SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน อัจฉริยะกับออทิสติก
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.พิมพ์ชนก นาคะเกตุ
เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.น.ส.พิมพ์ชนก นาคะเกตุ เลขที่ 20
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อัจฉริยะกับออทิสติก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
genius and autism
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมพ์ชนก นาคะเกตุ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในสังคมปัจจุบันมีบุคคลหลายประเภทหนึ่งในนั้นมีบุคคลประเภทหนึ่งที่ยังไม่ได้รับความเอาใจใส่มาอย่า
ที่ควรก็คือ คนที่มีภาวะของโรตออทิสติก สาหรับบุคคลออทิสติก จากสถิติพบว่ามีเกือบร้อยละ 10 ที่มีความเป็น
อัจฉริยะอยู่ในตัว เรียกกลุ่มนี้ว่า “ออทิสติก ซาวองก์” (Autistic Savant) อาจเป็นความอัจฉริยะเฉพาะด้าน
หรือหลายๆ ด้านพร้อมกัน อาจเป็นอัจฉริยะในศาสตร์สาขาต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์
ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ดนตรี ฯลฯ บางคนอาจแสดงออกมาให้เห็นชัดเจนตั้งแต่เด็ก บางคนก็รอ
จังหวะเวลาและโอกาสในการแสดงออก และในขณะเดียวกัน หลายๆ คนไม่มีแม้แต่โอกาสด้วยซ้า แต่เมื่อถูกระบุ
ว่าเป็นออทิสติกแล้ว บางครั้งความเป็นอัจฉริยะ จะถูกมองข้ามไป ไม่สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
เนื่องจากเราไปให้ความสาคัญกับความผิดปกติมากกว่าความเป็นอัจฉริยะ ไปมุ่งเน้นการแก้ไขความผิดปกติ จน
ลืมส่งเสริมความเป็นอัจฉริยะ เมื่อเราทราบว่าเด็กออทิสติกแต่ละคนมีระบบ วิธีคิด มีความสนใจ หรือมีพรสวรรค์
แบบไหนแล้ว ก็จะสามารถหาวิธีการส่งเสริมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความสามารถ และความบกพร่องที่เด็กมีได้
ไม่ยาก
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคออทิสติกและความอัจฉริยะ
2.สนับสนุนให้ทุกคนตระหนักถึงบุคคลที่เป็นโรคนี้และส่งเสริมความเป็นอัจฉริยะของแต่ละคนได้อย่าง
เหมาะสม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาอาการของโรค ระบบทางความคิด วิธีการคิด และวิธีส่งเสริมผู้ที่เป็นโรคออทิสติกอย่างเหมาะสม
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความเชื่อมโยงระหว่างความเป็นอัจฉริยะ กับความผิดปกติ มักมีตัวอย่างให้เห็นมากมาย จนในบางครั้ง
แยกจากกันไม่ออก “เส้นแบ่งระหว่างความเป็นอัจฉริยะ กับความผิดปกติ อยู่ตรงไหน” อาจเป็นคาถามที่ตอบ
ยาก และในบางครั้งอาจไม่มีคาตอบ
สาหรับบุคคลออทิสติก จากสถิติพบว่ามีเกือบร้อยละ 10 ที่มีความเป็นอัจฉริยะอยู่ในตัว เรียกกลุ่มนี้ว่า
“ออทิสติก ซาวองก์” (Autistic Savant) อาจเป็นความอัจฉริยะเฉพาะด้าน หรือหลายๆ ด้านพร้อมกัน อาจเป็น
อัจฉริยะในศาสตร์สาขาต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปศาสตร์
ดนตรี ฯลฯ บางคนอาจแสดงออกมาให้เห็นชัดเจนตั้งแต่เด็ก บางคนก็รอจังหวะเวลาและโอกาสในการแสดงออก
และในขณะเดียวกัน หลายๆ คนไม่มีแม้แต่โอกาสด้วยซ้า
แต่เมื่อถูกระบุว่าเป็นออทิสติกแล้ว บางครั้งความเป็นอัจฉริยะ จะถูกมองข้ามไป ไม่สามารถนามาใช้ให้
เกิดประโยชน์ได้ เนื่องจากเราไปให้ความสาคัญกับความผิดปกติมากกว่าความเป็นอัจฉริยะ ไปมุ่งเน้นการแก้ไข
ความผิดปกติ จนลืมส่งเสริมความเป็นอัจฉริยะ
เมื่อเด็กออทิสติกได้รับการแก้ไขความบกพร่อง สิ่งหนึ่งที่มักจะถูกแนะนาให้แก้ไขด้วย คือการลดความ
หมกมุ่นในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งที่มากเกินไป ซึ่งก็เป็นสิ่งที่ถูกต้องตามแนวทางการรักษาในปัจจุบัน แต่ใน
บางครั้ง ความหมกมุ่นในบางเรื่อง นามาซึ่งความรู้จริง ความรอบรู้ในเรื่องนั้นๆ ได้เช่นกัน รายการเกมโชว์ทางทีวี
“แฟนพันธุ์แท้” เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่า เมื่อคนเรามีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และศึกษา
ค้นคว้า แสวงหาความรู้ในเรื่องนั้นอย่างสม่าเสมอ และต่อเนื่อง ก็จะเป็นผู้รอบรู้ในเรื่องนั้นได้
ดังนั้นแนวทางการแก้ไขความหมกมุ่น ไม่ใช่การห้าม งดทา หรือเบี่ยงเบนเท่านั้น แต่ควรเน้นการขยาย
ขอบเขตความสนใจในเรื่องเดิมให้กว้างขึ้น ให้มีมิติ มุมมองใหม่ๆ เพิ่มขึ้น ก็สามารถช่วยลดความหมกมุ่น โดยไม่
ปิดกั้นความสนใจได้เช่นกัน
4
เด็กบางคนไม่ได้รับอนุญาตให้เล่นคอมพิวเตอร์ เนื่องจากทาให้เกิดความหมกมุ่น และไม่ช่วยส่งเสริมใน
ด้านทักษะสังคม ซึ่งบางครั้งการปฏิบัติเช่นนี้อาจไปทาลายโอกาส ทาลายสิ่งที่มีความหมายสาคัญที่สุดในชีวิตของ
เขาก็ได้ เพราะเมื่อพวกเขาโตขึ้น สิ่งที่ทาให้ชีวิตมีคุณค่า และมีความหมาย คือการได้ทางานที่ตอบสนองต่อความ
พึงพอใจ และความสามารถทางสติปัญญาของเขาเอง
“เด็กอัจฉริยะที่เป็นออทิสติก กับ เด็กออทิสติกที่เป็นอัจฉริยะ อะไรคือความแตกต่าง” เป็นคาถามที่อาจ
ทาให้เกิดความสงสัยว่าถามทาไม เนื่องจากไม่มีความแตกต่างอะไรในสิ่งที่เห็น เพียงแค่เรียกสลับตาแหน่งกัน
เท่านั้น แต่สิ่งที่แตกต่าง คือ แตกต่างในความรู้สึก ความรู้สึกที่จะนามาซึ่งการยอมรับหรือการปฏิเสธ การให้
โอกาส หรือการปิดโอกาส ความรู้สึกที่สามารถเปลี่ยนอนาคตของเด็กได้ทั้งชีวิต
ในปัจจุบันเรามักเรียกเด็กกลุ่มนี้ว่า “เด็กออทิสติกที่เป็นอัจฉริยะ” ซึ่งแสดงให้เห็นถึงลาดับความสาคัญที่
ให้กับความผิดปกติ ความบกพร่อง ก่อนความสามารถในระดับอัจฉริยะที่เด็กมี เมื่อเด็กถูกมองว่าผิดปกติ เขาก็
อาจขาดโอกาสในการพัฒนาที่เด็กอัจฉริยะควรจะได้รับ เพราะสิ่งที่เขามีถูกบดบังและมองข้ามไป
ในทางกลับกัน ถ้าเขาถูกเรียกว่า “เด็กอัจฉริยะ ที่เป็นออทิสติก” อาจสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นได้
เนื่องจากทุกคนจะเห็นความสามารถในระดับอัจฉริยะของเขาก่อน การยอมรับก็เกิดขึ้น โอกาสที่เขาจะได้เรียนรู้
และพัฒนาก็เพิ่มขึ้น ส่วนความผิดปกติที่มีก็ได้รับการแก้ไข บนฐานความคิดที่ว่า “แก้ไขเพื่อดึงความสามารถที่มี
อยู่ออกมาใช้ให้เต็มที่ เต็มตามศักยภาพ ไม่ใช่แก้ไขเพื่อลดความผิดปกติเท่านั้น” และผลพลอยได้อีกอย่างหนึ่งที่
สาคัญ คือ เมื่อได้รับการยอมรับในสังคมแล้ว โอกาสที่จะพัฒนาทักษะด้านสังคมก็เพิ่มขึ้นด้วย เนื่องจากพวกเขา
ไม่ต้องเป็นฝ่ายที่ปรับตัวเข้าหาสังคมเพียงด้านเดียว แต่สังคมก็พยายามปรับตัวเข้าหาพวกเขาด้วยเช่นกัน เป็น
การพบกันครึ่งทาง
สาหรับระบบ วิธีคิด ในเด็กอัจฉริยะที่เป็นออทิสติก แยกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มที่คิดด้วยภาพ
(visual thinker) กับกลุ่มที่คิดโดยไม่ใช้ภาพ (music, math and memory thinker)
กลุ่มที่คิดด้วยภาพ (visual thinker) เมื่อเขาคิดถึง สุนัข ก็จะมีภาพของสุนัขประเภทต่างๆ ในอิริยาบถต่างๆ อยู่
ในหัว รู้ว่าสุนัขแต่ละตัวมีอะไรที่เหมือนกัน และมีความแตกต่างจากแมวอย่างไร จากนั้นก็จะค่อยๆสร้างภาพ
เฉพาะของสุนัขเป็นความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสุนัข หรือที่เรียกว่า การคิดแบบอุปนัย (bottom up thinking)
ในทางตรงกันข้าม กลุ่มที่คิดโดยไม่ใช้ภาพ (music, math and memory thinker) จะเริ่มคิดจากลักษณะ
ทั่วไปที่เหมือนกันของสุนัข แล้วค่อยแตกย่อยเป็นลักษณะเฉพาะของสุนัขแต่ละสายพันธุ์ หรือที่เรียกว่า การคิด
แบบนิรนัย (top down thinking)
เมื่อเราทราบว่าเด็กออทิสติกมีระบบ วิธีคิด แบบไหนแล้ว ก็จะสามารถหาวิธีการส่งเสริมการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับความสามารถ และความบกพร่องที่เด็กมีได้ไม่ยาก
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคและความอัจฉริยะทีแฝงมาในโรค
2.ทาความเข้าใจและเชื่อมโยงในเรื่องอัจฉริยะกับออทิสติก
3.นาข้อมูลที่ได้มาประมวลผลและหาวิธ๊การที่จะส่งเสริมคนที่เป็นโรคออทิสติกได้อย่างเหมาะสม
4.สรุปผลและเผยแพร่ข้อมูล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.internet
2.computer
งบประมาณ -
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
6
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับความเป็นอัจฉริยะในผู้ที่มีอาการออทิสติก
2.เข้าใจผูที่มีอาการออทิสติกมากขึ้น
3.สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กออทิสติกแต่ละคนได้อย่างเหมาะสม
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
“อัจฉริยะกับออทิสติก นพ.ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น” [ระบบออนไลน์]
แหล่งที่มา:https://www.happyhomeclinic.com/au24-autistic%20and%20talented.htm(13
พฤศจิกายน2562)
“เด็กออทิสติก เป็นอัจฉริยะจริงหรือ?” [ระบบออนไลน์]
แหล่งที่มา: https://www.thaihealth.or.th/Content/.html(13พฤศจิกายน2562)

More Related Content

What's hot

03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)Tarinee Bunkloy
 
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc. โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc. Thanatchaporn Yawichai
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรchuttiyarach
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Kii Kik
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8Jp Eternally
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jp Eternally
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
ใบงานวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
ใบงานวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2ใบงานวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
ใบงานวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2Piyaporn Punjachaiya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8unstreet
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8Mc'Or K-kung
 

What's hot (15)

03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
 
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc. โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
 
A01 (2)
A01 (2)A01 (2)
A01 (2)
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
ใบงานวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
ใบงานวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2ใบงานวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
ใบงานวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
 
Aungkana1
Aungkana1Aungkana1
Aungkana1
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 

Similar to genius and autism

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานwisita42
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40Mai Lovelove
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมRungtiwaWongchai
 
คอมม
คอมมคอมม
คอมมpropsets
 
2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwaRungtiwaWongchai
 
พฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรมวัยรุ่นพฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรมวัยรุ่นJxyJxy
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finallyRungtiwaWongchai
 
2562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-082562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-08ssuser8f71e9
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNapatcha Jeno
 
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งแบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งJah Jadeite
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วdaranpornkotkaew
 

Similar to genius and autism (20)

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
The Deep work
The Deep workThe Deep work
The Deep work
 
2562 final-project 06
2562 final-project 062562 final-project 06
2562 final-project 06
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
คอมม
คอมมคอมม
คอมม
 
2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa
 
พฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรมวัยรุ่นพฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรมวัยรุ่น
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-082562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-08
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งแบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
At1
At1At1
At1
 

genius and autism

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน อัจฉริยะกับออทิสติก ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.พิมพ์ชนก นาคะเกตุ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.น.ส.พิมพ์ชนก นาคะเกตุ เลขที่ 20 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อัจฉริยะกับออทิสติก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) genius and autism ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมพ์ชนก นาคะเกตุ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในสังคมปัจจุบันมีบุคคลหลายประเภทหนึ่งในนั้นมีบุคคลประเภทหนึ่งที่ยังไม่ได้รับความเอาใจใส่มาอย่า ที่ควรก็คือ คนที่มีภาวะของโรตออทิสติก สาหรับบุคคลออทิสติก จากสถิติพบว่ามีเกือบร้อยละ 10 ที่มีความเป็น อัจฉริยะอยู่ในตัว เรียกกลุ่มนี้ว่า “ออทิสติก ซาวองก์” (Autistic Savant) อาจเป็นความอัจฉริยะเฉพาะด้าน หรือหลายๆ ด้านพร้อมกัน อาจเป็นอัจฉริยะในศาสตร์สาขาต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ดนตรี ฯลฯ บางคนอาจแสดงออกมาให้เห็นชัดเจนตั้งแต่เด็ก บางคนก็รอ จังหวะเวลาและโอกาสในการแสดงออก และในขณะเดียวกัน หลายๆ คนไม่มีแม้แต่โอกาสด้วยซ้า แต่เมื่อถูกระบุ ว่าเป็นออทิสติกแล้ว บางครั้งความเป็นอัจฉริยะ จะถูกมองข้ามไป ไม่สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เนื่องจากเราไปให้ความสาคัญกับความผิดปกติมากกว่าความเป็นอัจฉริยะ ไปมุ่งเน้นการแก้ไขความผิดปกติ จน ลืมส่งเสริมความเป็นอัจฉริยะ เมื่อเราทราบว่าเด็กออทิสติกแต่ละคนมีระบบ วิธีคิด มีความสนใจ หรือมีพรสวรรค์ แบบไหนแล้ว ก็จะสามารถหาวิธีการส่งเสริมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความสามารถ และความบกพร่องที่เด็กมีได้ ไม่ยาก
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคออทิสติกและความอัจฉริยะ 2.สนับสนุนให้ทุกคนตระหนักถึงบุคคลที่เป็นโรคนี้และส่งเสริมความเป็นอัจฉริยะของแต่ละคนได้อย่าง เหมาะสม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาอาการของโรค ระบบทางความคิด วิธีการคิด และวิธีส่งเสริมผู้ที่เป็นโรคออทิสติกอย่างเหมาะสม หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความเชื่อมโยงระหว่างความเป็นอัจฉริยะ กับความผิดปกติ มักมีตัวอย่างให้เห็นมากมาย จนในบางครั้ง แยกจากกันไม่ออก “เส้นแบ่งระหว่างความเป็นอัจฉริยะ กับความผิดปกติ อยู่ตรงไหน” อาจเป็นคาถามที่ตอบ ยาก และในบางครั้งอาจไม่มีคาตอบ สาหรับบุคคลออทิสติก จากสถิติพบว่ามีเกือบร้อยละ 10 ที่มีความเป็นอัจฉริยะอยู่ในตัว เรียกกลุ่มนี้ว่า “ออทิสติก ซาวองก์” (Autistic Savant) อาจเป็นความอัจฉริยะเฉพาะด้าน หรือหลายๆ ด้านพร้อมกัน อาจเป็น อัจฉริยะในศาสตร์สาขาต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ดนตรี ฯลฯ บางคนอาจแสดงออกมาให้เห็นชัดเจนตั้งแต่เด็ก บางคนก็รอจังหวะเวลาและโอกาสในการแสดงออก และในขณะเดียวกัน หลายๆ คนไม่มีแม้แต่โอกาสด้วยซ้า แต่เมื่อถูกระบุว่าเป็นออทิสติกแล้ว บางครั้งความเป็นอัจฉริยะ จะถูกมองข้ามไป ไม่สามารถนามาใช้ให้ เกิดประโยชน์ได้ เนื่องจากเราไปให้ความสาคัญกับความผิดปกติมากกว่าความเป็นอัจฉริยะ ไปมุ่งเน้นการแก้ไข ความผิดปกติ จนลืมส่งเสริมความเป็นอัจฉริยะ เมื่อเด็กออทิสติกได้รับการแก้ไขความบกพร่อง สิ่งหนึ่งที่มักจะถูกแนะนาให้แก้ไขด้วย คือการลดความ หมกมุ่นในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งที่มากเกินไป ซึ่งก็เป็นสิ่งที่ถูกต้องตามแนวทางการรักษาในปัจจุบัน แต่ใน บางครั้ง ความหมกมุ่นในบางเรื่อง นามาซึ่งความรู้จริง ความรอบรู้ในเรื่องนั้นๆ ได้เช่นกัน รายการเกมโชว์ทางทีวี “แฟนพันธุ์แท้” เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่า เมื่อคนเรามีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้ในเรื่องนั้นอย่างสม่าเสมอ และต่อเนื่อง ก็จะเป็นผู้รอบรู้ในเรื่องนั้นได้ ดังนั้นแนวทางการแก้ไขความหมกมุ่น ไม่ใช่การห้าม งดทา หรือเบี่ยงเบนเท่านั้น แต่ควรเน้นการขยาย ขอบเขตความสนใจในเรื่องเดิมให้กว้างขึ้น ให้มีมิติ มุมมองใหม่ๆ เพิ่มขึ้น ก็สามารถช่วยลดความหมกมุ่น โดยไม่ ปิดกั้นความสนใจได้เช่นกัน
  • 4. 4 เด็กบางคนไม่ได้รับอนุญาตให้เล่นคอมพิวเตอร์ เนื่องจากทาให้เกิดความหมกมุ่น และไม่ช่วยส่งเสริมใน ด้านทักษะสังคม ซึ่งบางครั้งการปฏิบัติเช่นนี้อาจไปทาลายโอกาส ทาลายสิ่งที่มีความหมายสาคัญที่สุดในชีวิตของ เขาก็ได้ เพราะเมื่อพวกเขาโตขึ้น สิ่งที่ทาให้ชีวิตมีคุณค่า และมีความหมาย คือการได้ทางานที่ตอบสนองต่อความ พึงพอใจ และความสามารถทางสติปัญญาของเขาเอง “เด็กอัจฉริยะที่เป็นออทิสติก กับ เด็กออทิสติกที่เป็นอัจฉริยะ อะไรคือความแตกต่าง” เป็นคาถามที่อาจ ทาให้เกิดความสงสัยว่าถามทาไม เนื่องจากไม่มีความแตกต่างอะไรในสิ่งที่เห็น เพียงแค่เรียกสลับตาแหน่งกัน เท่านั้น แต่สิ่งที่แตกต่าง คือ แตกต่างในความรู้สึก ความรู้สึกที่จะนามาซึ่งการยอมรับหรือการปฏิเสธ การให้ โอกาส หรือการปิดโอกาส ความรู้สึกที่สามารถเปลี่ยนอนาคตของเด็กได้ทั้งชีวิต ในปัจจุบันเรามักเรียกเด็กกลุ่มนี้ว่า “เด็กออทิสติกที่เป็นอัจฉริยะ” ซึ่งแสดงให้เห็นถึงลาดับความสาคัญที่ ให้กับความผิดปกติ ความบกพร่อง ก่อนความสามารถในระดับอัจฉริยะที่เด็กมี เมื่อเด็กถูกมองว่าผิดปกติ เขาก็ อาจขาดโอกาสในการพัฒนาที่เด็กอัจฉริยะควรจะได้รับ เพราะสิ่งที่เขามีถูกบดบังและมองข้ามไป ในทางกลับกัน ถ้าเขาถูกเรียกว่า “เด็กอัจฉริยะ ที่เป็นออทิสติก” อาจสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นได้ เนื่องจากทุกคนจะเห็นความสามารถในระดับอัจฉริยะของเขาก่อน การยอมรับก็เกิดขึ้น โอกาสที่เขาจะได้เรียนรู้ และพัฒนาก็เพิ่มขึ้น ส่วนความผิดปกติที่มีก็ได้รับการแก้ไข บนฐานความคิดที่ว่า “แก้ไขเพื่อดึงความสามารถที่มี อยู่ออกมาใช้ให้เต็มที่ เต็มตามศักยภาพ ไม่ใช่แก้ไขเพื่อลดความผิดปกติเท่านั้น” และผลพลอยได้อีกอย่างหนึ่งที่ สาคัญ คือ เมื่อได้รับการยอมรับในสังคมแล้ว โอกาสที่จะพัฒนาทักษะด้านสังคมก็เพิ่มขึ้นด้วย เนื่องจากพวกเขา ไม่ต้องเป็นฝ่ายที่ปรับตัวเข้าหาสังคมเพียงด้านเดียว แต่สังคมก็พยายามปรับตัวเข้าหาพวกเขาด้วยเช่นกัน เป็น การพบกันครึ่งทาง สาหรับระบบ วิธีคิด ในเด็กอัจฉริยะที่เป็นออทิสติก แยกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มที่คิดด้วยภาพ (visual thinker) กับกลุ่มที่คิดโดยไม่ใช้ภาพ (music, math and memory thinker) กลุ่มที่คิดด้วยภาพ (visual thinker) เมื่อเขาคิดถึง สุนัข ก็จะมีภาพของสุนัขประเภทต่างๆ ในอิริยาบถต่างๆ อยู่ ในหัว รู้ว่าสุนัขแต่ละตัวมีอะไรที่เหมือนกัน และมีความแตกต่างจากแมวอย่างไร จากนั้นก็จะค่อยๆสร้างภาพ เฉพาะของสุนัขเป็นความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสุนัข หรือที่เรียกว่า การคิดแบบอุปนัย (bottom up thinking) ในทางตรงกันข้าม กลุ่มที่คิดโดยไม่ใช้ภาพ (music, math and memory thinker) จะเริ่มคิดจากลักษณะ ทั่วไปที่เหมือนกันของสุนัข แล้วค่อยแตกย่อยเป็นลักษณะเฉพาะของสุนัขแต่ละสายพันธุ์ หรือที่เรียกว่า การคิด แบบนิรนัย (top down thinking) เมื่อเราทราบว่าเด็กออทิสติกมีระบบ วิธีคิด แบบไหนแล้ว ก็จะสามารถหาวิธีการส่งเสริมการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับความสามารถ และความบกพร่องที่เด็กมีได้ไม่ยาก
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคและความอัจฉริยะทีแฝงมาในโรค 2.ทาความเข้าใจและเชื่อมโยงในเรื่องอัจฉริยะกับออทิสติก 3.นาข้อมูลที่ได้มาประมวลผลและหาวิธ๊การที่จะส่งเสริมคนที่เป็นโรคออทิสติกได้อย่างเหมาะสม 4.สรุปผลและเผยแพร่ข้อมูล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.internet 2.computer งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 6. 6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับความเป็นอัจฉริยะในผู้ที่มีอาการออทิสติก 2.เข้าใจผูที่มีอาการออทิสติกมากขึ้น 3.สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กออทิสติกแต่ละคนได้อย่างเหมาะสม สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) “อัจฉริยะกับออทิสติก นพ.ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา:https://www.happyhomeclinic.com/au24-autistic%20and%20talented.htm(13 พฤศจิกายน2562) “เด็กออทิสติก เป็นอัจฉริยะจริงหรือ?” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: https://www.thaihealth.or.th/Content/.html(13พฤศจิกายน2562)