทนาดําเนินไปสู่ คําตอบของปัญหาทีกําลังอภิปรายกัน วิธีนีมีชือเรียกทัวไปว่า วิภาษวิธี ( Dialectic ) ซึงมีลักษณะ ๕ ประการคือ 1.สงสัย โสคราตีสเริมต้นการสนทนาด้วยการยกย่องคู่สนทนาว่าเป็นผู้เชียวชาญในเรืองทีท่านเองก็ใคร่ รู้อยู่พอดี เนืองจากท่านไม่มีความรู้เกียวกับเรืองนัน ท่านจึงขอให้เขาตอบคําถามของท่านเกียวกับเรืองนัน การ ออกตัวทํานองนีถือกันว่าเป็นการถ่อมตัวของนักปรัชญา 2.สนทนา จากนันโสคราตีสก็เป็นฝ่ายตังปัญหาให้คู่สนทนาตอบ การสนทนาจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับ เทศน์ปุจฉา-วิสัชนา คู่สนทนาจะต้องหาคําจํากัดความของหัวข้อทีสนทนากัน โสคราตีสจะวิจารณ์ว่า คําจํากัด ความนันมีข้อบกพร่องตรงไหนบ้าง อีกฝ่ายหนึงจะเสนอคําจํากัดความใหม่ทีดูรัดกุมกว่า โสคราตีสจะขัดเกลาคํา จํากัดความนันอีก การสนทนาจะดําเนินไปอย่างนี จนกว่าทังสองฝ่ายจะได้คําจํากัดความทีน่าพอใจ 3.หาคําจํากัดความ จุดมุ่งหมายของการสนทนาจึงอยู่ทีการหาคําจํากัดความทีถูกต้อง โสคราตีสเชือว่า ถ้า เราพบคําจํากัดความทีถูกต้องของสิงใด นันแสดงว่าเราพบความจริงแท้เกียวกับสิงนัน ซึงเป็นอันเดียวกับการ ค้นพบมโนภาพของสิงนันนันเอง 4.อุปนัย การสร้างคําจํากัดความจะเริมจากสิงเฉพาะไปสู่สิงสากล เช่น เมือหาคําจํากัดความของคําว่า สิทธิ โสคราตีสและคู่สนทนาจะพิจารณาตัวอย่างจากสิทธิต่างๆ ในสังคมแล้วดึงเอาลักษณะทีเป็นแก่นหรือที เป็นสากลมาสร้างเป็นคํานิยาม 5.นิรนัย คําจํากัดความทีมีผู้เสนอมาจะถูกพิสูจน์โดยการนําไปเป็นมาตรการวัดสิงเฉพาะต่างๆ ว่ามี ลักษณะร่วมกับลักษณะทีระบุไว้ในคําจํากัดความนันหรือไม่ เช่น ถ้าเราได้คําจํากัดความของ สิทธิ มาเราก็ต้อง ตรวจสอบดูว่า กรรมสิทธิ ถือเป็นสิทธิตามคําจํากัดความทีเราตังไว้หรือไม่เพียงใด
  • 2. MCI 203 การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เสนอ ผศ.ดร.พรเทพ เมืองแมน จัดทําโดย นางสาวดวงเด่น แสนดี รหัส 6053200012 จะเห็นได้ว่าวิธีการของโสคราตีสนันมีสิงทีสําคัญคือการถาม-ตอบ ซึงการถาม-ตอบเพือทีจะบรรลุ จุดมุ่งหมายคือการพัฒนาความรู้ได้นันก็ต้องอาศัยวิธีการตังคําถามทีมีประสิทธิภาพ ไม่ถามอย่างไร้เหตุผล ดังนันคําถามจึงเป็นส่วนทีสําคัญมากในวิธีการของโสคราตีส คําถามแบบโสคราตีส ( Socratic Questioning ) คําถามแบบโสคราตีส คือ ระเบียบวิธีการตังคําถามสําหรับใช้ในการค้นหาความคิดในหลายๆ ทิศทาง เพือวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพือค้นหาความจริงสากล เพือค้นหาความคิดทีซับซ้อน เพือเปิดประเด็นปัญหา เพือ เปิดเผยสมมุติฐาน เพือวิเคราะห์แนวคิด เพือจําแนกสิงต่างๆ หรือเพือประยุกต์ความคิดอย่างมีตรรกะ ลักษณะ ของคําถามแบบโสคราตีสคือ เป็นคําถามทีเป็นระบบ มีระเบียบวิธีทีชัดเจน มีความลึกและปกติจะพุ่งจุดศูนย์รวม ไปทีแนวคิดพืนฐาน หลักการ ทฤษฎี ประเด็นปัญหา หรือตัวปัญหา คําถามแบบโสคราตีสมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาและพัฒนาความคิด ดังนันจึงมีประโยชน์ในการเรียนการ สอน ซึงในการเรียนการสอนนันสามารถใช้คําถามแบบโสคราตีสเพือวัตถุประสงค์อย่างน้อย ๒ ประการคือ 1.เพือเจาะลึกเข้าไปในความคิดของนิสิตนักศึกษา เพือช่วยให้นิสิตนักศึกษาสามารถแยกแยะสิงทีตนรู้ หรือเข้าใจออกจากสิงทีตนไม่รู้หรือไม่เข้าใจ 2.เพือเสริมสร้างขีดความสามารถในการใช้คําถามแบบโสคราตีสให้แก่นิสิตนักศึกษา ให้นํามาใช้เป็น เครืองมือหลักในการถกเถียงแบบโสคราตีส ( Socratic dialogue ) ได้ ทังนีเพือให้นิสิตนักศึกษาใช้เครืองมือนี ได้ในชีวิตประจําวัน ( สําหรับการถามตนเองและถามผู้อืน ) อ้างอิง http://www.learners.in.th/blogs/posts/258713 วิธีการตังคําถามแบบโซเครดิต(Socratic Method)  เป็นวิธีสอนของนักปราชญ์ชาวกรีก ชือโซเครติส วิธีสอนแบบนีใช้การตังคําถามให้นักเรียนคิดหาคําตอบหรือ ตอบปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะกระตุ้นให้นักเรียนนึกถึงเรืองต่างๆ ทีเคยเรียนแล้ว  คําถามของครูจะเป็นแนวทางให้นักเรียนคิดค้นหาความรู้ นักเรียนจะเรียนด้วยการพิจารณาอย่างรอบคอบเพือ หาคําตอบทีถูกต้อง และเป็นการเสริมสร้างสติปัญญาให้ทุกคนรู้จักแสดงความคิดเห็น อภิปรายแล้วสรุปความ คิดเห็นลงในแนวเดียวกัน วิธีสอนแบบนีเหมาะสําหรับนักเรียนทีชอบใช้ความคิดค้นคว้าหาความรู้ในสิงต่างๆ Socratic questioning มี 6 แบบ 1. Tell me more: ขอความกระจ่าง 2. Probe assumption: ขอข้อสรุป 3. Reason ขอเหตุผล 4. View point & Perspectives ถามมุมมองแง่อืนและแนวคิด 5. Implication & Consequence การนําไปใช้และคาดการณ์สิงทีจะเกิดขึน 6. คําถามเกียวกับคําถาม เป็นคําถามขันสูง --- รู้ไหมทําไมถามแบบนี
  • 3. MCI 203 การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เสนอ ผศ.ดร.พรเทพ เมืองแมน จัดทําโดย นางสาวดวงเด่น แสนดี รหัส 6053200012 วิธีการตังคําถามแบบโซเครติค การตังคําถามระดับสูงจะทําให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดระดับสูง และเป็นคนมีเหตุผล ผู้เรียนไม่เพียงแต่จดจํา ความรู้ ข้อเท็จจริงได้อย่างเดียวแต่สามารถนําความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ และประเมินสิงทีถาม ได้ นอกจากนียังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจสาระสําคัญของเรืองราวทีเรียนได้อย่างถูกต้องและกระตุ้นให้ผู้เรียนค้นหาข้อมูล มาตอบคําถามด้วยตนเอง การตอบคําถามระดับสูง ผู้สอนต้องให้เวลาผู้เรียนในการคิดหาคําตอบเป็นเวลามากกว่าการตอบคําถาม ระดับพืนฐาน เพราะผู้เรียนต้องใช้เวลาในการคิดวิเคราะห์อย่างลึกซึงและมีวิจารณญาณในการตอบคําถาม ความ ผิดพลาดอย่างหนึงของการตังคําถามคือ การถามแล้วต้องการคําตอบในทันทีโดยไม่ให้เวลาผู้เรียนในการคิดหาคําตอบ อ้างอิง http://www.ns.mahidol.ac.th/english/th/departments/MN/th/km_clinical.html