SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์
พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์
เนื่องจากมนุษย์มีธรรมชาติของความอยากรู้อยากเห็นความคิดริเริ่ม และมีความปรารถนาที่จะพัฒนาชีวิตและความเป็นอยู่ของตนให้ดี
ยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้มนุษย์จึงพยายามเสาะแสวงหาความรู้ความจริงต่างๆอยู่เสมอ เมื่อพบเห็นสิ่งใดหรือเกิดความสงสัยขึ้นมาก็พยายามศึกษาหาความรู้
ความจริงในสิ่งนั้น วิธีหาความรู้ความจริงมีอยู่หลายวิธีด้วยกัน อาจแบ่ง ตามยุคสมัยได้ดังนี้
1. ยุคโบราณ
2. ยุคอริสโตเติล
3. ยุคฟรานซิสเบคอน
4. ยุคปัจจุบัน
1.ยุคโบราณ
มนุษย์ในสมัยโบราณนั้น มีวิธีการหาความรู ้หลายวิธี ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
1.โดยความบังเอิญ (BYCHANCE)ซึ่งเป็นความรู้ที่เกิดขึ้นจากความไม่ตั้งใจ เช่น การค้นพบไฟ หรือประโยชน์จากการใช้ไฟที่
เกิดขึ้นจากฟ้าผ่า การค้นพบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ซึ่งผลที่ได้รับกลับทาให้มนุษย์ได้ความรู้ในอีกเรื่องหนึ่ง เช่น การค้นพบไฟทาให้ ร่างกายอบอุ่น
ขึ้น ไฟสามารถใช้เป็นพลังงานความร้อนที่ทาให้ของสุก เป็นต้น
2.โดยขนบธรรมเนียมประเพณี (BYTRADITION)ซึ่งเป็นความรู้ที่ได้รับจากการสืบทอดปฏิบัติต่อกันมาจนเป็น
ประเพณี เช่นการแต่งกาย การทาความเคารพ การเขียนสีบนใบหน้า การบันทึกเรื่องราวต่างๆบนผนังเพื่อเล่าเรื่องราว
3.โดยผู้มีอานาจ (BYAUTHORITY)เพราะผู้มีอานาจถือได้ว่าเป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับจากคนในสังคม เมื่อมีคนมีปัญหาหรือ
อยากรู้สิ่งต่างๆก็จะไปสอบถาม เมื่อได้รับคาตอบก็จะเชื่อตามนั้น เช่น พระ หมอผี หมอดู เป็นต้น
4.โดยประสบการณ์เฉพาะตน (BY PERSONALEXPERIENCE)ประสบการณ์ต่างๆ ของแต่ละคนช่วยให้บุคคลมีความรู้
และมีวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ เป็นแนวทาง เช่น การทาทาในเดือนที่เคยปลูกได้ผลมากที่สุด เป็นต้น
5.โดยการลองผิดลองถูก (BY TRIALANDERROR)เป็นความรู้ที่ได้รับจากการลองทาดู ถ้าวิธีไหนดีก็จะจดจาไว้ ถ้าวิธี
ไหนไม่ดีก็จะทิ้งไป
6.โดยผู้เชี่ยวชาญ (BYEXPERT)เป็นความรู้ที่เกิดขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะกรณี เช่น อยากรู้เรื่องการก่อกองไฟ ก็ไปเรียนรู้
จากผู้ เชี่ยวชาญในการก่อไฟว่าทาได้อย่างไร หรืออยากเรียนรู้เรื่องการทาอาวุธก็ไปเรียนรู้จากพราน เป็นต้น
ซึ่งวิธีการทั้ง6อย่างที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นจะเป็นวิธีการที่ไม่มีระเบียบแบบแผน
พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (ต่อ)
2. ยุค อริสโตเติล ARISTOTLE)
อริสโตเติล(ARISTOTLE)ผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของวิชาตรรกศาสตร์ เป็นผู้ค้นคิดวิธีการเสาะแสวงหาความรู้โดยอาศัยหลักของเหตุผล
ซึ่งเรียกว่าSYLLOGISTICREASONINGหรือวิธีอนุมาน(DEDUCTIVEREASONING)ซึ่งเป็นการคิดหาเหตุผลโดยการนาเอาสิ่งที่เป็นจริงตาม
ธรรมชาติมาอ้างองค์ประกอบหรือขั้นตอนของการหาความรู้โดยวิธีนี้มี3ประการคือ
1.เหตุใหญ่(MAJORPREMISE)เป็นข้อตกลงที่กาหนดขึ้น
2.เหตุย่อย(MINORPREMISE)เป็นเหตุเฉพาะกรณีที่ต้องการทราบความจริง
3.ข้อสรุป (CONCLUSION)เป็นการลงสรุปจากการพิจารณาความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อยแบบของการหาเหตุผล
(SYLLOGISM)ของอริสโตเติลมี4 แบบดังนี้
3.1การหาเหตุผลเฉพาะกลุ่ม(CATEGORICLESYLLOGISM)เป็นวิธีการหาเหตุผลที่สามารถลงสรุปในตัวเอง
3.2การหาเหตุผลตามสมมติฐาน(HYPOTHETICALSYLLOGISM)เป็นวิธีการหาเหตุผลที่กาหนดสถานการณ์ขึ้น มักจะมีคาว่า“ถ้า
...(อย่างนั้น อย่างนี้)...แล้วอะไรจะเกิดขึ้น...”(IF…THEN…) การหาเหตุผลชนิดนี้ผลสรุปจะเป็นจริงหรือไม่แล้วแต่สภาพการณ์ เพียงแต่เป็นเหตุผลที่
ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์เท่านั้น
3.3การหาเหตุผลที่มีทางเลือกให้(ALTERNATIVESYLLOGISM)เป็นวิธีการหาเหตุผลที่กาหนดสถานการณ์ที่เป็นทางเลือกไม่อย่างใดก็
พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (ต่อ)
3. ยุคฟรานซิสเบคอน
จากการที่เบคอนได้วิพากษ์วิจารณ์วิธีการหาเหตุผลของอริสโตเติล ว่ามีข้อบกพร่อง ดังกล่าวแล้ว จึงเป็นเหตุให้เบคอนได้เสนอ
วิธีการหาความรู้ความจริงขึ้น ซึ่งเรียกว่า วิธีอุปมาน (INDUCTIVE REASONING) เป็น วิธีที่อาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนแล้ว
จึงทาการวิเคราะห์ข้อมูล (เหตุย่อย) เพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเหล่านั้นใน อันที่จะนามาสรุปเป็นเหตุหรือ ผลหรือตั้งเป็น
ทฤษฎี (เหตุใหญ่) ดังนั้นองค์ประกอบหรือขั้นตอนในการอุปมานจึงอาจแบ่งได้ เป็น 3 ขั้นคือ
1. เก็บรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เป็นรายละเอียดย่อย ๆ ก่อน
2. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงย่อยเหล่านั้น
3. สรุปผล
การแสวงหาความรู ้โดยวิธีอุปมานของฟรานซิส เบคอน มี3 แบบ ขอแยกกล่าวดังนี้
3.1การอุปมานอย่างสมบูรณ์ (PERFECT INDUCTION) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทุก ๆ หน่วยในหมู่ประชากร เพื่อดู
รายละเอียดของหน่วยย่อยทั้งหมดแล้วจึงวิเคราะห์ข้อมูล แปลผล และสรุป โดยวิธีการนี้จะทาให้ได้ความรู้ความจริงที่ เชื่อถือ
ได้อย่างสมบูรณ์ แต่ในทางปฏิบัติอาจทาไม่ได้เพราะเป็นการสิ้นเปลืองเวลา แรงงานและค่าใช้จ่ายสูง อีกทั้งประชากร
บางอย่างเราไม่สามารถตรวจสอบให้ครบถ้วนทุกหน่วยได้ เช่น เชื้อโรค อากาศ น้า เป็นต้น ตัวอย่าง ในการศึกษาความ
ต้องการด้านการจัดกิจกรรมของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จานวน 250 คน โดยใช้แบบสอบถาม ถาม
พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (ต่อ)
3. ยุคฟรานซิสเบคอน(ต่อ)
3.2การอุปมานที่ไม่สมบูรณ์ (IMPERFECT INDUCTION) การอุปมานแบบนี้จะเลือกตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูลกับ
กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัว แทนของมวลประชากร แล้วจึงสรุป หรืออุปมานว่าประชากรทั้งหมดมีลักษณะเช่นไร วิธีการนี้ขึ้นอยู่
กับการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเป็นอย่างมาก แต่ก็สะดวกในการปฏิบัติเพราะประหยัดแรงงาน เวลา และค่าใช้จ่าย ตัวอย่าง ใน
การศึกษาความต้องการด้านการจัดกิจกรรมของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ านวน 250 คน โดยใช้
แบบสอบถาม ขั้นแรกจะต้องสุ่มนิสิตชั้นปีที่ 1 มาเป็นกลุ่มตัวอย่างก่อน แล้วให้กลุ่มตัวอย่างนี้ตอบ แบบสอบถาม รวบรวม
ข้อมูลเพื่อน ามาวิเคราะห์ และสรุปผลได้ว่า นิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความ ต้องการจัดกิจกรรมในด้าน
ใดบ้าง
3.3แบบอุปมานแบบเบคอเนียน (BACONIAN INDUCTION) เป็นการอุปมานที่ไม่สมบุรณ์วิธีหนึ่ง ซึ่งเบคอนเสนอ
ว่า ในการตรวจสอบข้อมูลนั้น ควรแจงนับหรือศึกษารายละเอียดของข้อมูลเป็น 3 กรณี คือ
1. พิจารณาส่วนที่มีลักษณะเหมือนกัน (POSITIVE INSTANCES)
2. พิจารณาส่วนที่มีลักษณะแตกต่างกัน (NEGATIVE INSTANCES)
3. พิจารณาส่วนที่มีความแปรเปลี่ยนไป (ALTERNATIVE INSTANCES)
ผลจากการศึกษารายละเอียดของข้อมูลเป็น 3 กรณีดังกล่าวนี้จะทาให้สรุปเป็นความรู้ใหม่ได้ วิธีการศึกษาหา ความรู้ความจริง
พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (ต่อ)
4.ยุคปัจจุบัน
ยุคปัจจุบันในคริสต์ศตวรรษที่ 19ชาร์ลส์ ดาร์วิน (CHARLESDARWIN)ได้เสนอวิธีการค้นหาความรู้ความจริง โดยเอาวิธีการของอริสโตเติล
และฟรานซิลเบคอนมารวมกันเรียกวิธีนี้ว่าวิธีการอนุมานและอุปมาน(DEDUCTIVE-INDUCTIVE METHOD)ซึ่งต่อมาได้มีผู้ดัดแปลงแก้ไขให้ชื่อ
ใหม่ว่า REFLECTIVETHINKING เพราะกระบวนการคิดแบบนี้เป็นการคิดกลับไปกลับมาหรือคิดอย่างใคร่ครวญรอบคอบผู้ที่คิดวิธีการนี้คือจอห์นดุย
(JOHN DEWEY)เขาได้เขียนไว้ใน หนังสือ“HOW WETHINK”เมื่อปีค.ศ.1910แบ่งขั้นการคิดไว้ 5 ขั้นคือ
1.ขั้นปรากฏความยุ่งยากเป็นปัญหาขึ้น(A FELTDIFFICULTY) หรือขั้นปัญหานั่นเอง
2.ขั้นจ ากัดขอบเขตและนิยามความยุ่งยาก(LOCATIONAND DEFINITIONOF THEDIFFICULTY) เป็นขั้นที่พยายามท าให้ปัญหากระจ่างขึ้น
ซึ่งอาจได้จากการสังเกตการเก็บรวบรวมข้อเท็จจริง
3.ขั้นเสนอแนะการแก้ปัญหาหรือสมมติฐาน(SUGGESTEDSOLUTIONSOFTHEPROBLEMHYPOTHESES)ขั้นนี้ได้ จากการค้นคว้าข้อเท็จจริง
แล้วใช้ปัญญาของตนเดาคาตอบของปัญหาที่เกิดขึ้นจึงเรียกกันว่าขั้นตั้งสมมติฐาน
4.ขั้นอนุมานเหตุผลของสมมติฐานที่ตั้งขึ้น(DEDUCTIVELYREASONINGOUTTHECONSEQUENCESOFTHE SUGGESTEDSOLUTION)
ขั้นนี้เป็นขั้นรวบรวมข้อมูลนั่นเอง
5.ขั้นทดสอบสมมติฐาน(TESTINGTHE HYPOTHESESBY ACTION) ขั้นนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจะทดสอบดูว่าสมมติฐานที่ตั้งขึ้นมานั้น
เชื่อถือได้หรือไม่ ขั้นตอนการคิดแบบนี้ต่อมาเรียกว่าวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (SCIENTIFIC METHOD)นั่นเอง
4.ยุคปัจจุบัน (ต่อ)
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (SCIENTIFIC METHOD)กล่าวคือเริ่มต้นด้วยปัญหาก่อนแล้วจึงใช้การอนุมานเพื่อจะเดาคาตอบของปัญหาหรือเป็นการ
ตั้งสมมติฐานขึ้นต่อมาก็มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐานและใช้หลักของการอุปมานสรุปผลออกมาวิธีการทางวิทยาศาสตร์จึงมีวิธีการคิด
เป็น5 ขั้นดังนี้
5.1ขั้นปัญหา(PROBLEM)
5.2ขั้นตั้งสมมติฐาน(HYPOTHESES)
5.3ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล(GATHERING DATA)
5.4ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล(ANALYSIS)
5.5 ขั้นสรุป (CONCLUSION) วิธีการวิจัยนั้นยึดถือและปฏิบัติตามลาดับขั้นของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นหลักผลทีได้จากการวิจัยจึงเป็นความ
จริงหรือความรู้ที่เชื่อถือได้
ที่มา : เอกสารประกอบคาบสอนเรื่อง"ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย"โดยรองศาสตราจารย์นิภาศรีไพโรจน์
HTTP://WWW.WATPON.COM/ELEARNING/RES12.HTM

More Related Content

What's hot

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
Samorn Tara
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
นายจักราวุธ คำทวี
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
Tanyarad Chansawang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Chantana Papattha
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษา
Phichak Penpattanakul
 

What's hot (20)

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการการเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษา
 

Similar to หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์

ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
pentanino
 
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนการดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
surasak123
 
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนการดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
surasak123
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
sangworn
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
krunumc
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
0932318652
 

Similar to หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (17)

การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนการดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
 
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนการดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Education_Research.pdf
Education_Research.pdfEducation_Research.pdf
Education_Research.pdf
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธีชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธโครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
 
9789740332800
97897403328009789740332800
9789740332800
 

More from DuangdenSandee

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
DuangdenSandee
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
DuangdenSandee
 

More from DuangdenSandee (20)

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบ
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัย
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 

หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์

  • 2. พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ เนื่องจากมนุษย์มีธรรมชาติของความอยากรู้อยากเห็นความคิดริเริ่ม และมีความปรารถนาที่จะพัฒนาชีวิตและความเป็นอยู่ของตนให้ดี ยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้มนุษย์จึงพยายามเสาะแสวงหาความรู้ความจริงต่างๆอยู่เสมอ เมื่อพบเห็นสิ่งใดหรือเกิดความสงสัยขึ้นมาก็พยายามศึกษาหาความรู้ ความจริงในสิ่งนั้น วิธีหาความรู้ความจริงมีอยู่หลายวิธีด้วยกัน อาจแบ่ง ตามยุคสมัยได้ดังนี้ 1. ยุคโบราณ 2. ยุคอริสโตเติล 3. ยุคฟรานซิสเบคอน 4. ยุคปัจจุบัน
  • 3. 1.ยุคโบราณ มนุษย์ในสมัยโบราณนั้น มีวิธีการหาความรู ้หลายวิธี ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ 1.โดยความบังเอิญ (BYCHANCE)ซึ่งเป็นความรู้ที่เกิดขึ้นจากความไม่ตั้งใจ เช่น การค้นพบไฟ หรือประโยชน์จากการใช้ไฟที่ เกิดขึ้นจากฟ้าผ่า การค้นพบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ซึ่งผลที่ได้รับกลับทาให้มนุษย์ได้ความรู้ในอีกเรื่องหนึ่ง เช่น การค้นพบไฟทาให้ ร่างกายอบอุ่น ขึ้น ไฟสามารถใช้เป็นพลังงานความร้อนที่ทาให้ของสุก เป็นต้น 2.โดยขนบธรรมเนียมประเพณี (BYTRADITION)ซึ่งเป็นความรู้ที่ได้รับจากการสืบทอดปฏิบัติต่อกันมาจนเป็น ประเพณี เช่นการแต่งกาย การทาความเคารพ การเขียนสีบนใบหน้า การบันทึกเรื่องราวต่างๆบนผนังเพื่อเล่าเรื่องราว 3.โดยผู้มีอานาจ (BYAUTHORITY)เพราะผู้มีอานาจถือได้ว่าเป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับจากคนในสังคม เมื่อมีคนมีปัญหาหรือ อยากรู้สิ่งต่างๆก็จะไปสอบถาม เมื่อได้รับคาตอบก็จะเชื่อตามนั้น เช่น พระ หมอผี หมอดู เป็นต้น 4.โดยประสบการณ์เฉพาะตน (BY PERSONALEXPERIENCE)ประสบการณ์ต่างๆ ของแต่ละคนช่วยให้บุคคลมีความรู้ และมีวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ เป็นแนวทาง เช่น การทาทาในเดือนที่เคยปลูกได้ผลมากที่สุด เป็นต้น 5.โดยการลองผิดลองถูก (BY TRIALANDERROR)เป็นความรู้ที่ได้รับจากการลองทาดู ถ้าวิธีไหนดีก็จะจดจาไว้ ถ้าวิธี ไหนไม่ดีก็จะทิ้งไป 6.โดยผู้เชี่ยวชาญ (BYEXPERT)เป็นความรู้ที่เกิดขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะกรณี เช่น อยากรู้เรื่องการก่อกองไฟ ก็ไปเรียนรู้ จากผู้ เชี่ยวชาญในการก่อไฟว่าทาได้อย่างไร หรืออยากเรียนรู้เรื่องการทาอาวุธก็ไปเรียนรู้จากพราน เป็นต้น ซึ่งวิธีการทั้ง6อย่างที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นจะเป็นวิธีการที่ไม่มีระเบียบแบบแผน พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (ต่อ)
  • 4. 2. ยุค อริสโตเติล ARISTOTLE) อริสโตเติล(ARISTOTLE)ผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของวิชาตรรกศาสตร์ เป็นผู้ค้นคิดวิธีการเสาะแสวงหาความรู้โดยอาศัยหลักของเหตุผล ซึ่งเรียกว่าSYLLOGISTICREASONINGหรือวิธีอนุมาน(DEDUCTIVEREASONING)ซึ่งเป็นการคิดหาเหตุผลโดยการนาเอาสิ่งที่เป็นจริงตาม ธรรมชาติมาอ้างองค์ประกอบหรือขั้นตอนของการหาความรู้โดยวิธีนี้มี3ประการคือ 1.เหตุใหญ่(MAJORPREMISE)เป็นข้อตกลงที่กาหนดขึ้น 2.เหตุย่อย(MINORPREMISE)เป็นเหตุเฉพาะกรณีที่ต้องการทราบความจริง 3.ข้อสรุป (CONCLUSION)เป็นการลงสรุปจากการพิจารณาความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อยแบบของการหาเหตุผล (SYLLOGISM)ของอริสโตเติลมี4 แบบดังนี้ 3.1การหาเหตุผลเฉพาะกลุ่ม(CATEGORICLESYLLOGISM)เป็นวิธีการหาเหตุผลที่สามารถลงสรุปในตัวเอง 3.2การหาเหตุผลตามสมมติฐาน(HYPOTHETICALSYLLOGISM)เป็นวิธีการหาเหตุผลที่กาหนดสถานการณ์ขึ้น มักจะมีคาว่า“ถ้า ...(อย่างนั้น อย่างนี้)...แล้วอะไรจะเกิดขึ้น...”(IF…THEN…) การหาเหตุผลชนิดนี้ผลสรุปจะเป็นจริงหรือไม่แล้วแต่สภาพการณ์ เพียงแต่เป็นเหตุผลที่ ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์เท่านั้น 3.3การหาเหตุผลที่มีทางเลือกให้(ALTERNATIVESYLLOGISM)เป็นวิธีการหาเหตุผลที่กาหนดสถานการณ์ที่เป็นทางเลือกไม่อย่างใดก็ พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (ต่อ)
  • 5. 3. ยุคฟรานซิสเบคอน จากการที่เบคอนได้วิพากษ์วิจารณ์วิธีการหาเหตุผลของอริสโตเติล ว่ามีข้อบกพร่อง ดังกล่าวแล้ว จึงเป็นเหตุให้เบคอนได้เสนอ วิธีการหาความรู้ความจริงขึ้น ซึ่งเรียกว่า วิธีอุปมาน (INDUCTIVE REASONING) เป็น วิธีที่อาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนแล้ว จึงทาการวิเคราะห์ข้อมูล (เหตุย่อย) เพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเหล่านั้นใน อันที่จะนามาสรุปเป็นเหตุหรือ ผลหรือตั้งเป็น ทฤษฎี (เหตุใหญ่) ดังนั้นองค์ประกอบหรือขั้นตอนในการอุปมานจึงอาจแบ่งได้ เป็น 3 ขั้นคือ 1. เก็บรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เป็นรายละเอียดย่อย ๆ ก่อน 2. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงย่อยเหล่านั้น 3. สรุปผล การแสวงหาความรู ้โดยวิธีอุปมานของฟรานซิส เบคอน มี3 แบบ ขอแยกกล่าวดังนี้ 3.1การอุปมานอย่างสมบูรณ์ (PERFECT INDUCTION) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทุก ๆ หน่วยในหมู่ประชากร เพื่อดู รายละเอียดของหน่วยย่อยทั้งหมดแล้วจึงวิเคราะห์ข้อมูล แปลผล และสรุป โดยวิธีการนี้จะทาให้ได้ความรู้ความจริงที่ เชื่อถือ ได้อย่างสมบูรณ์ แต่ในทางปฏิบัติอาจทาไม่ได้เพราะเป็นการสิ้นเปลืองเวลา แรงงานและค่าใช้จ่ายสูง อีกทั้งประชากร บางอย่างเราไม่สามารถตรวจสอบให้ครบถ้วนทุกหน่วยได้ เช่น เชื้อโรค อากาศ น้า เป็นต้น ตัวอย่าง ในการศึกษาความ ต้องการด้านการจัดกิจกรรมของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จานวน 250 คน โดยใช้แบบสอบถาม ถาม พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (ต่อ)
  • 6. 3. ยุคฟรานซิสเบคอน(ต่อ) 3.2การอุปมานที่ไม่สมบูรณ์ (IMPERFECT INDUCTION) การอุปมานแบบนี้จะเลือกตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูลกับ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัว แทนของมวลประชากร แล้วจึงสรุป หรืออุปมานว่าประชากรทั้งหมดมีลักษณะเช่นไร วิธีการนี้ขึ้นอยู่ กับการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเป็นอย่างมาก แต่ก็สะดวกในการปฏิบัติเพราะประหยัดแรงงาน เวลา และค่าใช้จ่าย ตัวอย่าง ใน การศึกษาความต้องการด้านการจัดกิจกรรมของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ านวน 250 คน โดยใช้ แบบสอบถาม ขั้นแรกจะต้องสุ่มนิสิตชั้นปีที่ 1 มาเป็นกลุ่มตัวอย่างก่อน แล้วให้กลุ่มตัวอย่างนี้ตอบ แบบสอบถาม รวบรวม ข้อมูลเพื่อน ามาวิเคราะห์ และสรุปผลได้ว่า นิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความ ต้องการจัดกิจกรรมในด้าน ใดบ้าง 3.3แบบอุปมานแบบเบคอเนียน (BACONIAN INDUCTION) เป็นการอุปมานที่ไม่สมบุรณ์วิธีหนึ่ง ซึ่งเบคอนเสนอ ว่า ในการตรวจสอบข้อมูลนั้น ควรแจงนับหรือศึกษารายละเอียดของข้อมูลเป็น 3 กรณี คือ 1. พิจารณาส่วนที่มีลักษณะเหมือนกัน (POSITIVE INSTANCES) 2. พิจารณาส่วนที่มีลักษณะแตกต่างกัน (NEGATIVE INSTANCES) 3. พิจารณาส่วนที่มีความแปรเปลี่ยนไป (ALTERNATIVE INSTANCES) ผลจากการศึกษารายละเอียดของข้อมูลเป็น 3 กรณีดังกล่าวนี้จะทาให้สรุปเป็นความรู้ใหม่ได้ วิธีการศึกษาหา ความรู้ความจริง พัฒนาการการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ (ต่อ)
  • 7. 4.ยุคปัจจุบัน ยุคปัจจุบันในคริสต์ศตวรรษที่ 19ชาร์ลส์ ดาร์วิน (CHARLESDARWIN)ได้เสนอวิธีการค้นหาความรู้ความจริง โดยเอาวิธีการของอริสโตเติล และฟรานซิลเบคอนมารวมกันเรียกวิธีนี้ว่าวิธีการอนุมานและอุปมาน(DEDUCTIVE-INDUCTIVE METHOD)ซึ่งต่อมาได้มีผู้ดัดแปลงแก้ไขให้ชื่อ ใหม่ว่า REFLECTIVETHINKING เพราะกระบวนการคิดแบบนี้เป็นการคิดกลับไปกลับมาหรือคิดอย่างใคร่ครวญรอบคอบผู้ที่คิดวิธีการนี้คือจอห์นดุย (JOHN DEWEY)เขาได้เขียนไว้ใน หนังสือ“HOW WETHINK”เมื่อปีค.ศ.1910แบ่งขั้นการคิดไว้ 5 ขั้นคือ 1.ขั้นปรากฏความยุ่งยากเป็นปัญหาขึ้น(A FELTDIFFICULTY) หรือขั้นปัญหานั่นเอง 2.ขั้นจ ากัดขอบเขตและนิยามความยุ่งยาก(LOCATIONAND DEFINITIONOF THEDIFFICULTY) เป็นขั้นที่พยายามท าให้ปัญหากระจ่างขึ้น ซึ่งอาจได้จากการสังเกตการเก็บรวบรวมข้อเท็จจริง 3.ขั้นเสนอแนะการแก้ปัญหาหรือสมมติฐาน(SUGGESTEDSOLUTIONSOFTHEPROBLEMHYPOTHESES)ขั้นนี้ได้ จากการค้นคว้าข้อเท็จจริง แล้วใช้ปัญญาของตนเดาคาตอบของปัญหาที่เกิดขึ้นจึงเรียกกันว่าขั้นตั้งสมมติฐาน 4.ขั้นอนุมานเหตุผลของสมมติฐานที่ตั้งขึ้น(DEDUCTIVELYREASONINGOUTTHECONSEQUENCESOFTHE SUGGESTEDSOLUTION) ขั้นนี้เป็นขั้นรวบรวมข้อมูลนั่นเอง 5.ขั้นทดสอบสมมติฐาน(TESTINGTHE HYPOTHESESBY ACTION) ขั้นนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจะทดสอบดูว่าสมมติฐานที่ตั้งขึ้นมานั้น เชื่อถือได้หรือไม่ ขั้นตอนการคิดแบบนี้ต่อมาเรียกว่าวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (SCIENTIFIC METHOD)นั่นเอง
  • 8. 4.ยุคปัจจุบัน (ต่อ) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (SCIENTIFIC METHOD)กล่าวคือเริ่มต้นด้วยปัญหาก่อนแล้วจึงใช้การอนุมานเพื่อจะเดาคาตอบของปัญหาหรือเป็นการ ตั้งสมมติฐานขึ้นต่อมาก็มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐานและใช้หลักของการอุปมานสรุปผลออกมาวิธีการทางวิทยาศาสตร์จึงมีวิธีการคิด เป็น5 ขั้นดังนี้ 5.1ขั้นปัญหา(PROBLEM) 5.2ขั้นตั้งสมมติฐาน(HYPOTHESES) 5.3ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล(GATHERING DATA) 5.4ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล(ANALYSIS) 5.5 ขั้นสรุป (CONCLUSION) วิธีการวิจัยนั้นยึดถือและปฏิบัติตามลาดับขั้นของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นหลักผลทีได้จากการวิจัยจึงเป็นความ จริงหรือความรู้ที่เชื่อถือได้ ที่มา : เอกสารประกอบคาบสอนเรื่อง"ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย"โดยรองศาสตราจารย์นิภาศรีไพโรจน์ HTTP://WWW.WATPON.COM/ELEARNING/RES12.HTM