SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายธนกร บูรณะศิลปิน เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 4
นายวุฒิพงศ์ ทาไชย เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิก
1.นายธนกร บูรณะศิลปิน เลขที่ 15
2.นายวุฒิพงศ์ ทาไชย เลขที่ 18
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญญาประดิษฐ์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Artificial Intelligence: AI
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธนกร บูรณะศิลปิน
นายวุฒิพงศ์ ทาไชย
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เมื่อ 50 ปีก่อนที่มีการคาดว่า ในอนาคตจะมีเครื่องจักรกลที่สามารถทางานได้เหมือนมนุษย์ ซึ่งเป็นสิ่งที่
ไม่น่าเชื่อ แต่ต่อมาจนถึงปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ได้ทาการคิดค้น วิจัย พัฒนา รวมทั้งสร้างปัญญาประดิษฐ์ให้ออก
มาเป็นรูปธรรมได้ ซึ่งเริ่มนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในด้านการขนส่ง การวินิจฉัยทางการแพทย์ และในอีกหลาย
สาขาอุตสาหกรรม โดยได้รับการสนับสนุนจากหลายปัจจัย อาทิ ความเร็วของคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาด้วย
เทคโนโลยี การประสานเชื่อมโยงระหว่างปัญญาประดิษฐ์ในสาขาอื่นๆ รวมถึงนักวิจัยที่มีหลักการในการใช้คณิต-
ศาสตร์และวิทยาศาสตร์แผนใหม่ ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรต่างๆ โดยเฉพาะในเชิงธุรกิจ/พาณิชย์และการทหาร
นอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างกลไกที่ไม่นาความรู้สึก ความเหนื่อยล้า หรือความกังวลเข้ามาเป็นองค์ประกอบในการ
ตัดสินใจ ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากในการปฏิบัติงาน
ในปัจจุบันมีการกล่าวถึงการทางานของปัญญาประดิษฐ์ (AI) ทั้งในวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี
สารสนเทศ การค้าพาณิชย์ หรือแม้ในวงธุรกิจ ที่มีการนาปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ปรับใช้งานแทนมนุษย์ เป็นที่
ถกเถียงกันอย่างแพร่หลายว่าปัญญาประดิษฐ์(AI) ที่ว่านี้จะมาช่วยในการทางานให้ได้ดีขึ้นหรือจะมาแย่งงานมนุษย์
โดยคาว่า AI ย่อมาจาก Artificial Intelligence หรือ ปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งก็คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาให้มี
ตรรกะการคิดเป็นของตัวเอง ทั้งนี้ AI แต่ละประเภทต่างมีขีดความสามารถต่างกันไป บางตัวสามารถพัฒนาได้ด้วยตัว
ผ่านการจดจา และเรียนรู้จากสถานการณ์ต่างๆ ที่พบเจอแบบที่เรียกกันว่า Machine Learning หรือสามารถดึง
ข้อมูลเพื่อตอบคาถามตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน อีกหนึ่งเทคโนโลยีที่มักจะมาคู่กับ AI คือ หุ่นยนต์อัจฉริยะ โดย AI
ทาหน้าที่เป็นเหมือนสมองคอยควบคุมทางาน นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้ AI ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูล
3
ขนาดใหญ่ (Big Data) ของผู้บริโภค ทั้งในภาคการเงินการธนาคารและภาคธุรกิจอื่นๆโดยเฉพาะบนโลกออนไลน์อย่าง
การค้าออนไลน์ ( E-commerce) ที่มีข้อมูลมากมายให้วิเคราะห์ หรือใช้เป็นตัวช่วยลดทอนงาน เทคโนโลยีเหล่านี้ถึง
สาคัญและกลายเป็นกระแสในปัจจุบัน ความต้องการเอไอปัจจัยอย่างแรกเป็นเพราะปัจจุบันอุปกรณ์ต่างๆมีราคาถูก
ลง และอินเทอร์เน็ตไม่ใช่สิ่งที่เข้าถึงยากอีกต่อไป ที่สาคัญคือสิ่งเหล่านี้สามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่ออานวยความ
สะดวกให้แก่ชีวิตของคนทั่วโลกได้ ช่วยลดปัญหาความผิดพลาดในการทางานของมนุษย์และลดต้นทุนในการทาธุรกิจ
รวมถึงเป็นทางออกให้กับปัญหาขาดแคลนแรงงานจากภาวะสังคมผู้สูงวัยที่จะทยอยเกิดขึ้นทั่วโลกในอนาคตอีกด้วย
การศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์(AI) ซึ่งจะมาแทนแรงงานคน(Knowledge Worker) ซึ่งในการ
ทางานต่างๆ ในอนาคตอาจต้องปฏิบัติงานร่วมกับAI ปรากฏการณ์ดังกล่าวสามารถอธิบายได้ว่า เดิมที ความก้าวหน้า
ของนวัตกรรมและเทคโนโลยีจะเข้ามามีส่วนช่วยให้ทั้งภาคธุรกิจและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ดีขึ้น แต่การปฏิวัติ
อุตสาหกรรมครั้งใหม่นี้ เทคโนโลยีก้าวหน้ารวดเร็วกว่าในอดีตมาก ท่ามกลางกราฟเศรษฐกิจที่สูงขึ้นเพราะตัวช่วย
อย่างหุ่นยนต์และ AI คนรายได้ปานกลางจะถูกทอดทิ้ง กลายเป็นคนตกงาน เกิดความเหลื่อมล้าและความไม่เท่าเทียม
ในสังคมสูงขึ้น ซึ่งถ้าเราตามมันทันเราจะทางานร่วมกับมันได้ แต่ถ้าเราไม่ทันมัน AI จะทางานแทนเรา อีกทั้งในยุคที่
เทคโนโลยี 4.0 วงการดิจิทัลเดินหน้าก้าวไกล AI ถูกพัฒนาให้เก่งกาจ ฉลาดหลักแหลมขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์
และผู้เชี่ยวชาญบางส่วนเองก็ออกมาเตือนภัยหวั่นเกรงถึงอันตรายคุกคามจาก AI ที่อาจเกิดในอนาคต อย่างเช่นหนัง
เรื่อง Terminator ที่ได้แสดงให้เห็นถึงความน่ากลัวของAI แต่หลายฝ่ายกลับมองว่า โลกเราจะพัฒนาไปได้ ก็ด้วย AI
ที่จะมาช่วยเกื้อหนุน อีกทั้งอันตรายหรือวันสิ้นโลกจากหุ่นยนต์เป็นไปไม่ได้ เพราะมนุษย์สร้างมันมากับมือ ก็ต้องเป็น
มนุษย์เราที่ควบคุมสมองกลที่จะมาทาลายล้าง อย่างไรก็ตาม AI ไม่ได้มีขีดความสามารถหยุดอยู่เพียงแค่นั้น แต่
นักวิจัยด้าน AI ยังพยายามก้าวไกลออกไปด้วยการพยายามคิดค้นหาวิธีการที่จะออกแบบอัลกอริทึมที่ทาให้
คอมพิวเตอร์เชื่อมโยงความรู้ใหม่ ๆ เช่น ด้วยการจับคู่ชุดความรู้ต่าง ๆ (ในทุก combination) แล้วทาการเชื่อมโยง
เปรียบเทียบและเรียนรู้pattern ที่เกิดขึ้นได้ใกล้ความสมบูรณ์แบบที่เข้าใกล้100% (Machine Learning) จน AI
สามารถที่จะวิเคราะห์เรียนรู้เชิงลึกและปรับอัลกอริทึมได้ด้วยตัวมันเอง (Deep Learning) โดยให้มันทาการทางาน
ประมวลผลตลอดเวลาบนโครงข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีข้อมูลมหาศาลที่เราเรียกว่า Big Data จนทาให้คอมพิวเตอร์ ที่
บรรจุอัลกอริทึม AIสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ จากข้อมูลจากทั่วทุกมุมโลกในทุกวินาทีเมื่อมันได้เรียนรู้ปีแล้วปีเล่า จึงทา
ให้มันมีขีดความสามารถในการพยากรณ์อนาคตได้แม่นยามากขึ้นเป็นลาดับ จนมีการคาดการณ์ว่า AI จะถูกนามาใช้
ในภาคธุรกิจในทุกอุตสาหกรรม รวมทั้งจะเป็นเครื่องมืออันทรงพลังในการพัฒนาประเทศอีกด้วย การศึกษาและ
ติดตามการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจอย่างยิ่ง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาและทาเป็นโครงงานในวิชาคอมพิวเตอร์
2. เพื่อศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์
3. เพื่ออธิบายหลักการต่างๆที่ศึกษาผ่านโครงงาน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
- ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีเบื้องต้น นิยามเบื้องต้น และเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น
4
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI)
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) คือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้มีพฤติกรรมเหมือน
คน โดยเฉพาะความสามารถในการเรียนรู้และความสามารถทางประสาทสัมผัสซึ่งเลียนแบบการเรียนรู้และการ
ตัดสินใจของมนุษย์ (Laudon & Laudon , 2001)
ประเภทของ AI
AI ครอบคลุมสาขาต่างๆ ดังนี้ (Stairs & Reynolds,1999)
1) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert-Systems) เป็นระบบการให้คาแนะนาในการจัดการปัญหา โดยอาศัยความรู้
ของผู้เชี่ยวชาญที่โปรแกรมไว้
2) Neural Networks เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถกระทา หรือจาลอง การทางานของสมองมนุษย์ได้
3) Genetic Algorithms ปัญญาประดิษฐ์ที่ช่วยในการสร้างทางเลือก จานวนมากในการแก้ปัญหา รวมทั้ง
ทางเลือกที่ดีที่สุด
4) การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) เป็นการประมวลผลที่ทาให้คอมพิวเตอร์
เข้าใจและโต้ตอบกับคาสั่ง หรือข้อความที่เป็นภาษา “ธรรมชาติ” ของมนุษย์ได้
5) ระบบการเรียนรู้ (Learning Systems) เป็นระบบที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์
โดยสามารถโต้ตอบ หรือมีปฏิกิริยากับสถานการณ์แวดล้อมได้
6) ระบบการมองเห็น (Vision Systems) ระบบที่คอมพิวเตอร์สามารถบันทึกเก็บรักษาและจัดการกับภาษา
ที่มองเห็น หรือรูปภาพได้ เป็นการนาระบบนี้มาใช้ในการวิเคราะห์รอยนิ้วมือ
7) หุ่นยนต์ (Robotic) การพัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือเครื่องจักรกล ให้ทางานซึ่งมีลักษณะที่ต้องการ
ความแม่นยาสูง หรือเป็นงานที่น่าเบื่อ หรือทาให้เกิด ความเมื่อยล้าแก่มนุษย์
คานิยาม AI ตามความสามารถที่มนุษย์ต้องการแบ่งได้ 4 กลุ่ม ดังนี้
1.การกระทาคล้ายมนุษย์ Acting Humanly (แอคติ่ง ฮูแมนลี่)
- การสร้างเครื่องจักรที่ทางานในสิ่งซึ่งอาศัยปัญญาเมื่อกระทาโดยมนุษย์
- สื่อสารได้ด้วยภาษาที่มนุษย์ใช้ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตัวอย่างคือ การแปลงข้อความเป็นคาพูด และ การ
แปลงคาพูดเป็นข้อความ
- มีประสาทรับสัมผัสคล้ายมนุษย์ เช่น คอมพิวเตอร์รับภาพได้โดยอุปกรณ์รับสัมผัส แล้วนาภาพไป
- เคลื่อนไหวได้คล้ายมนุษย์ เช่น หุ่นยนต์ช่วยงานต่าง ๆ อย่างการ ดูดฝุ่น เคลื่อนย้ายสิ่งของ
- เรียนรู้ได้ โดยสามารถตรวจจับรูปแบบการเกิดของเหตุการณ์ใด ๆ แล้วปรับตัวสู่สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้
2. การคิดคล้ายมนุษย์ Thinking Humanly (แทงกิง ฮูแมนลี่)
- กลไกของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความคิดมนุษย์ เช่น การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การเรียนรู้
- ก่อนที่จะทาให้เครื่องคิดอย่างมนุษย์ได้ ต้องรู้ก่อนว่ามนุษย์มีกระบวนการคิดอย่างไร ซึ่งการวิเคราะห์ลักษณะ
การคิดของมนุษย์เป็นศาสตร์ด้าน cognitive science (คลอนิทีฟ ไซอิน) เช่น ศึกษาโครงสร้างสามมิติของเซลล์สมอง
การแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าระหว่างเซลล์สมอง วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางเคมีไฟฟ้าในร่างกายระหว่างการคิด ซึ่ง
จนถึงปัจจุบันเราก็ยังไม่รู้แน่ชัดว่า มนุษย์เรา คิดได้อย่างไร
3. คิดอย่างมีเหตุผล Thinking rationally (แทงกิง ราสโนรี่)
- การศึกษาความสามารถในด้านสติปัญญาโดยการใช้โมเดลการคานวณ
- การศึกษาวิธีการคานวณที่สามารถรับรู้ ใช้เหตุผล และกระทา
- ใช้หลักตรรกศาสตร์ในการคิดหาคาตอบอย่างมีเหตุผล เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญ
5
4. กระทาอย่างมีเหตุผล Acting rationally (แอคติง ราสโนรี่)
- การศึกษาเพื่อออกแบบโปรแกรมที่มีความสามารถในการกระทา หรือเป็นตัวแทนในระบบอัตโนมัติต่าง ๆ ที่มี
ปัญญา
- พฤติกรรมที่แสดงปัญญาในสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
- การเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ เช่น โปรแกรมเล่นเกมหมากรุก ที่จะทาให้คู่ต่อสู้แพ้ให้ได้
ตารางเปรียบเทียบ ปัญญาของมนุษย์และ AI
6
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
รวบรวมข้อมูล จัดทาและนาข้อมูล เรื่องเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์มานาเสนอผ่านโปรแกรมนาเสนอข้อมูล
Microsoft Office PowerPoint
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1) คอมพิวเตอร์ และแล็ปท็อป
2) แผ่นซีดี
3) กล่องใส่ซีดี
งบประมาณ
ค่าเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 50 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ธนกร วุฒิพงศ์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ธนกร วุฒิพงศ์
3 จัดทาโครงร่างงาน วุฒิพงศ์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน วุฒิพงศ์
5 ปรับปรุงทดสอบ ธนกร
6 การทาเอกสารรายงาน ธนกร
7 ประเมินผลงาน ธนกร วุฒิพงศ์
8 นาเสนอโครงงาน ธนกร วุฒิพงศ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
- ได้รับรู้และมีความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์
- ได้ทราบถึงรูปแบบ และหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์
- ได้ทราบเกี่ยวกับนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีในปัจจุบันเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
7
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- http://pws.npru.ac.th/phantiga/data/files/ch5%281%29.pdf
- https://www.modify.in.th/17128
- http://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/4025-what-is-ai.html
- https://www.nbtc.go.th/getattachment/News/Information/Introduction-to-
Artificial-Intelligence-ปัญญาประดิ/เอกสารแนบ.pdf.aspx
- http://www.ditp.go.th/contents_attach/190451/190451.pdf
- http://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/4025-what-is-ai.html

More Related Content

What's hot

[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่Wichai Likitponrak
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...Prawwe Papasson
 
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556pitak srikhot
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 

What's hot (20)

Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คู่มือการบริหารสถานศึกษา
คู่มือการบริหารสถานศึกษาคู่มือการบริหารสถานศึกษา
คู่มือการบริหารสถานศึกษา
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
 
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 

Similar to กิจกรรมที่ 5

ปั้นโฮ
ปั้นโฮปั้นโฮ
ปั้นโฮT000 Ter
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สทธัตถ์ ทาวีกุล
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะChanin Monkai
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project JSIjittra
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project JSIjittra
 
ใบงานที่ 1 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 1 แบบร่างโครงงานใบงานที่ 1 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 1 แบบร่างโครงงานyuisweettime
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -mLikhasiri
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8fauunutcha
 
2562 final-project -new2
2562 final-project -new22562 final-project -new2
2562 final-project -new2ssusera79710
 
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์Nattaphong Kaewtathip
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 

Similar to กิจกรรมที่ 5 (20)

ปั้นโฮ
ปั้นโฮปั้นโฮ
ปั้นโฮ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2560 project 1
2560 project 12560 project 1
2560 project 1
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
2558 project (1)
2558 project  (1)2558 project  (1)
2558 project (1)
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะโครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
 
ใบงานที่ 1 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 1 แบบร่างโครงงานใบงานที่ 1 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 1 แบบร่างโครงงาน
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -m
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project -new2
2562 final-project -new22562 final-project -new2
2562 final-project -new2
 
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

กิจกรรมที่ 5

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธนกร บูรณะศิลปิน เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 4 นายวุฒิพงศ์ ทาไชย เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิก 1.นายธนกร บูรณะศิลปิน เลขที่ 15 2.นายวุฒิพงศ์ ทาไชย เลขที่ 18 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญญาประดิษฐ์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Artificial Intelligence: AI ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธนกร บูรณะศิลปิน นายวุฒิพงศ์ ทาไชย ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เมื่อ 50 ปีก่อนที่มีการคาดว่า ในอนาคตจะมีเครื่องจักรกลที่สามารถทางานได้เหมือนมนุษย์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ ไม่น่าเชื่อ แต่ต่อมาจนถึงปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ได้ทาการคิดค้น วิจัย พัฒนา รวมทั้งสร้างปัญญาประดิษฐ์ให้ออก มาเป็นรูปธรรมได้ ซึ่งเริ่มนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในด้านการขนส่ง การวินิจฉัยทางการแพทย์ และในอีกหลาย สาขาอุตสาหกรรม โดยได้รับการสนับสนุนจากหลายปัจจัย อาทิ ความเร็วของคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาด้วย เทคโนโลยี การประสานเชื่อมโยงระหว่างปัญญาประดิษฐ์ในสาขาอื่นๆ รวมถึงนักวิจัยที่มีหลักการในการใช้คณิต- ศาสตร์และวิทยาศาสตร์แผนใหม่ ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรต่างๆ โดยเฉพาะในเชิงธุรกิจ/พาณิชย์และการทหาร นอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างกลไกที่ไม่นาความรู้สึก ความเหนื่อยล้า หรือความกังวลเข้ามาเป็นองค์ประกอบในการ ตัดสินใจ ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากในการปฏิบัติงาน ในปัจจุบันมีการกล่าวถึงการทางานของปัญญาประดิษฐ์ (AI) ทั้งในวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศ การค้าพาณิชย์ หรือแม้ในวงธุรกิจ ที่มีการนาปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ปรับใช้งานแทนมนุษย์ เป็นที่ ถกเถียงกันอย่างแพร่หลายว่าปัญญาประดิษฐ์(AI) ที่ว่านี้จะมาช่วยในการทางานให้ได้ดีขึ้นหรือจะมาแย่งงานมนุษย์ โดยคาว่า AI ย่อมาจาก Artificial Intelligence หรือ ปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งก็คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาให้มี ตรรกะการคิดเป็นของตัวเอง ทั้งนี้ AI แต่ละประเภทต่างมีขีดความสามารถต่างกันไป บางตัวสามารถพัฒนาได้ด้วยตัว ผ่านการจดจา และเรียนรู้จากสถานการณ์ต่างๆ ที่พบเจอแบบที่เรียกกันว่า Machine Learning หรือสามารถดึง ข้อมูลเพื่อตอบคาถามตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน อีกหนึ่งเทคโนโลยีที่มักจะมาคู่กับ AI คือ หุ่นยนต์อัจฉริยะ โดย AI ทาหน้าที่เป็นเหมือนสมองคอยควบคุมทางาน นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้ AI ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูล
  • 3. 3 ขนาดใหญ่ (Big Data) ของผู้บริโภค ทั้งในภาคการเงินการธนาคารและภาคธุรกิจอื่นๆโดยเฉพาะบนโลกออนไลน์อย่าง การค้าออนไลน์ ( E-commerce) ที่มีข้อมูลมากมายให้วิเคราะห์ หรือใช้เป็นตัวช่วยลดทอนงาน เทคโนโลยีเหล่านี้ถึง สาคัญและกลายเป็นกระแสในปัจจุบัน ความต้องการเอไอปัจจัยอย่างแรกเป็นเพราะปัจจุบันอุปกรณ์ต่างๆมีราคาถูก ลง และอินเทอร์เน็ตไม่ใช่สิ่งที่เข้าถึงยากอีกต่อไป ที่สาคัญคือสิ่งเหล่านี้สามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่ออานวยความ สะดวกให้แก่ชีวิตของคนทั่วโลกได้ ช่วยลดปัญหาความผิดพลาดในการทางานของมนุษย์และลดต้นทุนในการทาธุรกิจ รวมถึงเป็นทางออกให้กับปัญหาขาดแคลนแรงงานจากภาวะสังคมผู้สูงวัยที่จะทยอยเกิดขึ้นทั่วโลกในอนาคตอีกด้วย การศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์(AI) ซึ่งจะมาแทนแรงงานคน(Knowledge Worker) ซึ่งในการ ทางานต่างๆ ในอนาคตอาจต้องปฏิบัติงานร่วมกับAI ปรากฏการณ์ดังกล่าวสามารถอธิบายได้ว่า เดิมที ความก้าวหน้า ของนวัตกรรมและเทคโนโลยีจะเข้ามามีส่วนช่วยให้ทั้งภาคธุรกิจและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ดีขึ้น แต่การปฏิวัติ อุตสาหกรรมครั้งใหม่นี้ เทคโนโลยีก้าวหน้ารวดเร็วกว่าในอดีตมาก ท่ามกลางกราฟเศรษฐกิจที่สูงขึ้นเพราะตัวช่วย อย่างหุ่นยนต์และ AI คนรายได้ปานกลางจะถูกทอดทิ้ง กลายเป็นคนตกงาน เกิดความเหลื่อมล้าและความไม่เท่าเทียม ในสังคมสูงขึ้น ซึ่งถ้าเราตามมันทันเราจะทางานร่วมกับมันได้ แต่ถ้าเราไม่ทันมัน AI จะทางานแทนเรา อีกทั้งในยุคที่ เทคโนโลยี 4.0 วงการดิจิทัลเดินหน้าก้าวไกล AI ถูกพัฒนาให้เก่งกาจ ฉลาดหลักแหลมขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ และผู้เชี่ยวชาญบางส่วนเองก็ออกมาเตือนภัยหวั่นเกรงถึงอันตรายคุกคามจาก AI ที่อาจเกิดในอนาคต อย่างเช่นหนัง เรื่อง Terminator ที่ได้แสดงให้เห็นถึงความน่ากลัวของAI แต่หลายฝ่ายกลับมองว่า โลกเราจะพัฒนาไปได้ ก็ด้วย AI ที่จะมาช่วยเกื้อหนุน อีกทั้งอันตรายหรือวันสิ้นโลกจากหุ่นยนต์เป็นไปไม่ได้ เพราะมนุษย์สร้างมันมากับมือ ก็ต้องเป็น มนุษย์เราที่ควบคุมสมองกลที่จะมาทาลายล้าง อย่างไรก็ตาม AI ไม่ได้มีขีดความสามารถหยุดอยู่เพียงแค่นั้น แต่ นักวิจัยด้าน AI ยังพยายามก้าวไกลออกไปด้วยการพยายามคิดค้นหาวิธีการที่จะออกแบบอัลกอริทึมที่ทาให้ คอมพิวเตอร์เชื่อมโยงความรู้ใหม่ ๆ เช่น ด้วยการจับคู่ชุดความรู้ต่าง ๆ (ในทุก combination) แล้วทาการเชื่อมโยง เปรียบเทียบและเรียนรู้pattern ที่เกิดขึ้นได้ใกล้ความสมบูรณ์แบบที่เข้าใกล้100% (Machine Learning) จน AI สามารถที่จะวิเคราะห์เรียนรู้เชิงลึกและปรับอัลกอริทึมได้ด้วยตัวมันเอง (Deep Learning) โดยให้มันทาการทางาน ประมวลผลตลอดเวลาบนโครงข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีข้อมูลมหาศาลที่เราเรียกว่า Big Data จนทาให้คอมพิวเตอร์ ที่ บรรจุอัลกอริทึม AIสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ จากข้อมูลจากทั่วทุกมุมโลกในทุกวินาทีเมื่อมันได้เรียนรู้ปีแล้วปีเล่า จึงทา ให้มันมีขีดความสามารถในการพยากรณ์อนาคตได้แม่นยามากขึ้นเป็นลาดับ จนมีการคาดการณ์ว่า AI จะถูกนามาใช้ ในภาคธุรกิจในทุกอุตสาหกรรม รวมทั้งจะเป็นเครื่องมืออันทรงพลังในการพัฒนาประเทศอีกด้วย การศึกษาและ ติดตามการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจอย่างยิ่ง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาและทาเป็นโครงงานในวิชาคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ 3. เพื่ออธิบายหลักการต่างๆที่ศึกษาผ่านโครงงาน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) - ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีเบื้องต้น นิยามเบื้องต้น และเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น
  • 4. 4 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) คือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้มีพฤติกรรมเหมือน คน โดยเฉพาะความสามารถในการเรียนรู้และความสามารถทางประสาทสัมผัสซึ่งเลียนแบบการเรียนรู้และการ ตัดสินใจของมนุษย์ (Laudon & Laudon , 2001) ประเภทของ AI AI ครอบคลุมสาขาต่างๆ ดังนี้ (Stairs & Reynolds,1999) 1) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert-Systems) เป็นระบบการให้คาแนะนาในการจัดการปัญหา โดยอาศัยความรู้ ของผู้เชี่ยวชาญที่โปรแกรมไว้ 2) Neural Networks เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถกระทา หรือจาลอง การทางานของสมองมนุษย์ได้ 3) Genetic Algorithms ปัญญาประดิษฐ์ที่ช่วยในการสร้างทางเลือก จานวนมากในการแก้ปัญหา รวมทั้ง ทางเลือกที่ดีที่สุด 4) การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) เป็นการประมวลผลที่ทาให้คอมพิวเตอร์ เข้าใจและโต้ตอบกับคาสั่ง หรือข้อความที่เป็นภาษา “ธรรมชาติ” ของมนุษย์ได้ 5) ระบบการเรียนรู้ (Learning Systems) เป็นระบบที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ โดยสามารถโต้ตอบ หรือมีปฏิกิริยากับสถานการณ์แวดล้อมได้ 6) ระบบการมองเห็น (Vision Systems) ระบบที่คอมพิวเตอร์สามารถบันทึกเก็บรักษาและจัดการกับภาษา ที่มองเห็น หรือรูปภาพได้ เป็นการนาระบบนี้มาใช้ในการวิเคราะห์รอยนิ้วมือ 7) หุ่นยนต์ (Robotic) การพัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือเครื่องจักรกล ให้ทางานซึ่งมีลักษณะที่ต้องการ ความแม่นยาสูง หรือเป็นงานที่น่าเบื่อ หรือทาให้เกิด ความเมื่อยล้าแก่มนุษย์ คานิยาม AI ตามความสามารถที่มนุษย์ต้องการแบ่งได้ 4 กลุ่ม ดังนี้ 1.การกระทาคล้ายมนุษย์ Acting Humanly (แอคติ่ง ฮูแมนลี่) - การสร้างเครื่องจักรที่ทางานในสิ่งซึ่งอาศัยปัญญาเมื่อกระทาโดยมนุษย์ - สื่อสารได้ด้วยภาษาที่มนุษย์ใช้ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตัวอย่างคือ การแปลงข้อความเป็นคาพูด และ การ แปลงคาพูดเป็นข้อความ - มีประสาทรับสัมผัสคล้ายมนุษย์ เช่น คอมพิวเตอร์รับภาพได้โดยอุปกรณ์รับสัมผัส แล้วนาภาพไป - เคลื่อนไหวได้คล้ายมนุษย์ เช่น หุ่นยนต์ช่วยงานต่าง ๆ อย่างการ ดูดฝุ่น เคลื่อนย้ายสิ่งของ - เรียนรู้ได้ โดยสามารถตรวจจับรูปแบบการเกิดของเหตุการณ์ใด ๆ แล้วปรับตัวสู่สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ 2. การคิดคล้ายมนุษย์ Thinking Humanly (แทงกิง ฮูแมนลี่) - กลไกของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความคิดมนุษย์ เช่น การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การเรียนรู้ - ก่อนที่จะทาให้เครื่องคิดอย่างมนุษย์ได้ ต้องรู้ก่อนว่ามนุษย์มีกระบวนการคิดอย่างไร ซึ่งการวิเคราะห์ลักษณะ การคิดของมนุษย์เป็นศาสตร์ด้าน cognitive science (คลอนิทีฟ ไซอิน) เช่น ศึกษาโครงสร้างสามมิติของเซลล์สมอง การแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าระหว่างเซลล์สมอง วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางเคมีไฟฟ้าในร่างกายระหว่างการคิด ซึ่ง จนถึงปัจจุบันเราก็ยังไม่รู้แน่ชัดว่า มนุษย์เรา คิดได้อย่างไร 3. คิดอย่างมีเหตุผล Thinking rationally (แทงกิง ราสโนรี่) - การศึกษาความสามารถในด้านสติปัญญาโดยการใช้โมเดลการคานวณ - การศึกษาวิธีการคานวณที่สามารถรับรู้ ใช้เหตุผล และกระทา - ใช้หลักตรรกศาสตร์ในการคิดหาคาตอบอย่างมีเหตุผล เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญ
  • 5. 5 4. กระทาอย่างมีเหตุผล Acting rationally (แอคติง ราสโนรี่) - การศึกษาเพื่อออกแบบโปรแกรมที่มีความสามารถในการกระทา หรือเป็นตัวแทนในระบบอัตโนมัติต่าง ๆ ที่มี ปัญญา - พฤติกรรมที่แสดงปัญญาในสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น - การเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ เช่น โปรแกรมเล่นเกมหมากรุก ที่จะทาให้คู่ต่อสู้แพ้ให้ได้ ตารางเปรียบเทียบ ปัญญาของมนุษย์และ AI
  • 6. 6 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน รวบรวมข้อมูล จัดทาและนาข้อมูล เรื่องเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์มานาเสนอผ่านโปรแกรมนาเสนอข้อมูล Microsoft Office PowerPoint เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1) คอมพิวเตอร์ และแล็ปท็อป 2) แผ่นซีดี 3) กล่องใส่ซีดี งบประมาณ ค่าเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 50 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ธนกร วุฒิพงศ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ธนกร วุฒิพงศ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน วุฒิพงศ์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน วุฒิพงศ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ ธนกร 6 การทาเอกสารรายงาน ธนกร 7 ประเมินผลงาน ธนกร วุฒิพงศ์ 8 นาเสนอโครงงาน ธนกร วุฒิพงศ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) - ได้รับรู้และมีความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ - ได้ทราบถึงรูปแบบ และหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ - ได้ทราบเกี่ยวกับนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีในปัจจุบันเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
  • 7. 7 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - http://pws.npru.ac.th/phantiga/data/files/ch5%281%29.pdf - https://www.modify.in.th/17128 - http://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/4025-what-is-ai.html - https://www.nbtc.go.th/getattachment/News/Information/Introduction-to- Artificial-Intelligence-ปัญญาประดิ/เอกสารแนบ.pdf.aspx - http://www.ditp.go.th/contents_attach/190451/190451.pdf - http://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/4025-what-is-ai.html