SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
ข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัยจาเป็นจะต้องใช้ข้อมูลควบคู่ไปกับแนวคิด โดยการเชื่องโยง
แนวคิดเข้ากับข้อมูล ข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่วัดได้ สิ่งที่นักวิจัยจะต้องทา
ความเข้าใจก็คือ
ข้อมูล
ประเภท
ของข้อมูล
คุณสมบัติ
ของข้อมูล
ชนิดของ
ข้อมูล
แนวคิด
ในการวัด
แนวคิดในการวัด
การวัด (Measurement) คือ กระบวนการที่ระบุความแตกต่างของ
คุณสมบัติของหน่วยวิเคราะห์ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ แตกต่างกัน
ในลักษณะใด และมากน้อยเพียงใด
เงื่อนไขสาคัญในการวัดตัวแปรมี๒ ประการ คือ
- นิยามตัวแปรหรือสิ่งที่ต้องการจะวัดให้ชัดเจน
- มีมาตราและหน่วยที่ใช้วัด (Unit of measurement)
 การวัดในเชิงคุณลักษณะ (Qualitative measurement)
- การวัดคุณภาพหรือกายภาพที่แสดงลักษณะของปรากฏการณ์ที่สังเกต
เช่น ร้อน – เย็น, ดี – ไม่ดี, หนัก – เบา เป็นต้น การวัดในลักษณะนี้จึงเป็น
การวัดในเชิงเปรียบเทียบ เพื่อแยกระดับของตัวแปรให้มีความแตกต่างกัน
เช่น ความพึ่งพอใจ ทัศนคติ รสนิยม เป็นต้น
 การวัดในเชิงปริมาณ (Quantitative measurement)
- การจาแนกความแตกต่างที่สามารถบอกจานวน หรือขนาดที่แตกต่าง
กันได้อย่างชัดเจน จึงสามารถนาจานวนมารวมกันหรือกระจายเป็นจานวน
ย่อย ๆ ได้ เช่น รายได้ของประชาชน ปริมาณเงินออม เป็นต้น
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลนามบัญญัติ (Nominal data)
- ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยการจาแนกตัวแปรออกตามลักษณะที่กาหนดขึ้น แล้ว
แทนแต่ละกลุ่มด้วยตัวเลข ตัวเลขเหล่านี้เป็นเพียงแต่ชื่อหรือนามไม่อาจนามาใช้ใน
การคานวณทางเลขคณิตได้ (การบวก ลบ คูณ หารข้อมูลชนิดนี้ไม่มีความหมาย)
- สถิติที่ใช้กับข้อมูลประเภทนี้ ได้แก่ ความถี่ อัตราร้อยละ ฐานนิยมส่วนสถิติที่
นิยมใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกลุ่มเดียวกันคือ Chi - square
ตัวแปรเพศ :
๑ = เพศชาย
๒ = เพศหญิง
ตัวแปรระดับการศึกษา
๑ = ระดับประถมศึกษา
๒ = ระดับมัธยมศึกษา
๓ = ระดับอาชีวะศึกษา
๔ = ระดับอุดมศึกษา
 ข้อมูลเรียงอันดับ (Ordinal data)
- ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยการจัดอันดับให้เห็นความแตกต่าง โดยแทน
ค่าด้วยตัวเลข แต่ตัวเลขเหล่านี้ไม่มีค่าทางเลขคณิตที่แท้จริง คือ สามารถ
เปรียบเทียบค่า(มากกว่าน้อยกว่า)ระหว่างหน่วยที่ได้ทาการวัดได้ แต่ยังไม่
สามารถบอกปริมาณของความแตกต่างของแต่ละอันดับได้แน่นอนข้อมูล
ประเภทนี้จึงเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
- สถิติที่ใช้กับข้อมูลชนิดนี้ ได้แก่ ความถี่ อัตราร้อยละ ค่าสหสัมพันธ์
ของสเปียร์แมน(Spearman rank correlation) หรือใช้ Chi-square
การวัดความนิยมของผู้บริโภค
๕ = ชอบมากที่สุด
๔ = ชอบมาก
๓ = ชอบ
๒ = ไม่ชอบ
๑ = ไม่ชอบมากที่สุด
การวัดความพอใจของลูกค้า
๕ = พอใจมากที่สุด
๔ = พอใจมาก
๓ = พอใจ
๒ = ไม่พอใจ
๑ = ไม่พอใจมากที่สุด
 ข้อมูลอันตรภาค (Interval data)
- ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราและหน่วยการวัด แต่เป็นการวัด
ของตัวแปรเป็นช่วง ๆ โดยมีช่วงความห่างที่แน่นอน จึงมีคุณสมบัติทางเลข
คณิต (บวก ลบ คูณ หาร) ครบถ้วน แต่ขาดคุณจุดศูนย์โดยธรรมชาติ เช่น
คะแนนสอบ คะแนนทัศนคติ หรือระดับอุณหภูมิ
- สถิติที่ใช้กับข้อมูลประเภทนี้ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ค่าเบี่ยง-
เบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์ถดถอย (Regression
analysis)
 ข้อมูลอัตราส่วน (Ratio data)
- ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราและหน่วยวัดเช่นเดียวกับข้อมูล
อันตรภาค แต่มาตราและหน่วยวัดจาแนกค่าของตัวแปรแต่ละค่าออกเป็น
ปริมาณหรือจานวนอย่างชัดเจน โดยแม้แต่ค่าศูนย์ก็สามารถวัดได้
- ข้อมูลชนิดนี้มีคุณสมบัติทางเลขคณิตครบถ้วน (สามารถบวก ลบ คูณ
หารได้) และยังมีจุดศูนย์โดยธรรมชาติ
คุณสมบัติของข้อมูล
ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
- ผลที่ได้จากการวัดเหมือนกันทุกครั้ง (สิ่งต่าง ๆ คงที่)
ความถูกต้องสมบูรณ์ (Validity)
- วัดได้ตรงกับประเด็นที่ต้องการ
ความเกี่ยวเนื่อง (Relevancy)
- มีความหมายและเกี่ยวเนื่องกับสิ่งที่ศึกษา
ความไม่มีอคติ (Unbiased)
- แสดงถึงคุณสมบัติที่แท้จริงของสิ่งที่วัด
ประเภทของข้อมูล
จาแนกตามแหล่งที่มาออกได้เป็น ๓ ประเภท คือ
๑. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data)
๒. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data)
๓. ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อสนเทศ
 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data)
- ข้อมูลที่ผู้วิจัยต้องเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น
โดยเฉพาะ ซึ่งอาจใช้วิธีเก็บข้อมูลได้หลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์ (Interview)
การสนทนากลุ่ม (Focus group) , การสังเกต (Observation) , การใช้
แบบสอบถามทางไปรษณีย์ (Mail questionnaire) เป็นต้น
ข้อดี
 ได้ข้อมูลตรงตามที่ต้องการ
 สามารถควบคุมเรื่องคุณภาพของ
การเก็บข้อมูล
ข้อเสีย
 ค่าใช้จ่ายสูง/เสียเวลา
 อาจได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน
 ข้อมูลไม่ได้คุณภาพ
 ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data)
- ข้อมูลที่ผู้อื่น หรือหน่วยงานต่าง ๆ ได้ทาการเก็บรวบรวมไว้แล้ว โดย
ส่วนใหญ่จะเก็บไว้ในรูปของเอกสาร เช่น รายงานประจาปี เอกสารวิชาการ
ข้อดี
 ไม่สิ้นเปลืองทรัพยากร
 ประหยัดเวลาในการเก็บข้อมูล
 ได้ข้อมูลย้อนหลังไปหลายช่วงเวลา
ข้อเสีย
 ข้อมูลอาจไม่ตรงตามความ
ต้องการ
 อาจได้ข้อมูลที่ไม่ทันสมัย
 ข้อมูลอาจมีความคาดเคลื่อน
ไปจากสถานการณ์จริง
 ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อมูลสนเทศ
- ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การจดบันทึกเหตุการณ์และพูดคุยกัน
ระหว่างผู้วิจัยกับผู้ให้สัมภาษณ์ โดยข้อมูลที่ได้ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลข เป็น
เพียงข้อความที่แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา ซึ่งอาจใช้วิธีการ
ทางมนุษยวิทยา การประชุมระดมสมอง (Brain-storming) การสนทนากลุ่ม
(Focus group) เป็นต้น

More Related Content

What's hot

การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
Anny Hotelier
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
แนะนำรายวิชา
แนะนำรายวิชาแนะนำรายวิชา
แนะนำรายวิชา
Akkradet Keawyoo
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
ืnattakamon thongprung
 

What's hot (20)

การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
Europe
EuropeEurope
Europe
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
แนะนำรายวิชา
แนะนำรายวิชาแนะนำรายวิชา
แนะนำรายวิชา
 
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 

Similar to แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล

บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8
paynarumon
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
sangkom
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
wisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
fa_o
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
Ultraman Taro
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
ยัยบ้อง ตาบร้า
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
sirinan120
 

Similar to แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล (20)

Concepts of measurement and data
Concepts of measurement and dataConcepts of measurement and data
Concepts of measurement and data
 
Measurement and data presentation
Measurement and data presentationMeasurement and data presentation
Measurement and data presentation
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8
 
การวัด.docx
การวัด.docxการวัด.docx
การวัด.docx
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
การติดตามผลและการประเมินผลการนำเสนอ
การติดตามผลและการประเมินผลการนำเสนอการติดตามผลและการประเมินผลการนำเสนอ
การติดตามผลและการประเมินผลการนำเสนอ
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
Data type methods and tools
Data type methods and toolsData type methods and tools
Data type methods and tools
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 

More from DuangdenSandee

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
DuangdenSandee
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
DuangdenSandee
 

More from DuangdenSandee (20)

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบ
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัย
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
 

แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล

  • 2. ข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยจาเป็นจะต้องใช้ข้อมูลควบคู่ไปกับแนวคิด โดยการเชื่องโยง แนวคิดเข้ากับข้อมูล ข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่วัดได้ สิ่งที่นักวิจัยจะต้องทา ความเข้าใจก็คือ ข้อมูล ประเภท ของข้อมูล คุณสมบัติ ของข้อมูล ชนิดของ ข้อมูล แนวคิด ในการวัด
  • 3. แนวคิดในการวัด การวัด (Measurement) คือ กระบวนการที่ระบุความแตกต่างของ คุณสมบัติของหน่วยวิเคราะห์ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ แตกต่างกัน ในลักษณะใด และมากน้อยเพียงใด เงื่อนไขสาคัญในการวัดตัวแปรมี๒ ประการ คือ - นิยามตัวแปรหรือสิ่งที่ต้องการจะวัดให้ชัดเจน - มีมาตราและหน่วยที่ใช้วัด (Unit of measurement)
  • 4.  การวัดในเชิงคุณลักษณะ (Qualitative measurement) - การวัดคุณภาพหรือกายภาพที่แสดงลักษณะของปรากฏการณ์ที่สังเกต เช่น ร้อน – เย็น, ดี – ไม่ดี, หนัก – เบา เป็นต้น การวัดในลักษณะนี้จึงเป็น การวัดในเชิงเปรียบเทียบ เพื่อแยกระดับของตัวแปรให้มีความแตกต่างกัน เช่น ความพึ่งพอใจ ทัศนคติ รสนิยม เป็นต้น  การวัดในเชิงปริมาณ (Quantitative measurement) - การจาแนกความแตกต่างที่สามารถบอกจานวน หรือขนาดที่แตกต่าง กันได้อย่างชัดเจน จึงสามารถนาจานวนมารวมกันหรือกระจายเป็นจานวน ย่อย ๆ ได้ เช่น รายได้ของประชาชน ปริมาณเงินออม เป็นต้น
  • 5. ชนิดของข้อมูล ข้อมูลนามบัญญัติ (Nominal data) - ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยการจาแนกตัวแปรออกตามลักษณะที่กาหนดขึ้น แล้ว แทนแต่ละกลุ่มด้วยตัวเลข ตัวเลขเหล่านี้เป็นเพียงแต่ชื่อหรือนามไม่อาจนามาใช้ใน การคานวณทางเลขคณิตได้ (การบวก ลบ คูณ หารข้อมูลชนิดนี้ไม่มีความหมาย) - สถิติที่ใช้กับข้อมูลประเภทนี้ ได้แก่ ความถี่ อัตราร้อยละ ฐานนิยมส่วนสถิติที่ นิยมใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกลุ่มเดียวกันคือ Chi - square
  • 6. ตัวแปรเพศ : ๑ = เพศชาย ๒ = เพศหญิง ตัวแปรระดับการศึกษา ๑ = ระดับประถมศึกษา ๒ = ระดับมัธยมศึกษา ๓ = ระดับอาชีวะศึกษา ๔ = ระดับอุดมศึกษา
  • 7.  ข้อมูลเรียงอันดับ (Ordinal data) - ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยการจัดอันดับให้เห็นความแตกต่าง โดยแทน ค่าด้วยตัวเลข แต่ตัวเลขเหล่านี้ไม่มีค่าทางเลขคณิตที่แท้จริง คือ สามารถ เปรียบเทียบค่า(มากกว่าน้อยกว่า)ระหว่างหน่วยที่ได้ทาการวัดได้ แต่ยังไม่ สามารถบอกปริมาณของความแตกต่างของแต่ละอันดับได้แน่นอนข้อมูล ประเภทนี้จึงเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ - สถิติที่ใช้กับข้อมูลชนิดนี้ ได้แก่ ความถี่ อัตราร้อยละ ค่าสหสัมพันธ์ ของสเปียร์แมน(Spearman rank correlation) หรือใช้ Chi-square
  • 8. การวัดความนิยมของผู้บริโภค ๕ = ชอบมากที่สุด ๔ = ชอบมาก ๓ = ชอบ ๒ = ไม่ชอบ ๑ = ไม่ชอบมากที่สุด การวัดความพอใจของลูกค้า ๕ = พอใจมากที่สุด ๔ = พอใจมาก ๓ = พอใจ ๒ = ไม่พอใจ ๑ = ไม่พอใจมากที่สุด
  • 9.  ข้อมูลอันตรภาค (Interval data) - ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราและหน่วยการวัด แต่เป็นการวัด ของตัวแปรเป็นช่วง ๆ โดยมีช่วงความห่างที่แน่นอน จึงมีคุณสมบัติทางเลข คณิต (บวก ลบ คูณ หาร) ครบถ้วน แต่ขาดคุณจุดศูนย์โดยธรรมชาติ เช่น คะแนนสอบ คะแนนทัศนคติ หรือระดับอุณหภูมิ - สถิติที่ใช้กับข้อมูลประเภทนี้ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ค่าเบี่ยง- เบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์ถดถอย (Regression analysis)
  • 10.  ข้อมูลอัตราส่วน (Ratio data) - ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราและหน่วยวัดเช่นเดียวกับข้อมูล อันตรภาค แต่มาตราและหน่วยวัดจาแนกค่าของตัวแปรแต่ละค่าออกเป็น ปริมาณหรือจานวนอย่างชัดเจน โดยแม้แต่ค่าศูนย์ก็สามารถวัดได้ - ข้อมูลชนิดนี้มีคุณสมบัติทางเลขคณิตครบถ้วน (สามารถบวก ลบ คูณ หารได้) และยังมีจุดศูนย์โดยธรรมชาติ
  • 11. คุณสมบัติของข้อมูล ความน่าเชื่อถือ (Reliability) - ผลที่ได้จากการวัดเหมือนกันทุกครั้ง (สิ่งต่าง ๆ คงที่) ความถูกต้องสมบูรณ์ (Validity) - วัดได้ตรงกับประเด็นที่ต้องการ ความเกี่ยวเนื่อง (Relevancy) - มีความหมายและเกี่ยวเนื่องกับสิ่งที่ศึกษา ความไม่มีอคติ (Unbiased) - แสดงถึงคุณสมบัติที่แท้จริงของสิ่งที่วัด
  • 12. ประเภทของข้อมูล จาแนกตามแหล่งที่มาออกได้เป็น ๓ ประเภท คือ ๑. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ๒. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) ๓. ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อสนเทศ
  • 13.  ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) - ข้อมูลที่ผู้วิจัยต้องเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น โดยเฉพาะ ซึ่งอาจใช้วิธีเก็บข้อมูลได้หลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์ (Interview) การสนทนากลุ่ม (Focus group) , การสังเกต (Observation) , การใช้ แบบสอบถามทางไปรษณีย์ (Mail questionnaire) เป็นต้น ข้อดี  ได้ข้อมูลตรงตามที่ต้องการ  สามารถควบคุมเรื่องคุณภาพของ การเก็บข้อมูล ข้อเสีย  ค่าใช้จ่ายสูง/เสียเวลา  อาจได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน  ข้อมูลไม่ได้คุณภาพ
  • 14.  ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) - ข้อมูลที่ผู้อื่น หรือหน่วยงานต่าง ๆ ได้ทาการเก็บรวบรวมไว้แล้ว โดย ส่วนใหญ่จะเก็บไว้ในรูปของเอกสาร เช่น รายงานประจาปี เอกสารวิชาการ ข้อดี  ไม่สิ้นเปลืองทรัพยากร  ประหยัดเวลาในการเก็บข้อมูล  ได้ข้อมูลย้อนหลังไปหลายช่วงเวลา ข้อเสีย  ข้อมูลอาจไม่ตรงตามความ ต้องการ  อาจได้ข้อมูลที่ไม่ทันสมัย  ข้อมูลอาจมีความคาดเคลื่อน ไปจากสถานการณ์จริง
  • 15.  ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อมูลสนเทศ - ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การจดบันทึกเหตุการณ์และพูดคุยกัน ระหว่างผู้วิจัยกับผู้ให้สัมภาษณ์ โดยข้อมูลที่ได้ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลข เป็น เพียงข้อความที่แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา ซึ่งอาจใช้วิธีการ ทางมนุษยวิทยา การประชุมระดมสมอง (Brain-storming) การสนทนากลุ่ม (Focus group) เป็นต้น