SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
การนาเสนอรายงานการวิจัย
เนื้อหา
การนาเสนอรายงานการวิจัย
ส่วนประกอบที่สาคัญของรายงานการวิจัย
การเขียนอ้างอิง
การจัดทาตาราง
การจัดทาบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
การจัดทาภาคผนวก
การนาเสนอรายงานการวิจัย
 วัตถุประสงค์ของรายงานผลการวิจัย
1.) เพื่อเสนอข้อเท็จจริง/ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้า
อย่างเป็นระบบ
2.) เพื่อพัฒนาความคิด ด้านความคิดริเริ่มการวิเคราะห์
และการประมวลความคิดอย่างมีระบบ
3.) เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ส่วนประกอบที่สาคัญของรายงานการวิจัย
 ส่วนนา
- ปกนอก
- ปกใน
- บทคัดย่อ ; วัตถุประสงค์/ระเบียบวิธีวิจัย/ข้อค้นพบ/ข้อสรุป
- กิตติกรรมประกาศ ; ระบุความเป็นมาโดยย่อ/แหล่งทุน/
ขอบคุณผู้ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ
- สารบัญ ; ระบุส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ในรายงาน และเลขหน้า
- สารบัญตาราง ; ระบุเลขที่ตาราง ชื่อตาราง และเลขหน้าของตาราง
- สารบัญรูปภาพ ; ระบุเลขที่ภาพ ชื่อภาพ และเลขหน้าของภาพ
1.) ชื่อเรื่องที่วิจัย 2.) ชื่อผู้ทาวิจัยหรือคณะผู้วิจัย
3.) แหล่งเงินทุนที่ได้รับ (ถ้ามี) 4.) ปีที่พิมพ์รายงาน
ผลกระทบของระบบชลประทานการเกษตร
ที่มีต่อภาวะเจริญพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
2524
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์
มนู ศรีขจร
ธวัชชัย อาทรธุระสุข
รุ่งโรจน์ พึ่งพันธุ์
ผลกระทบของระบบชลประทานการเกษตร
ที่มีต่อภาวะเจริญพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์
โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคาแหง
มนู ศรีขจร
กรมพัฒนาที่ดิน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ธวัชชัย อาทรธุระสุข
มหาวิทยาลัยมหิดล
รุ่งโรจน์ พึ่งพันธุ์
กรมพัฒนาที่ดิน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2524
สารบัญ
หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
สารบัญภาพ ง
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4
1.3 สมมติฐานการวิจัย 5
1.4 ขอบเขตการศึกษา 10
บทที่ 2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 15
สารบัญตาราง
ตาราง หน้า
1.1 จานวนหมู่บ้านและครัวเรือนในกลุ่มตัวอย่าง 6
1.2 ปริมาณน้าฝนโดยเฉลี่ยในช่วงฤดูฝนและตลอดทั้งปี 8
2.1 เนื้อที่ป่ าไม้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2498 – 2521 14
2.2 ขนาดของพื้นที่ชลประทานจาแนกเป็นรายภาค 39
2.4 ขนาดของประชากรจาแนกเป็นรายภาค 50
2.5 พื้นที่ชลประทานต่อหัวจาแนกเป็นภาคและรายจังหวัด 52
 ส่วนเนื้อเรื่อง
1.) บทที่ 1 บทนา
- ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
- วัตถุประสงค์ของการวิจัย
- สมมติฐานการวิจัย
- ขอบเขตของการศึกษา
- ข้อตกลงเบื้องต้น
- คานิยามศัพท์เฉพาะ
- ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
 ส่วนเนื้อเรื่อง (ต่อ)
2.) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.) บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
- การเก็บรวบรวมข้อมูล
- การวิเคราะห์ข้อมูล
- สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
4.) บทที่ 4 ผลการวิจัย
5.) บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายและข้อเสนอแนะ
 ส่วนอ้างอิง
- บรรณานุกรม ; เป็นรายการของหนังสือ เอกสาร
หลักฐานทั้งหมดที่ใช้ประกอบ สนับสนุนและใช้อ้างอิง
ในรายงานการวิจัย
- ภาคผนวก ; เป็นส่วนประกอบที่สนับสนุนการค้นคว้า
วิจัยของผู้เขียนรายงาน และจะเป็นประโยชน์สาหรับผู้อ่านที่สนใจ
เรื่องนั้นเป็นพิเศษ
- ประวิติผู้วิจัย ; ข้อมูลเกี่ยวกับผู้วิจัย
การเขียนอ้างอิง
- เป็นการอ้างอิงโดยการแทรกเนื้อหาของเอกสารไว้ใน
เนื้อหาของการวิจัยด้วยการระบุชื่อ – สกุล ของผู้แต่ง
และปีที่พิมพ์ พร้อมทั้งเลขหน้าที่อ้างอิงในเอกสารนั้น
โดยเขียนอ้างอิงใส่ไว้ในวงเล็บแทรกอยู่กับเนื้อหางานวิจัย
- เป็นการอ้างอิงอย่างย่อ ส่วนข้อมูลอื่น ๆ ของ
เอกสารที่อ้างอิงจะปรากฏอยู่ในบรรณานุกรมตอนท้ายเล่ม
 เอกสารที่มีผู้แต่งคนเดียว
(ชื่อผู้แต่ง,ปีที่พิมพ์ : หน้าที่อ้างถึง)
เช่น (สมยศ นาวีการ, 2524 : 234)
(Bower, 1973 : 323)
(นราธิปพงศ์ประพันธ์, กรมหมื่น. 2515 : 7-10)
(ทักษิณ ชินวัตร, 2526 : 139)
(สมภพ โรจนพันธ์, ผู้แปล, 2526 : 10)
 เอกสารที่มีผู้แต่ง 2 – 3 คน
เช่น (มณีชัย รัตนมณี และอนันต์ เกตุวงศ์, 2526 : 2 - 3)
(Iversen and Norphth, 1976 : 18 - 20)
 เอกสารที่มีผู้แต่ง 3 คนขึ้นไป
เช่น (แสวง รัตนมงคล และคณะ, 2528 : 1 - 3)
(Andy and other, 1989 : 11 - 14)
(Stanly, et. al., 1989 : 1 - 4)
 เอกสารออกในนามสถาบัน/หน่วยงาน
เช่น (มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต คณะวิทยาการจัดการ, 2535 : 3)
(ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2543 : 20)
(ก.พ., 2544 : 10 – 11)
 เอกสารที่ไม่ปรากฎชื่อผู้แต่ง ; ใช้ชื่อหนังสือแทน
เช่น (100 ปีกลยุทธฝ่ าวิกฤตธุรกิจไทย, 2534 : 162)
 เอกสารที่ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์ ; ให้ระบุคาว่า “ม.ป.ป.” หรือ “n.d”
เช่น (ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม, ม.ป.ป. : 23 - 27)
 การอ้างอิงกรณีพิเศษ
- การสัมภาษณ์
เช่น (อานันท์ ปันยารชุน, สัมภาษณ์)
- การบรรยาย/ปาฐกถา
เช่น (กมล ประจวบเหมาะ, บรรยาย)
- รายการวิทยุ/โทรทัศน์
เช่น (มหาวิทยาลัยรามคาแหง, โทรทัศน์ “กลยุทธการบริหาร”)
 การอ้างอิงจากเอกสารที่ไม่ใช่ต้นฉบับ
(ชื่อผู้แต่ง,ปีที่พิมพ์:หน้าที่อ้างอิง อ้างถึงใน ชื่อผู้แต่ง,ปีที่พิมพ์ : หน้าที่อ้างอิง)
ต้นฉบับ ทุติยภูมิ
เช่น (Merry, 1985 : 3 อ้างถึงในปรีชา สังกิตติสุนทร, 2530 : 17)
 การคัดลอกข้อความ
- ความยาวไม่เกิน 3 บรรทัด ให้คัดลอกข้อความในเครื่องหมาย “___”
แทรกในเนื้อหาของการวิจัย
- ยาวเกินกว่า 3 บรรทัด ให้ยกข้อความที่คัดลอกมาพิมพ์ขึ้นบรรทัดใหม่
โดยย่อหน้าเว้นระยะเข้าไป 4 ตัวอักษรทุกบรรทัด
การจัดทาตาราง
 ความสาคัญของตาราง
- ช่วยเสริมให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาของรายงานได้ดีขึ้น แต่ไม่ใช่สิ่งที่แทน
คาอธิบาย จึงมีความสาคัญดังนี้1.) ช่วยอธิบาย 2.) ช่วยเน้นจุดสาคัญ
และ3.) ช่วยจัดระเบียบของข้อมูลเชิงปริมาณ
 องค์ประกอบของตาราง
- เลขลาดับตาราง ; บอกลาดับที่ของตาราง
- ชื่อตาราง ; ระบุชื่อตารางให้คาบรรยาย
- ระบุหน่วยการวัด ; ข้อมูลที่นาเสนอมีมาตรการวัดเป็นอะไร
- ระบุแหล่งที่มา (กรณีจัดทาเองไม่ต้องระบุ)
ตาราง 1 มูลค่าการส่งออกสินค้าของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2545 - 2549
ปี พ.ศ.
สินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม
มูลค่า
(ล้านบาท)
การเปลี่ยนแปลง
(ร้อยละ)
มูลค่า
(ล้านบาท)
การเปลี่ยนแปลง
(ร้อยละ)
2545
2546
2547
2548
2549
ที่มา กรมการค้าระหว่างประเทศ, 2549
การจัดทาบรรณานุกรม
- หมายถึง รายชื่อสิ่งพิมพ์หรือเอกสารที่ใช้ประกอบการค้นคว้า และ
รายชื่อหนังสือจะต้องให้ข้อมูลทางการพิมพ์อย่างครบถ้วนและได้
มาตรฐาน
- ในกรณีที่รายการเอกสารมีไม่มากนักอาจนาบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศมาเขียนรวมกันได้ โดยนารายชื่อสิ่งพิมพ์
ภาษาไทยขึ้นก่อน
- ในแต่ละภาษาให้เรียงตามลาดับอักษรชื่อผู้เขียน
 การลงชื่อผู้แต่ง
1.) ให้ลงชื่อผู้เขียนตามธรรมเนียมนิยม เช่น
- อมร รักษาสัตย์
- Kasem Chunkao
- Keynes ,J.M
2.) กรณีมีฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ และยศทางทหาร
ตารวจ ให้ระบุไว้หลังชื่อ เช่น
- ปรีดิยาธร เทวกุล, ม.ร.ว.
- พัลลภ ปิ่นมณี, พล.อ.
 การลงชื่อเรื่อง
1.) ให้ลงชื่อเรื่องตามหน้าปกของหนังสือ
2.) หนังสือภาษาอังกฤษให้ขึ้นต้นทุกคาด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ ยกเว้น คา
นาหน้า(Articles) บุพบท(Preposition) หรือสันธาน (Conjunction)
 การลงรายการทางการพิมพ์
1.) สถานที่พิมพ์ – เมืองที่ตั้งของโรงพิมพ์ (ไม่ลงชื่อประเทศ)
2.) สานักพิมพ์ – ลงชื่อสานักพิมพ์โดยตัดคาว่า บริษัท, ห.จ.ก., จากัด,
Co., and Co., Inc., Publishers, Pub. Co. หรือคาที่มีความหมายเดียวกันออก
3.) ถ้าไม่ปรากฎชื่อสานักพิมพ์ให้ลงรายการด้วยคาว่า ม.ป.ท. หรือ n.p
4.) ถ้าไม่ปรากฎปีที่พิมพ์ให้ลงรายการด้วยคาว่า ม.ป.ป. หรือ n.d
 การลงชื่อผู้แต่ง (ต่อ)
3.) กรณีมีผู้แต่งไม่เกิน 3 คน ใช้คาว่า “และ” หรือ “and”
หน้าชื่อคนสุดท้าย แต่ถ้าเกิน 3 คน ให้ลงชื่อเฉพาะคนแรก
แล้วตามด้วย “และคณะ” หรือ “and other” เช่น
- สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และธวัชชัย อาทรธุระสุข
- เพ็ญศรี สุโรจน์ และคณะ
- Senders, William B. and Pinhey, Thomas K.
- Siegel, Claire and other
4.) กรณีไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง แต่จัดทาโดยหน่วยงานให้นาชื่อ
หน่วยงานมาแทนชื่อบุคคล
การเขียนบรรณานุกรม
 หนังสือ/ตารา
ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์).ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์.สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้ง
ที่ 12. กรุงเทพมหานคร: เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง.
Siegel, Sidney. (1956). Nonparametric Statistics for the Behavioral Sciences.
New York : Mcgraw - Hill.
 บทความในวารสาร
ชื่อผู้เขียน. (ปีที่พิมพ์). “ชื่อบทความ”. ชื่อวารสาร.ปีที่ (เดือน) : เลขหน้า.
สมชาย เรืองทอง. (2545). “ยุทธศาสตร์การส่งออก”. เศรษฐกิจการพาณิชย์.
ปีที่ 10 : 20 – 25.
Brayfield, Arthur H., and Harold F. Rothe.(1951). “Index of Job
Satisfaction” Journal of Applied Psychology. Vol. 35 : 307-331.
 หนังสือพิมพ์
ชื่อผู้เขียน. (วัน เดือน ปี).ชื่อบทความ.ชื่อหนังสือพิมพ์.เลขหน้า.
ธีรพันธ์ โล่ห์ทองคา. (5 ก.ย. 2549). ต่างชาติเตรียมยึดค้าปลีกไทย. มติชน. 20.
สยามรัฐ. (10 ม.ค. 2536). การเกษตรไทยจะไปทางไหน : หน้า 7.
ชื่อหนังสือพิมพ์. (วัน เดือน ปี).ชื่อข่าวหรือหัวข่าว:หน้า.
 วิทยานิพนธ์
ชื่อผู้เขียน. (ปีที่พิมพ์).ชื่อวิทยานิพนธ์.ระดับการศึกษา คณะและมหาวิทยาลัย.
สมบัติ ธารงธัญวงศ์. (2545). การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะเชิงประจักษ์
: ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อนโยบายการประถมศึกษาของ
ไทย (พ.ศ. 2523 – 2527). วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
คณะรัฐศาสตร์ สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์.
 บทความในสารานุกรม
ชื่อผู้เขียน. (ปีที่พิมพ์).ชื่อบทความ. ชื่อสารานุกรม.เล่มที่ : เลขหน้า.
จานง ทองประเสริฐ. (2532 - 2533). มหาวิทยาลัย. สารานุกรมฉบับราช
บัณฑิตสถาน. 22: 14394 – 14404.
 แหล่งสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิคส์
1.) อ้างอิงข้อมูลเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web)
ชื่อผู้แต่ง.ปีที่พิมพ์.(เดือน,วันที่).ชื่อเรื่อง.[ประเภทวัสดุ].ที่มา:ที่มาของ
สารสนเทศ.
Pioch, Nicholas. 1995. (August, 21). All you ever wanted to know
about the Web Museum [Online]. Available URL :
http://sunsite.unc.edu/wrn/about/
 แหล่งสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิคส์ (ต่อ)
2.) อ้างอิงบทความจากวารสารออนไลน์
ชื่อผู้แต่ง.ปีที่พิมพ์.ชื่อบทความ.ชื่อวารสาร.[ประเภทวัสดุ].ปีที่ออก, ฉบับที่
ออก: เลขหน้า.ที่มา : สถานที่มาของสารสนเทศ
Overby, J.M. 1996. Ozone bring better bottle water. Water
Technology [Online], 19, no. 5 : 62 – 63. Abstract from Dialog
File: Water Resource Abstracts (117) Item : 00798344
 แหล่งสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิคส์ (ต่อ)
3.) อ้างอิงสารสังเขปวิทยานิพนธ์จากซีดีรอม
ชื่อผู้แต่ง.ปีที่พิมพ์.ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์.[ประเภทวัสดุ].ที่มา:/ที่มาของ
สารสนเทศ.
Bower,D.L.1993. Employee assistant programs supervisory referrals :
characteristics of referring and nonreferring supervisors [CD-
ROM]. Abstract from : Proquest File : Dissertation Abstract
Item : 9315947
การจัดทาภาคผนวก
 ภาคผนวก คือ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายงาน แต่ไม่ใช่เนื้อหา
ของรายงาน เป็นส่วนที่นามาเพิ่มขึ้นในตอนท้ายเพื่อช่วย
ผู้อ่านให้เข้าใจยิ่งขึ้น
 ภาคผนวกจะมีหรือไม่ แล้วแต่ความจาเป็น
 ถ้ามีต้องจัดไว้ต่อจากบรรณานุกรม
 ภาคผนวกนี้มีไว้สาหรับเสนอรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อมูล
แบบสอบถามและอื่น ๆ ที่จะช่วยเพิ่มพูนความรู้แก่ผู้อ่าน
 การที่ต้องจัดข้อความบางอย่างไว้ในภาคผนวกนั้นก็เพื่อป้องกัน
มิให้เนื้อเรื่องของรายงานสับสนเกินไป

More Related Content

What's hot

การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยsanya111
 
การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2Prachyanun Nilsook
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ยฟ้าหลังฝน สดใสเสมอ
 
การเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการการเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการPrachyanun Nilsook
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำjittra055
 
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔บรรลุ ช่อชู
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำtipvimon
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 

What's hot (18)

Citation Search
Citation SearchCitation Search
Citation Search
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
 
การเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการการเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการ
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
Ppt2
Ppt2Ppt2
Ppt2
 
Printed Meterial
Printed MeterialPrinted Meterial
Printed Meterial
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำ
 
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำ
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 

Similar to การนำเสนอรายงานการวิจัย

คู่มือการใช้ฐานข้อมูล Business Source Complete
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล  Business Source Completeคู่มือการใช้ฐานข้อมูล  Business Source Complete
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล Business Source CompleteAkarimA SoommarT
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdatenonny_taneo
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสารNitinop Tongwassanasong
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6StampPamika
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมjiratt
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
ScienceDirect...New
ScienceDirect...NewScienceDirect...New
ScienceDirect...Newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 

Similar to การนำเสนอรายงานการวิจัย (20)

คู่มือการใช้ฐานข้อมูล Business Source Complete
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล  Business Source Completeคู่มือการใช้ฐานข้อมูล  Business Source Complete
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล Business Source Complete
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
ScienceDirect...New
ScienceDirect...NewScienceDirect...New
ScienceDirect...New
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 

More from DuangdenSandee

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)DuangdenSandee
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)DuangdenSandee
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการDuangdenSandee
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาDuangdenSandee
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบDuangdenSandee
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยDuangdenSandee
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามDuangdenSandee
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลDuangdenSandee
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลDuangdenSandee
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยDuangdenSandee
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องDuangdenSandee
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์DuangdenSandee
 

More from DuangdenSandee (20)

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบ
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัย
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
 

การนำเสนอรายงานการวิจัย