SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
การนา
หลักสูตรไปใช้
• การนาหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนสาคัญของการพัฒนาหลักสูตร เป็น
กระบวนการดาเนินงานและกิจกรรมต่างๆในการนาหลักสูตรไปสู่
โรงเรียนและจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของ
หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้เป็นงานเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย
ตั้งแต่ระดับกระทรวงศึกษาธิการ แต่ละฝ่ายมีความเกี่ยวข้องในแต่ละ
ส่วนของการนาหลักสูตรไปใช้ เช่น หน่วยงานส่วนกลางเกี่ยวข้องใน
ด้านการบริหารและบริหารหลักสูตรกับการนิเทศและติดตามผลการใช้
หลักสูตร
• การนาหลักสูตรไปใช้จาต้องเป็นขั้นตอนตามลาดับ นับแต่ขั้นการ
วางแผน และเตรียมการในการประชาสัมพันธ์หลักสูตร และการเตรียม
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นต่อมาคือการดาเนินการนาหลักสูตรไปใช้อย่าง
มีระบบ นับแต่การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร การบริการวัสดุ
หลักสูตรและสิ่งอานวยความสะดวกในการนาหลักสูตรไปใช้ และ
ดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร
• ส่วนขั้นสุดท้ายต้องติดตามประเมินผลการนาหลักสูตรไปใช้ นับแต่
การนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตร การติดตามและประเมินผลการใช้
หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ถือเป็นกระบวนการที่สาคัญ ที่จะทา
ให้หลักสูตรที่สร้างขึ้นบรรลุผลตามจุดหมาย และเป็นกระบวนการที่
ต้องได้รับความร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องหลายๆฝ่าย และที่สาคัญ
ที่สุดคือครูผู้สอน
ความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้
การนาหลักสูตรไปใช้ซึ่งเป็นขั้นตอนที่นาหลักสูตร
ไปสู่การปฏิบัติงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง ทาให้
การให้ความหมายของคาว่าการนาหลักสูตรไป
ใช้แตกต่างกันออกไป นักการศึกษาหลายท่าน
ได้แสดงความคิดเห็นหรือให้คานิยามของคาว่า
การนาหลักสูตรไปใช้ เช่น
• โบแชมป์ ได้ให้ความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้ว่า การนาหลักสูตรไป
ใช้ หมายถึง การนาหลักสูตรไปปฏิบัติ โดยการะบวนการที่สาคัญที่สุด คือ
การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอนการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ครู
ได้มีพัฒนาการเรียนการสอน
• สันติ ธรรมบารุง กล่าวว่า การนาหลักหลักสูตรไปใช้หมายถึงการที่ผู้บริหาร
โรงเรียนและครูนาโครงการของหลักสูตรที่เป็นรูปเล่มนั้นไปปฏิบัติให้บัง
เกิดผล รวมถึงการบริหารงานด้านวิชาการของโรงเรียนเพื่ออานวยความ
สะดวกให้ครูและนักเรียนสามารถสอนและเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• สงัด อุทรานันท์ ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการนาหลักสูตรไปใช้ว่า เป็น
ขั้นตอนของการพัฒนาหลักสูตรไปสู่การเรียนการสอนในห้องเรียน ได้แก่การ
จัดเอกสารประกอบหลักสูตร การเตรียมบุคลากร การบริหารและบริการ
หลักสูตร และการนิเทศการใช้หลักสูตร
แนวคิดเกี่ยวกับการนาหลักสูตรไปใช้
• สิ่งแรกที่ควรทาคือ การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน ครูผู้นา
หลักสูตรไปใช้มีหน้าที่แปลงหลักสูตรไปสู่การสอน โดยใช้หลักสูตร
เป็นหลักในการพัฒนากลวิธีการสอน สิ่งที่ควรคานึงถึงในการนา
หลักสูตรไปใช้ให้ได้ผลตามเป้าหมาย
1. ครูผู้สอนควรมีส่วนร่วมในการร่างหลักสูตร
2. ผู้บริหารต้องเห็นความสาคัญและสนับสนุนการดาเนินงานให้เกิดผล
สาเร็จได้ผู้นาที่สาคัญที่จะรับผิดชอบได้ดี คือครูใหญ่
หลักการที่สาคัญในการนาหลักสูตรไปใช้
1. จะต้องมีการวางแผนและเตรียมการ
2. จะต้องมีองค์คณะบุคคลทั้งส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นทาหน้าที่ประสานงานกัน
3. ดาเนินการอย่างเป็นระบบ
4. คานึงถึงปัจจัยที่จะช่วยในการนาหลักสูตรไปใช้
5. ครูเป็นบุคคลที่สาคัญที่สุด ดังนั้น ครูจะต้องได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่และจริงจัง
6. จัดตั้งให้มีหน่วยงานที่มีผู้เชี่ยวชาญพิเศษเพื่อให้การสนับสนุนและพัฒนาครู
7. หน่วยงานและบุคคลในฝ่ายต่างๆ ต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ
8. มีการติดตามและประเมินผลเป็นระยะๆ
ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้
1. ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร
- การตรวจสอบลักษณะหลักสูตร
- การวางแผนและการทาโครงการศึกษานาร่อง
- การประเมินโครงการศึกษานาร่อง
- การประชาสัมพันธ์หลักสูตร
- การเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
1.การตรวจสอบลักษณะหลักสูตร
จุดประสงค์ของการตรวจสอบหรือทบทวนหลักสูตรเพื่อต้องการทราบ
ว่าหลักสูตรที่พัฒนาเสร็จแล้วนั้นมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด เพื่อ
ศึกษาหาวิธีการที่จะนาหลักสูตรไปใช้ปฏิบัติได้จริงตามเจตนารมณ์
ของหลักสูตร รวมทั้งศึกษาองค์ประกอบและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการ
ใช้หลักสูตรและบริบททางสังคมอื่นๆ ที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
ใช้หลักสูตร
1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
2.การวางแผนและทาโครงการศึกษานาร่อง
เป็นสิ่งที่จาเป็นจะตรวจสอบคุณภาพความเป็นไปได้ของหลักสูตร
ก่อนที่จะนาไปใช้จริง วิธีการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติประการแรก
คือเลือกตัวแทนของกลุ่มเป้าหมายก่อนที่จะทาการใช้หลักสูตร จากนั้น
แปลงหลักสูตรสู่กระบวนการเรียนการสอน พัฒนาวัสดุหลักสูตร
เตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมในการใช้หลักสูตร จัดหาแหล่งบริการ
สนับสนุนการใช้หลักสูตร งบประมาณ จัดสิ่งแวดล้อมที่จะสนับสนุน
การสอน
1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
3.การประเมินโครงการศึกษานาร่อง
อาจจะกระทาได้หลายรูปแบบ เช่น การประเมินผลการเรียนจากผู้เรียน
โดยการประเมินแบบย่อยและการประเมินรวบยอด การประเมิน
หลักสูตรหรือประเมินทั้งระบบการใช้หลักสูตร และปรับแก้จากข้อ
ค้นพบ โดยประชุมสัมมนากับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้
หลักสูตร เพื่อนาความคิดเห็นบางส่วนมาปรับปรุงหลักสูตรให้
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
4.การประชาสัมพันธ์หลักสูตร
การประชาสัมพันธ์ไม่ใช่ว่าจะมาเริ่มตอนจัดทาหลักสูตรต้นแบบเสร็จ
แ ล้ ว
แต่ควรเริ่มต้นตั้งแต่มีแผนการที่จะเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักสูตรโดย
ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบเป็นระยะๆ ว่า ได้มีการดาเนินการไปแล้วแค่
ไหนเพียงใด ซึ่งการประชาสัมพันธ์อาจทาได้หลายรูปแบบ เช่น การ
ออกเอกสารสิ่งพิมพ์การใช้สื่อสารมวลชน
1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
5.การเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
การอบรมครู ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรต้องคานึงถึง
และต้องกระทาอย่างรอบคอบ นับแต่ขั้นเตรียมการสารวจข้อมูล
เบื้องต้นที่นามาใช้ในการวางแผน และวิธีการฝึกอบรมบุคลากร เช่น
ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันการใช้หลักสูตรซึ่งจะมีความแตกต่างของความ
พร้อมของการใช้หลักสูตร
1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
2. ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตร
- การบริหารและบริการหลักสูตร
- การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร
- การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ (ต่อ)
1.การบริหารและบริการหลักสูตร
หน่วยงานบริการหลักสูตรส่วนกลางของคณะพัฒนาหลักสูตรจะมี
หน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเตรียมบุคลากรเพื่อใช้หลักสูตรและการ
บริหารและบริการวัสดุหลักสูตร ส่วนงานบริหารและบริการหลักสูตร
ในระดับท้องถิ่น โรงเรียนก็จะจัดบุคลากรเข้าสอนตามความถนัดและ
ความเหมาะสม ได้แก่
2. ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตร (ต่อ)
การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร
• หมายถึง การจัดและดาเนินการเกี่ยวกับการสรรหาและกลวิธีการใช้บุคลากร
อย่างเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและ
ประสบการณ์ รวมทั้งสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีความสามารถในการ
ปฏิบัติหน้าที่ และมีความรับผิดชอบต่อการงานอย่างมีประสิทธิภาพ
บริการพัสดุหลักสูตร
• วัสดุหลักสูตรที่กล่าวถึงนี้ได้แก่ เอกสารหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอนทุก
ชนิดที่จัดทาขึ้นเพื่อให้ความสะดวก และช่วยเหลือครูให้สามารถใช้หลักสูตรได้
อย่างถูกต้อง
การบริหารหลักสูตรภายในโรงเรียน
• ได้แก่ การจัดสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ แก่ผู้ใช้หลักสูตร เช่น การบริหาร
ห้องสอนวิชาเฉพาะบริการเกี่ยวกับห้องสมุด สื่อการเรียนการสอน บริการ
เกี่ยวกับเครื่องมือในการวัดผลและประเมินผลและการแนะแนว เป็นต้น
2.การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร
แบ่งออกเป็น 4 ส่วนคือ
1. การปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่น เนื่องจาก
หลักสูตรที่ร่างขึ้นมาเพื่อใช้กับประชากรโดยส่วนรวมในพื้นที่กว้างขวาง
ทั่วประเทศนั้น มักจะไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ
ท้องถิ่น ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกับสภาพของสังคมใน
ท้องถิ่น และสามารถสนองความต้องการของผู้เรียน ควรจะได้มีการปรับ
หลักสูตรกลางให้มีความเหมาะสมกับสภาพของท้องถิ่น
ที่ใช้หลักสูตรนั้นๆ
2. การจัดทาแผนการสอนเป็นการขยายรายละเอียดของหลักสูตรให้ไปสู่
ภาคปฏิบัติโดยการกาหนดกิจกรรมและเวลาไว้อย่างชัดเจน สามารถนาไปปฏิบัติได้
แผนการสอนควรจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. แผนการสอนระยะยาว จัดทาเป็นรายภาคหรือรายปี
2. แผนการสอนระยะสั้น นาแผนการสอนระยะยาวมาขยายเป็นรายละเอียดสาหรับ
การสอนในแต่ละครั้ง
2.การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร (ต่อ)
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละ
ครั้งจาเป็นจะต้องเริ่มจากการพิจารณาถึงจุดมุ่งหมายของการสอน การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอาจจะทาได้หลายๆชนิด ซึ่งจะมีความ
แตกต่างกันไปอย่างมากในเรื่องการใช้เวลา การใช้แรงงาน การใช้ทรัพยากร
ตลอดจนการใช้งบประมาณ โดยเหตุนี้ครูผู้สอนในฐานะเป็นผู้จัดกิจกรรมให้กับ
ผู้เรียนควรพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมที่เห็นว่าจะก่อให้เกิดความรู้ หรือประสบการณ์
และสามารถทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ง่ายที่สุด เร็วที่สุด ประหยัดเวลาที่สุด
2.การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร (ต่อ)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน ในการนาหลักสูตรไปใช้อย่างมี
ประสิทธิภาพนั้น มีขั้นตอนหนึ่งที่จะขาดเสียมิได้คือ การวัดและประเมินผล เพราะ
การวัดและประเมินผลจะได้ข้อมูลย้อนกลับ
ที่สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้ว่าบรรลุตาม
จุดประสงค์ของการสอนและความมุ่งหมายของหลักสูตรหรือไม่
2.การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร (ต่อ)
ประกอบไปด้วย การจัดงบประมาณ การใช้อาคารสถานที่ การอบรบ
เพิ่มเติมระหว่างการใช้หลักสูตร และการจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อ
สนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
1. การจัดงบประมาณเพื่อการเรียนการสอนนั้นมีความสาคัญมากสาหรับ
สถานศึกษาทุกระดับ ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้องบริหารงาน
งบประมาณของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพสูงและตามเป้าหมายที่กาหนดไว้หรือ
อีกนัยหนึ่งก็คือ ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเงินของโรงเรียน
จะต้องมีสมรรถภาพในการจัดงบประมาณของโรงเรียนได้ดี ไม่มีผิดพลาด จึงจะ
สามารถจัดงบประมาณของโรงเรียนให้สอดคล้องกับแผนการเรียนการสอนของแต่
ละกลุ่มวิชาได้เป็นอย่างดี
3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร (ต่อ)
2. การใช้อาคารสถานที่เป็นสิ่งสนับสนุนการใช้หลักสูตรซึ่งผู้บริหารการศึกษาพึง
ตระหนักอยู่เสมอว่า อาคารสถานที่ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ในสถานศึกษาย่อมเป็น
ส่วนประกอบสาคัญต่อการเรียนการสอน และการอบรมบ่มเพราะนิสัยแก่ผู้เรียนได้
ทั้งสิ้น ฉะนั้นผู้บริหารจาเป็นจะต้องวางโครงการและแผนการใช้อาคารสถานที่ทุก
แห่งให้เหมาะสม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเท่าที่จะสามารถกระทาได้
3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
3. การอบรมเพิ่มเติมระหว่างการใช้หลักสูตร ขณะที่ดาเนินการใช้หลักสูตรจะต้อง
ศึกษาปัญหาและปรับแก้สิ่งต่างๆ ให้เข้ากับสภาพจริงและความเป็นไปได้ให้มาก
ที่สุดเท่าที่จะมากได้ทั้งนี้โดยไม่ให้เสียหลักการใหญ่ของหลักสูตร สิ่งที่ครูต้องการ
มากที่สุดคือการฝึกอบรมเพิ่มเติม เพื่อสร้างความพร้อมในการสอนของครูให้เกิด
ความมั่นใจมากขึ้น
3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
4. การจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรภารกิจ
เกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบของส่วนกลางซึ่งเป็นผู้พัฒนาหลักสูตร หน่วยงานนี้ควรหาทาง
สนับสนุนและส่งเสริมหน่วยงานผู้ใช้หลักสูตรให้สามารถดาเนินการใช้หลักสูตร
ด้วยความมั่นใจ การจัดตั้งศูนย์วิชาการ อาจจะทาในลักษณะของศูนย์ให้บริการ
แนะนาช่วยเหลือ หรือจัดตั้งโรงเรียนตัวอย่าง
3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
3. ขั้นติดตามและประเมินผล
- การนิเทศและการใช้หลักสูตรในโรงเรียน
- การติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร
ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ (ต่อ)
1.การนิเทศและติดตามการใช้หลักสูตรในโรงเรียน
การนิเทศมีความจาเป็นอย่างยิ่งในหน่วยงานทุกแห่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
วงการศึกษา เพื่อเป็นการช่วยปรับปรุงการเรียนการสอน การนิเทศและ
ติดตามผลการใช้หลักสูตรในระหว่างการใช้หลักสูตรนั้น หน่วยงาน
ส่วนกลางในฐานะผู้พัฒนาหลักสูตรควรจัดส่งเสริมเจ้าหน้าที่ไปให้
คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรเพิ่มเติมและติดตามผลการใช้หลักสูตรใน
โรงเรียนว่าได้ดาเนินการด้วยความถูกต้องหรือไม่ มีปัญหาใดเกิดขึ้นหรือไม่
หากไม่มีปัญหาก็จะได้แก้ไขให้ลุล่วงไป
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
การนิเทศการใช้หลักสูตรหรือนิเทศการจัดการเรียนการสอน ต้องคานึงถึงหลัก
สาคัญของการนิเทศ คือ การให้คาแนะนาช่วยเหลือไม่ใช่การตรวจสอบเพื่อจับผิด
แต่ประการใด โดยลักษณะเช่นนี้ ผู้นิเทศจาเป็นจะต้องสร้างความสัมพันธ์และ
ความเข้าใจอันดีกับผู้รับการนิเทศ การดาเนินการนิเทศจะต้องดาเนินไปด้วย
บรรยากาศแห่งความเป็นประชาธิปไตยและร่วมมือกัน
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
2.การติดตามและการประเมินผลการใช้หลักสูตร
จะต้องมีการวางแผนไว้ให้ชัดเจนว่าจะทาการประเมินส่วนใดของ
หลักสูตร การออกแบบการประเมินที่กว้างและลึก คือการมองภาพรวม
ทั้งหมดของการใช้หลักสูตรของการหาตัวบางชี้สาคัญๆ นั้นจะต้อง
ระมัดระวังเรื่องตัวแปรทางวัฒนธรรมทางสังคมและทางเศรษฐกิจด้วย
เพราะบางอย่างผู้ประเมินอาจจะมองข้ามไป
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
กระบวนการในการประเมินผลเพื่อควบคุมภาพของหลักสูตร ในแง่ของการ
ปฏิบัติการกระบวนการของการประเมินผลเพื่อควบคุมคุณภาพของหลักสูตรแบ่ง
ออกเป็น 3 ขั้นตอนคือ
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
1. การตรวจสอบประสิทธิผลและความตกต่าของคุณภาพของหลักสูตร วิธีการ
ตรวจสอบเริ่มด้วยการรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน (Basic Data) เพื่อใช้เปรียบเทียบ
กับข้อมูลระหว่างการดาเนินการ ข้อมูลพื้นฐานนี้ควรเก็บรวบรวมในระหว่างที่นา
หลักสูตรไปทดลองในภาคสนาม ควรเก็บให้ได้มากและหลากหลาย
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
2. การตรวจสอบหาเหตุที่ทาให้คุณภาพตกต่า งานนี้เริ่มขึ้นเมื่อได้มีการพบแล้วว่า
คุณภาพของหลักสูตรตกต่าลง มีสมมุติฐานหลายเรื่องที่อาจนามาใช้ในการค้นหา
สาเหตุที่สาคัญคือ
1. ความล้มเหลวในการใช้หลักสูตร การที่จะใช้หลักสูตรให้มีประสิทธิผลใน
ทุกสภาพย่อมเป็นไปไม่ได้หลักสูตรแต่ละหลักสูตรย่อมมีจุดหมายที่แตกต่างกัน
และการที่บรรลุจุดหมายก็ต่อเมื่อได้มีการใช้หลักสูตรในสภาพและเงื่อนไขที่
เหมาะสมเท่านั้น
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
2. ความเปลี่ยนแปลงของสภาพและเงื่อนไขในเวลาที่นาหลักสูตรไปใช้สภาพ
ภายในโรงเรียนหรือสถานศึกษาที่นาหลักสูตรไปใช้ย่อมเปลี่ยนแปลงได้ทุกเวลา
ตัวอย่างเช่น ในตอนที่ทาการทดลองใช้ในภาคสนามขวัญและกาลังใจของผู้สอนดี
มาก แต่ตอนที่เอาหลักสูตรไปใช้จริงๆ กลับลดต่าลง
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
3. ความเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมาย เกี่ยวกับเรื่องนี้อาจเป็นไปได้ว่าลักษณะ
ของกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการทดลองภาคสนามกับที่นาหลักสูตรมาใช้จริงมีความ
แตกต่างกันมาก เช่น ในด้านระดับความรู้ความสามารถ เจตคติ และค่านิยมที่มีต่อ
การเรียน
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
4 วิธีการวิเคราะห์ผลการทดสอบ เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าการทดสอบหรือการ
ประเมินผลนั้นมีทั้งการทดสอบระหว่างการดาเนินการ หรือการทดสอบย่อย และ
การทดสอบขั้นสุดท้าย หรือการทดสอบรวม การทดสอบรวมเป็นการทดสอบที่
บอกให้เราทราบว่าหลักสูตรดีขึ้นหรือเสื่อมคุณภาพลง แต่ไม่สามารถชี้แจงเจาะจง
ลงไปว่าปัญหาอยู่ที่ตรงไหนเพราะเหตุใด ในทางตรงข้ามการทดสอบระหว่าง
ดาเนินการหรือการทดสอบย่อย ซึ่งใช้ในการวินิจฉัยจุดอ่อนของผู้เรียนสามารถช่วย
ให้เราทราบว่าหลักสูตรมีจุดอ่อนในเรื่องอะไร และเป็นเพราะเหตุใด ด้วยเหตุนี้เรา
จึงใช้การทดสอบย่อยเป็นเครื่องชี้ถึงสาเหตุการตกต่าของหลักสูตร
3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
3. แก้ไขและตรวจสอบประสิทธิผลของวิธีการที่นามาแก้ไข หลังจากที่ได้ทราบ
แล้วว่าความตกต่าของคุณภาพหลักสูตรคือเรื่องอะไร และเกิดจากสาเหตุอะไรแล้ว
ขั้นต่อไปของกระบวนการควบคุมคุณภาพก็คือการแก้ไข สาหรับการแก้ไขนี้อาจทา
ได้หลายวิธีทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสาเหตุและปัญหาที่ทาให้คุณภาพตกต่า ในบางกรณีอาจ
ใช้วิธีปรับปรุงวิธีการสอนและแก้ไขหลักสูตรบางส่วน เช่น ตัดทอนหรือเพิ่มเติม
เนื้อหาสาระแก้ไขวิธีสอนโดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนให้เล็กลง
บทบาทของหน่วยงานและบุคลากรในการนาหลักสูตรไปใช้
บทบาทของหน่วยงาน
1. การใช้หลักสูตรโดยหน่วยงานส่วนกลางที่มีบทบาทเต็มที่
2. การใช้หลักสูตรโดยให้โรงเรียนมีบทบาทเต็มที่
3. การใช้หลักสูตรโดยให้หน่วยงานส่วนกลางมีบทบาทเป็นส่วนใหญ่ และมี
หน่วยงานท้องถิ่นเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ
4. ใช้หลักสูตรโดยให้หน่วยงานส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสาคัญ และหน่วยงาน
ส่วนกลางเป็นผู้ให้การสนับสนุน
บทบาทของบุคลากรในการนาหลักสูตรไปใช้
1. ผู้บริหารโรงเรียน ให้การสนับสนุนการนาหลักสูตรไปใช้ให้เกิด
ประสิทธิภาพ ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร สามารถบริหารหลักสูตร
2. หัวหน้าหมวด ดาเนินการส่งเสริมการใช้หลักสูตรต้องมีความเข้าใจหลักสูตรใน
สาระที่ตนรับผิดชอบ และวางแผนดาเนินงานการใช้ระดับของตนเองได้อย่าง
เหมาะสม มีประสิทธิภาพ
3. ครูผู้สอน ในฐานะเป็นผู้ใช้หลักสูตรโดยตรงและโดยอ้อมคือเข้าร่วมพัฒนา
หลักสูตรในระดับต่างๆ และเป็นผู้ติดตามการใช้หลักสูตรอย่างใกล้ชิด
สรุป
การนาหลักสูตรไปใช้เป็นการแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน เป็น
กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย และเป็นกิจกรรมที่เป็นขั้นตอนการ
ปฏิบัติหลายขั้นตอน วิธีการของกระบวนการนาหลักสูตรไปใช้ น่าจะเป็นหัวใจ
สาคัญของการพัฒนาหลักสูตรมีผู้กล่าวว่า แม้เราจะมีหลักสูตรที่ดีแสนดี แต่ถ้านา
หลักสูตรไปใช้อย่างไม่ถูกต้องแล้วหลักสูตรนั้นก็ไม่มีประโยชน์อะไร
เพราะฉะนั้นผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการนาหลักสูตรไปใช้ จะต้องศึกษา ทาความ
เข้าใจกับการนาหลักสูตรไปใช้ตามบทบาทหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้
การใช้หลักสูตรนั้น สัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้

More Related Content

What's hot

Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 

What's hot (20)

Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 

Similar to การนำหลักสูตรไปใช้

Similar to การนำหลักสูตรไปใช้ (20)

9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

More from DuangdenSandee

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)DuangdenSandee
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)DuangdenSandee
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการDuangdenSandee
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาDuangdenSandee
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบDuangdenSandee
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยDuangdenSandee
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามDuangdenSandee
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยDuangdenSandee
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลDuangdenSandee
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลDuangdenSandee
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยDuangdenSandee
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องDuangdenSandee
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์DuangdenSandee
 
กระบวนการและขั้นตอนการวิจัย
กระบวนการและขั้นตอนการวิจัยกระบวนการและขั้นตอนการวิจัย
กระบวนการและขั้นตอนการวิจัยDuangdenSandee
 

More from DuangdenSandee (20)

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบ
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัย
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
 
กระบวนการและขั้นตอนการวิจัย
กระบวนการและขั้นตอนการวิจัยกระบวนการและขั้นตอนการวิจัย
กระบวนการและขั้นตอนการวิจัย
 

การนำหลักสูตรไปใช้