SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
1
เซต
นิยามและความเขาใจทั่วไปความเทากันของเซตสับเซตOperationของเซต
เพาเวอรเซต
คอมพลีเมนต
ยูเนียน
อินเตอรเซกชัน
ผลตาง
แผนภาพเวนนและออยเลอร
โจทยปญหาเกี่ยวกับเซต
2
1. นิยามและความเขาใจทั่วไปในเรื่องเซต
เซต คือกลุมของขอมูลที่เราใหความสนใจหรือเปนไปตามเงื่อนไขที่กําหนด เราเรียกขอมูล
เหลานั้นวาสมาชิกของเซต โดยเราจะใชเครื่องหมาย { , } ,∈และ∉ มาชวยในการเขียนและ
อธิบายเกี่ยวกับสมาชิกของเซตนั้นๆเชน
ถา A เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 5 – กลุมของขอมูลที่เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา
5 หรือสมาชิกของเซต A ไดแก 1,2,3,4 จะเห็นไดวา 2 เปนสมาชิกของเซต A, 3 เปนสมาชิกของ
เซต A ในขณะที่ -1 ไมเปนสมาชิกของเซต A สามารถแทนเซต A ไดดังนี้
A = { 1,2,3,4} หรือสามารถเขียนสลับสมาชิกของเซต A กอนหลังได
ทั้งสิ้นดังนี้ A = { 2,1,3,4}หรือ A = { 2,1,4,3}หรือ A = { 1,2,4,3}หรือ
A = { 4,1,2,3} เปนตน , 2∈A , 3∈A และ -1 ∉A
1.1 การเขียนเซต – มี 2 วิธี ดังนี้
การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก คือการเขียนเซตโดยการเขียนสมาชิกของเซตนั้นแตละตัวลง
ในเครื่องหมายวงเล็บปกกา({ }) และใชเครื่องหมายจุลภาค(,) คั่น เชน
A={ 1,2,3,4,5,6}
B={ …,-2,-1,0,1,2,…}
C={ มวง,คราม,น้ําเงิน,เขียว,เหลือง,แสด,แดง}
SET
3
การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข คือการเขียนเซตโดยใชตัวแปรแทนสมาชิกของเซตและมีการ
กําหนดประเภทของตัวแปร แลวจึงมีการบอกเงื่อนไขของสมาชิกที่อยูในรูปของตัวแปร เชน
A={ x∈I | 0 < x < 10}
B={ x∈R | 3 ≤ x < 100}
C={ x∈Q | 2
3 1 0x x− + = }
หมายเหตุ : I เปนเซตของจํานวนเต็ม
I +
เปนเซตของจํานวนเต็มบวก
I −
เปนเซตของจํานวนเต็มลบ
R เปนเซตของจํานวนจริง
Q เปนเซตของจํานวนตรรกยะ
N เปนเซตของจํานวนนับ
P เปนเซตของจํานวนเฉพาะ
แบบฝกหัด
1. เขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
1.1 A เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งมากกวา 0 แตนอยกวา 10
A=
1.2 B เปนเซตของจํานวนนับซึ่งนอยกวา 5
B=
1.3 C เปนเซตของจํานวนเต็มบวกซึ่งมากกวา 100
C=
1.4 D เปนเซตของจํานวนเต็มคู
D=
4
1.5 E เปนเซตคําตอบของสมการ 2
4 3 0x x− + =
E=
1.6 F เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งเปนคําตอบของสมการ 2
2 3 0x x− − =
F=
2. เขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
2.1 A เปนเซตของจํานวนจริงซึ่งมากกวา 0 แตนอยกวา 7
A=
2.2 B เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งมากกวา 0 แตนอยกวา 7
B=
2.3 C เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งนอยกวา 1,000
C=
2.4 D เปนเซตของจํานวนเต็มบวกซึ่งมากกวา 10
D=
2.5 E เปนเซตของจํานวนนับซึ่งมากกวา 1 แตนอยกวาหรือเทากับ 52
E=
2.6 F เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งเปนคําตอบของสมการ 2
10 25 0x x− + =
F=
3. เขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
3.1 A={ x∈I | 1 < x < 6}
A=
5
3.2 B={ x∈N | x >12}
B=
3.3 C={ x∈I | 2
25x = }
C=
3.4 D={ x∈N | 2
25x = }
D=
4. เขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
4.1 A = { 1,2,3,4,5,6,7}
A =
4.2 B = { 0,1,2,3,4,5,6,7}
B =
4.3 C = { 10,11,12,13,…}
C =
4.4 D = { 1,2,3,…,98,99,100}
D =
4.5 E =
1 2 3 4
, , , ,...
2 3 4 5
{ }
E =
4.6 F = { 5,10,15,20,25,…}
F =
6
1.2 ประเภทของเซต – เซตสามารถแบงเปน 2 ประเภทตามจํานวนสมาชิกของเซต
1. เซตจํากัด คือเซตซึ่งสามารถบอกจํานวนสมาชิกไดแนนอนวามีจํานวนเทาไร เชน
A={ 1,2,3,4,5} มีจํานวนสมาชิก 5 ตัว
B={ 1,2,3,…,100}มีจํานวนสมาชิก 100 ตัว
C= 2
| 100x I x{ ∈ = } มีจํานวนสมาชิก 2 ตัว
D= | 1x R x x{ ∈ = + } มีจํานวนสมาชิก 0 ตัว
2. เซตอนันต คือเซตซึ่งไมสามารถบอกจํานวนสมาชิกที่แนนอนของเซตนั้นได เชน
A={ 1,2,3,…}
B={ …,-2,-1,0,1,2,…}
C= 2
| 0x R x{ ∈ ≠ }
แบบฝกหัด
จงบอกวาเซตตอไปนี้เปนเซตจํากัดหรือเซตอนันต
1. A={ 1,2,3,4,5}
7
2. B={ 0,1,2,…}
3. C={ 0}
4. D={ }
5. E= | 4x I x{ ∈ > }
6. F= | 0 10x N x{ ∈ < < }
7. G= | 0 10x R x{ ∈ < < }
8. H={ …,-3,-2,-1,…}
9. I= 2
| 8 16 0x I x x{ ∈ + + = }
10. J={ 0,1,2,…,20}
11. K= 2
| 3x N x{ ∈ = − }
12. L= |x P x{ ∈ <10}
2. ความเทากันของเซต
เซต A เทากับเซต B เมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B และสมาชิก
ทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A ใชสัญลักษณ A=B
8
เซต A ไมเทากับเซต B เมื่อ มีสมาชิกบางตัวของเซต A ไมเปนสมาชิกของเซต B หรือ
มีสมาชิกบางตัวของเซต B ไมเปนสมาชิกของเซตA ใชสัญลักษณ A≠B
เซต A เทียบเทาเซต B ก็ตอเมื่อ จํานวนสมาชิกของเซต A เทากับจํานวนสมาชิกของ
เซต B
[ ] [ ] [ ]
[ ] [ ] [ ]
A B x A x B x B x A
A B x A x B x B x A
⎡ ⎤= ↔ ∀ ∈ ∈ ∧∀ ∈ ∈⎣ ⎦
⎡ ⎤≠ ↔ ∃ ∈ ∉ ∨ ∃ ∈ ∉⎣ ⎦
A เทียบเทาเซต B [ ]( ) ( )n A n B↔ =
ตัวอยางเชน
1. A={ 1,2,3,4,5,6,7} , B={ 1,3,2,4,6,5,7}จะไดวา
A=B เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกที่อยูใน B และสมาชิกทุกตัวของ B เปนสมาชิก
ใน A
2. A={ 1,2,3,4,5,6,7} , B={ 1,2,3,4,5,6,7,8} จะไดวา
A≠B เพราะวา 8 เปนสมาชิกใน B แตไมเปนสมาชิกใน A
3. A={ 1,2,3,4,5,6,7} , B={ 10,20,30,40,50,60,70} จะไดวา
A เทียบเทา B เพราะวาทั้ง A และ B มีจํานวนสมาชิกเทากันคือมีสมาชิก 7 ตัว
4. A={ 2,3,4,5}, B= |1x I x{ ∈ < < 6}ทําการแจกแจงสมาชิกของเซต B
ที่เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 แตนอยกวา 6 ไดเปน B={ 2,3,4,5}เพราะฉะนั้น A=B
5. A= { -5,3,3} , B= 2
| 2 15 0x I x x{ ∈ + − = } เซต A เขียนสมาชิก 3
ซ้ํากัน เซต A={ -5,3} และจากเซต B ทําการแกสมการหาคา x ที่เปนจํานวนเต็มและ
สอดคลองกับสมการ 2
2 15 0x x+ − = ดังนี้
2
2 15 0
( 5)( 3) 0
5,3
x x
x x
x
+ − =
+ − =
= −
เซต B={ -5,3} A B∴ =
6. A={ x|x เปนจํานวนเฉพาะที่นอยกวา 10}
B= |10 13x I x{ ∈ ≤ ≤ }
9
เขียนเซต A และ B แบบแจกแจงสมาชิกไดดังนี้
A={ 2,3,5,7} , B={ 10,11,12,13} เนื่องจากทั้ง A และ B มีสมาชิกเทากันคือ 4
ตัว ∴A เทียบเทา B
ขอสังเกต : ถา A=B แลว A เทียบเทา B ดวย
ถา A เทียบเทา B แลว A ไมจําเปนตองเทากับ B
แบบฝกหัด
1. เซตตอไปนี้เทากันหรือไม
1.1 A = { -4,8}
B = 2
| 4 32 0x I x x{ ∈ − − = }
1.2 A = | 6x I x{ ∈ < <10}
B = { 6,7,8,9}
1.3 A = |x N x{ ∈ < 6}
B = |x I x{ ∈ < 6}
1.4 A = |x P x{ ∈ < 5}
B = 2
| 5 6 0x I x x{ ∈ − + = }
10
1.5 A = 2
| 144x I x{ ∈ = }
B = 2
| 24 144 0x I x x{ ∈ + + = }
1.6 A = 2
| 25x I x+
{ ∈ = }
B = 2
| 10 25 0x I x x{ ∈ − + = }
1.7 A = 2
| 0x I x{ ∈ = }
B = | 7x I x{ ∈ = − }
1.8 A = {x|x เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา -3}
B = 2
| 3 2 0x I x x{ ∈ + + = }
2. เซตตอไปนี้เซตใดเทากันหรือเทียบเทากัน
2.1 A = {2,6,−1}
B = {−1,6,2}
C = {2,6,0}
2.2 A = {1,6,2}
B = {2,3,9}
C = {0,7,−1}
11
2.3 A =
2
| 12 0x I x x{ ∈ − − = }
B = 2
| 25x I x{ ∈ = }
C = | ( 5)( 5) 0x I x x{ ∈ − + = }
2.4 A =
2
| 3 18 0x I x x{ ∈ + − = }
B = 2
| 6 9 0x I x x{ ∈ − + = }
C = | 0 1x I x{ ∈ ≤ ≤ }
2.5 A = | 10x P x{ ∈ < }
B = | ( 2)( 3)( 5)( 7) 0x I x x x x{ ∈ − − − − = }
C = 2
| 2x I x n{ ∈ = โดยที่ n เปนจํานวนนับ}
2.6 A = |x x{ เปนจํานวนเต็มคูระหวาง 2 ถึง 10}
B = |x x{ เปนจํานวนเต็มคี่ระหวาง 1 ถึง 9}
C = 2
| ( 10 24)( 8) 0x I x x x{ ∈ − + − = }
12
3. แผนภาพเวนนและออยเลอร
เอกภพสัมพันธ คือ เซตซึ่งกําหนดขอบเขตที่จะศึกษา ในการศึกษาเรื่องเซตจะไมศึกษา
สมาชิกของเซตซึ่งอยูนอกเอกภพสัมพัทธ เราใชสัญลักษณ แทนเอกภพสัมพัทธ
ตัวอยาง
1. หาสมาชิกของ A = 2
| 2 15 0x x x{ + − = } เมื่อ คือเซตของจํานวนเต็ม
2
2 15 0
( 3)(2 5) 0
x x
x x
+ − =
+ − =
x+3 = 0 หรือ 2x-5 = 0
x = -3 x=
5
2
3A∴ = {− }
2. หาเอกภพสัมพัทธเมื่อ A = 2
| 100 0x x{ − = } มีสมาชิกคือ 10
2
100 0
( 10)( 10) 0
x
x x
− =
+ − =
x+10 = 0 หรือ x-10 = 0
x = 10 x = -10
∴ คือ เซตของจํานวนเต็มบวก
13
แบบฝกหัด
1. เขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิกตามเอกภพสัมพัทธที่กําหนด
1.1 A = | 2 2x x{ − ≤ ≤ } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็ม
1.2 B = | 2 2x x{ − ≤ ≤ } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็มบวก
1.3 C = | 1x x x{ + ≠ } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็ม
1.4 D = 2
| 10x x{ = − } เมื่อ เปนเซตของจํานวนจริง
1.5 E = 2
| 4 21 0x x x{ − − = } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็ม
1.6 F = 2
| 5 6 0x x x{ − − = } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็มลบ
1.7 G = 2
| 6 9 0x x x{ + + = } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็มบวก
1.8 H = |1x x{ < <10} เมื่อ เปนเซตของจํานวนประกอบ
14
2. หาเอกภพสัมพัทธของเซตตอไปนี้
2.1 A = | 1 1x x{ − ≤ ≤ } สมาชิก คือ -1,0,1
2.2 B = | 1 1x x{ − ≤ ≤ } สมาชิก คือ 0,1
2.3 C = |x x{ < 0} ไมมีสมาชิก
2.4 D = | 0x x{ ≥ } เปนเซตอนันต
2.5 E = 2
| 2 15 0x x x{ − − = } สมาชิก คือ -3,5
2.6 F = 2
| 2 15 0x x x{ − − = } สมาชิก คือ -3
2.7 G = 2
| 6 7 5 0x x x{ − − = } ไมมีสมาชิก
2.8 H = | 0x x{ < < 2} เปนเซตอนันต
15
แผนภาพเวนนและออยเลอร คือ แผนภาพซึ่งสรางขึ้นเพื่อแสดงขอบเขตและความสัมพันธ
ของเซต ทั้งนี้นิยมสรางแผนภาพโดยใชรูปสี่เหลี่ยมผืนผาแทนเอกภพสัมพัทธและวงกลมแทนเซต
ใดๆ สามารถสรางแผนภาพแสดงความสัมพันธของเซต ดังนี้
1. เซต A และเซต B ไมมีสมาชิกรวมกัน สรางแผนภาพโดยวงกลมซึ่งแทนเซต A และ
เซต B ไมมีพื้นที่ทับซอนกัน เชน
A = 3,2{ } , B = ,7{−1 } เซตทั้งสองไมมีสมาชิกรวมกัน
2. เซต A และเซต B มีสมาชิกรวมกันบางสวน สรางแผนภาพโดยวงกลมซึ่งแทนเซต A
และเซต B มีพื้นที่บางสวนทับซอนกัน เชน
A = , 1,4{0 − } , B = ,6,9{4 } เซตทั้งสองมีสมาชิกรวมกัน คือ 4
3,2 -1,7A B
0,-1 6,94A B
16
3. เซต A มีสมาชิกทุกตัวอยูในเซต B สรางแผนภาพโดยวงกลมซึ่งแทนเซต A มีขนาดเล็ก
อยูภายในวงกลมซึ่งแทนเซต B มีขนาดใหญ เชน
A = ,1{7 } , B = ,7,1,6, 2{0 − }
4. เซต A เทากับเซต B สรางแผนภาพโดยวงกลมซึ่งแทนเซต A และเซต B มีขนาด
เทากันและซอนทับกัน เชน
A = ,1,8{−2 } B = ,1,8{−2 }
หมายเหตุ : สําหรับสมาชิกของเอกภพสัมพัทธซึ่งไมเปนสมาชิกของเซตใดๆ ใหเขียนสมาชิกนั้น
ในรูปสี่เหลี่ยมซึ่งไมอยูในวงกลม เชน
A
B
7,1
0
6
-2
-2
1 8
A B
A B7 9 1 -5
-4 0 6
17
A = ,9,1{7 } B = 1, 5{ − } สวน ,0,6{−4 }เปนสมาชิกของเอกภพ
สัมพัทธแตไมเปนสมาชิกของเซต A และเซต B
แบบฝกหัด
1. สรางแผนภาพแทนขอมูลตอไปนี้
1.1 =
{−9,−2,−1,0,5,6,7}
A = {−2,6,7}
B = {−9,7}
1.2 = {−7,−3,−2,−1,0,2,4,6}
A = {−3,2,6}
B = {−7,4}
1.3 = {−9,−3,0,1,4,7}
A = {−9,0,7}
B = {0,7,−9}
18
1.4 = {−9,4,1}
A = {−9,4}
B = {4,−9,1}
1.5 = {−7,−1,2,4,6}
A = {−7,2,4}
B = {4}
1.6 = {−4,−2,0,1,9}
A = {−4,−2,1,9}
B = {−2,0,1,9}
1.7 = {1,2,3,4,5,6,7,8,9}
A = {1,2,4,5}
B = {1,2,3,8}
C = {1,3,4,7}
19
1.8 = {−5,−4,2,3,7}
A = {2,7}
B = {−5,2,3}
C = {−4,2,3}
1.9 = {−9,−4,−3,0,1,2,6,7,9}
A = {0,1,9}
B = {−3,0,6}
C = {2,7}
1.10 = {−6,−4,−1,2,4,5,6}
A = {2}
B = {−4,2,6}
C = {−6,−4,2,4,6}
20
1.11 = {−9,−1,1,2,4,5,7}
A = {1}
B = {−9,2,4}
C = {1,2,7}
1.12 = {−7,−6,−4,2,4,5,9}
A = {2,5}
B = {−6,2,4,5}
C = {−7,2,9}
2. เขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิกและสรางแผนภาพ
2.1 = | 4 6x I x{ ∈ − ≤ ≤ }
A = 2
| 5 6 0x x x{ − − = }
B = |x x{ = 4}
21
2.2 = | 3 6x I x{ ∈ − < < }
A = 2
| 25x x{ = }
B = 2
| 8 15 0x x x{ − + = }
2.3 = | 3 5x I x{ ∈ − ≤ ≤ }
A = 2
| 6 0x x x{ + − = }
B = 2
| 7 10 0x x x{ − + = }
2.4 = | 2 5x I x{ ∈ − ≤ ≤ }
A = 2
| 25x x{ = }
B = 2
| ( 4)( 5) 0x x x{ − − = }
22
2.5 = | 0 6x I x{ ∈ < < }
A = 3 2
| 4 4 16 0x x x x{ − − + = }
B = 3 2
| 11 40 48 0x x x x{ − + − = }
C = 3 2
| 4 4 0x x x x{ − − + = }
2.6 =
| 0 6x I x{ ∈ < < }
A = 3 2
| 8 17 10 0x x x x{ − + − = }
B = | 3x x{ = }
C = 2
| 4 3 0x x x{ − + = }
23
4. สับเซต
สับเซต คือเซตซึ่งสมาชิกทุกตัวของเซตนั้นเปนสมาชิกของเซตอีกเซตหนึ่ง หรืออาจกลาววา
เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B ใช
สัญลักษณ A ⊂ B แทน เซต A เปนสับเซตของเซต B
ในกรณีตรงขามกัน เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกบางตัวของเซต A ไม
เปนสมาชิกของเซต B ใชสัญลักษณ A ⊄ B แทน เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B
[ ] [ ]
[ ] [ ]
A B x A x B
A B x A x B
⎡ ⎤⊂ ↔ ∀ ∈ ∈⎣ ⎦
⎡ ⎤⊄ ↔ ∃ ∈ ∉⎣ ⎦
สมบัติของสับเซต :
1. เซตวางเปนสับเซตของทุกเซต
2. เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวมันเอง
3. เซตทุกเซตเปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ
4. ถา A ⊂ B และ B ⊂ A แลว A = B
5. ถา A = B แลว A ⊂ B และ B ⊂ A
6. A เปนสับเซตแทของ B เมื่อ A ⊂ B แต B ⊄ A
7. A เปนสับเซตไมแทของ B เมื่อ A ⊂ B และ B ⊂ A หรือ A = B
8. ถา A มีสมาชิก n ตัว แลว A มี 2n
สับเซต
9. ถา A มีสมาชิก n ตัว แลว A มีสับเซตแท 2 1n
− สับเซต
10. ถา A ⊂ B และ B ⊂ C แลว A ⊂ C
11. เซตวางมีสับเซตเพียง 1 สับเซตคือ เซตวาง
24
แบบฝกหัด
1. หาสับเซตทั้งหมดของเซตตอไปนี้
1.1 {3,1}
1.2 {−4,2,0}
1.3 {−6,−1,7,9}
1.4 ∅
1.5 {4,{9}}
1.6 {{7},{0}}
25
2. จงพิสูจนวาเซต A เปนสับเซตของเซต B เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็ม และ
A = 2
| 12 36 0x x x{ − + = }
B = | 5 8x x{ ≤ ≤ }
3. จงพิสูจนวาเซต A เปนสับเซตไมแทของเซต B เมื่อ
A = | 9x x{ = }
B = 2
| 81 0x x{ − = }
5. เพาเวอรเซต
เพาเวอรเซต คือ เซตของสับเซตทั้งหมดของเซตใดๆ เพาเวอรเซตของเซต A ใชสัญลักษณ
P(A)
P(A) = |x x A{ ⊂ }
26
ตัวอยาง เชน
1. ถา A = {0,3,−7} จงหา P(A)
n(A) = 3 จะได n(P(A)) =
3
2
P(A) = {{0},{3},{−7},{0,3},{0,−7},{3,−7},{0,3,−7},∅}
2. ถา A = {−5,{4},{−5,4}} จงหา P(A)
n(A) = 3 จะได n(P(A)) =
3
2
P(A) =
{{−5},{{4}},{{−5,4}},{−5,{4}},{−5,{−5,4}},{{4},{−5,4}},
{−5,{4},{−5,4}},∅}
สมบัติของเพาเวอรเซต :
1. P(A) ≠ ∅ เมื่อ A เปนเซตใดๆ
2. A ∈P(A) เมื่อ A เปนเซตใดๆ
3. ( )P A∅∈ เมื่อ A เปนเซตใดๆ
4. ถา A มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n
ตัว
5. A ⊂ B ก็ตอเมื่อ P(A) ⊂ P(B)
6. ถา A เปนเซตอนันต แลว P(A) เปนเซตอนันตดวย
แบบฝกหัด
1. หาเพาเวอรเซตของเซตตอไปนี้
1.1 A = {9}
1.2 B = {−6,3}
27
1.3 C = {9,0,−2}
1.4 D = {−7,−1,1,7}
1.5 E = ∅
1.6 F = {3,{7}}
1.7 G = {{0},{4,−1}}
1.8 H = {2,{1,4},{4}}
28
6. การกระทํา(Operation) ของเซต
การกระทําทางเซต คือ การสรางเซตใหมจากเซตที่กําหนด การกระทําทางเซตมี 4 ชนิด คือ
ยูเนียน อินเตอรเซกชัน ผลตางและคอมพลีเมนต
6.1 ยูเนียน
ยูเนียน คือ การกระทําทางเซตซึ่งทําใหเกิดเซตใหมซึ่งมีสมาชิกเปนสมาชิกทั้งหมดของเซตซึ่ง
นํามายูเนียนกัน ใชสัญลักษณ A∪ B แทนเซต A ยูเนียนกับเซต B
A∪ B = |x x A{ ∈ หรือ x B∈ }
สามารถเขียนแผนภาพแทนการยูเนียนของเซต A และเซต B ไดดังนี้
กรณีที่ 1 –เซต A และเซต B มีสมาชิกรวมกันบางสวน A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
กรณีที่ 2 – เซต A เปนสับเซตของเซต B A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
A B
A
B
29
กรณีที่ 3 – เซต B เปนสับเซตของเซต A A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
กรณีที่ 4 – เซต A เทากับเซต B A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
กรณีที่ 5- เซต A ไมมีสมาชิกรวมกับเซต B A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
ตัวอยาง เชน
1. A = {2,6,9,10} , B = {1,5,6,8,9} , C = {3,5,7}
จงหา A∪ B , A∪ C และ B∪ C
A∪ B = {1,2,5,6,8,9,10}
A∪ C = {2,3,5,6,7,9,10}
B∪ C = {1,3,5,6,7,8,9}
B
A
BA
BA
30
2. = |x x{ เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 10}, A = {1,2,6,9}
B = {2,8,9} จงสรางแผนภาพของ A∪ B
A∪ B = {1,2,6,8,9}
สมบัติของยูเนียน :
1. A∪ B = B∪ A
2. (A∪ B)∪ C = A∪ (B∪ C)
3. A∪ A = A
4. A∪∅ = A
5. A∪ =
6. ถา A∪ B=∅ แลว A = ∅ และ B = ∅
7. ถา A ⊂ B แลว A∪ B = B
8. A ⊂ A∪ B และ B ⊂ A∪ B
แบบฝกหัด
1. ให A = {0,2,5,6}, B = {1,2,6,8}, C = {2,4,6}จงเขียนเซตตอไปนี้
แบบแจกแจงสมาชิก
1.1 A∪ B
1.2 B∪ A
BA
31
1.3 A∪ C
1.4 B∪ C
1.5 A∪ A
1.6 C∪ C
1.7 (A∪ B)∪ C
1.8 A∪ (B∪ C)
2. หา A∪ B จากเซต A และเซต B ตอไปนี้
2.1 A = {2,3,6,10}
B = {2,6,8,12}
A∪ B =
2.2 A = {4,5,9}
B = {1,6,10}
A∪ B =
2.3 A = {2,3,6,10,12}
B = {3,6,12}
A∪ B =
32
2.4 A = {−4,0,2}
B = {−4,−3,0,1,2}
A∪ B =
2.5 A = {}
B = {−2,0,9,13}
A∪ B =
2.6 A = {−5,4,8,9}
B = {−5,4,8,9}
A∪ B =
2.7 A = {}
B = {}
A∪ B =
2.8 A = {−8,−1,0,4,5,...}
B = {−8,0,4,...}
A∪ B =
3. สรางแผนภาพของ A∪ B จากเซตที่กําหนด
3.1 = {0,1,2,3,4,5,6,7}
A = {1,2,3,7}
B = {4,6,7}
33
3.2 = {−6,−2,0,1,3,5,6,7}
A = {1,3,6}
B = {−2,0,7}
3.3 = {3,4,6,7,9}
A = {3,4,6}
B = {3,4,6}
3.4 = {−6,−2,0,1,3,5,7}
A = {−2,0,1,3}
B = {−6,1,5,7}
3.5 = {−6,−3,−1,2,4,9}
A = {2,9}
B = {−1,2,4,9}
34
3.6 = {−4,2,5,8,9}
A = {−4,2,5,8,9}
B = {8}
6.2 อินเตอรเซกชัน
อินเตอรเซกชัน คือ การกระทําทางเซตซึ่งทําใหเกิดเซตใหมซึ่งมีสมาชิกรวมกันของเซตซึ่ง
นํามาอินแตอรเซกชันกัน ใชสัญลักษณ A∩ B แทนเซต A อินเตอรเซกชัน B
A∩ B = |x x A{ ∈ และ x B∈ }
สามารถเขียนแผนภาพแทน A∩ B ไดดังนี้
กรณีที่ 1 –เซต A และเซต B มีสมาชิกรวมกันบางสวน A∩ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
A B
35
กรณีที่ 2 – เซต A เปนสับเซตของเซต B A∩ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
กรณีที่ 3 – เซต B เปนสับเซตของเซต A A∩ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
กรณีที่ 4 – เซต A เทากับเซต B A∩ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
กรณีที่ 5- เซต A ไมมีสมาชิกรวมกับเซต B A∩ B หมายถึงเซตวาง
A
B
B
A
BA
BA
36
ตัวอยาง เชน
1. A = {0,2,6,9} , B = {3,6,9,10}, C = {3,10,12} จงหา A∩ B ,
A∩ C และ B∩ C
A∩ B = {6,9}
A∩ C = {}
B∩ C = {3,10}
2. = |x I x{ ∈ มากกวาหรือเทากับ -4 แตนอยกวา 5}
A = | 4x x{ = } , B = 2
| 3 4 0x x x{ − − = }
จงสรางแผนภาพ A∩ B
สมบัติของอินเตอรเซกชัน :
1. A∩ B = B∩ A
2. (A∩ B)∩ C = A∩ (B∩ C)
3. A∩∅ = ∅
4. A∩ = A
5. A∩ A = A
6. ถา A ⊂ B แลว A∩ B = A
7. A∪ (B∩ C) = (A∪ B)∩ (A∪ C)
8. A∩ (B∪ C) = (A∩ B)∪ (A∩ C)
37
แบบฝกหัด
1. ให A = {2,3,7,9} , B = {3,5,7,9}, C = {2,5,9,10}
จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
1.1 A∩ B
1.2 B∩ A
1.3 B∩ C
1.4 A∩ C
1.5 A∩ A
1.6 C∩ C
1.7 (A∩ B)∩ C
1.8 A∩ (B∩ C)
2. หา A∩ B จากเซต A และเซต B ตอไปนี้
2.1 A = {2,3,5,8,10}
B = {3,7,8,11}
A∩ B =
38
2.2 A = {0,2,6}
B = {0,2,6,9}
A∩ B =
2.3 A = {−4,0,1,6}
B = {−4,0,6}
A∩ B =
2.4 A = {0,2,5,7}
B = {7,0,2,5}
A∩ B =
2.5 A = {2,8,10,11}
B = ∅
A∩ B =
2.6 A = {−2,0,1,6}
B = {−3,−1,4,5}
A∩ B =
2.7 A = ∅
B = {}
A∩ B =
2.8 A = {3,5,7,9,...}
B = {2,3,7,8}
A∩ B =
39
3. กําหนดให A = {3,6,8,9} , B = {1,3,5,8} , C = {2,3,9,10} จงหา
3.1 A∪ B
3.2 A∩ B
3.3 B∪ C
3.4 C∩ A
3.5 (A∪ B)∪ C
3.6 A∪ (B∩ C)
3.7 C∪ (A∩ B)
3.8 (B∪ C)∩ A
4. แรเงาแผนภาพตามที่กําหนด
4.1 (A∩ B)∩ C
A
B C
40
4.2 A∩ (B∩ C)
4.3 A∪ (B∩ C)
4.4 A∩ (B∪ C)
4.5 B∩ (A∪ C)
A
B C
A
B C
A
B C
A
B C
41
4.6 (B∪ C)∪ A
4.7 (A∩ B)∪ ( B∩ C)
4.8 (A∪ B)∩ ( B∪ C)
A
B C
A
B C
A
B C
42
5. หาคาของ A∩ B จากเซตที่กําหนด
5.1 A =
3
| 7 6 0x x x{ − + = } , B =
3 2
| 21 45 0x x x x{ + − − = }
5.2 A =
2
| 25 0x x{ − = } , B =
2
| 6 9 0x x x{ + + = }
5.3 A =
4 2
| 10 9 0x x x{ − + = } , B =
2
| 4 3 0x x x{ − + = }
5.4 A = | 2x x n{ = เมื่อ n เปนจํานวนนับ} ,
B =
3 2
| 12 44 48 0x x x x{ − + − = }
43
6.3 คอมพลีเมนต
คอมพลีเมนต คือการกระทําทางเซตซึ่งทําใหเกิดเซตใหม ซึ่งมีสมาชิกเปนสมาชิกของ แต
ไมเปนสมาชิกของเซตที่นํามาคอมพลีเมนต ใชสัญลักษณ A′ แทนคอมพลีเมนตของเซต A
A′ = |x x{ ∈ และ x A∉ }
สามารถเขียนแผนภาพแทนคอมพลีเมนตของเซต A ดังนี้
ตัวอยาง เชน
1. {2,3,6,7,9} , A = {3,7} , B = {2,3,6,9} จงหา
A′ และ B′
A′ = {2,6,9}
B′ = {7}
2. {−4,−3,−2,−1,0,1,2,3,4} , A = {−2,0,1,3} ,
B = {−4,−1,2,4}, C = {−2,−1,3,4} จงหา
A′ , B′ , C′ , A C′∪ และ ( )B C ′∩
A
44
A′= {−4,−3,−1,2,4}
B′= {−3,−2,0,1,3}
C′ = {−4,−3,0,1,2}
A C′∪ = {−4,−3,−2,−1,2,3,4}
B C∩ = {−1,4}
( )B C ′∩ = {−4,−3,−2,0,1,2,3}
3. = | 0x I x{ ∈ < <10}
A =
3 2
| 13 55 75 0x x x x{ − + − = } ,
B = 3 2
| 8 19 12 0x x x x{ − + − = }
จงหาคาของ ′ ′Α ∩ Β
แจกแจงสมาชิกของเซต , A และ B
= {1,2,3,4,5,6,7,8,9}
เซต A 3 2
13 55 75 0x x x− + − =
2
( 10 25)( 3) 0x x x− + − =
2
( 5) ( 3) 0x x− − =
3,5x =
∴Α ={3,5}
เซต B 3 2
8 19 12 0x x x− + − =
2
( 4 3)( 4) 0x x x− + − =
( 1)( 3)( 4) 0x x x− − − =
1,3,4x =
∴Β ={1,3,4}
′Α = {1,2,4,6,7,8,9}
B′= {2,5,6,7,8,9}
′ ′Α ∩ Β = {2,6,7,8,9}
สมบัติของคอมพลีเมนต :
1. ′ ′(Α ) = Α
2. ' = ∅
3. ′∅ =
45
4. A A′∪ =
5. A A′∩ = ∅
6. ( )A B A B′ ′ ′∩ = ∪
7. ( )A B A B′ ′ ′∪ = ∩
แบบฝกหัด
1. ให = {−3,−2,0,1,4,5} , A = {−2,0,4} , B = {−3,0,1,5},
C = {−2,0,1}
จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
1.1 ′Α
1.2 B′
1.3 C′
1.4 ′ ′(Α )
1.5 '
1.6 ′∅
2. ให = {−6,−4,−1,0,3,4,5} , A = {−6,−1,0,5} ,
B = {−4,−1,3,4} , C = {−6,0,3,5} จงหา
2.1 ′Α
2.2 Α ∪Β
2.3 CΑ ∩
46
2.4 B C′∪
2.5 )C ′(Α ∪
2.6 ′ ′Α ∩ Β
2.7 ( )B A′ ′∪
3. หาเซตตอไปนี้จากขอมูลที่กําหนดใหพรอมทั้งเขียนแผนภาพ
3.1 = | 0 8x I x{ ∈ ≤ ≤ }
A = 3 2
| 8 17 10 0x x x x{ − + − = }
หา ′Α
47
3.2 = | 5x x n{ = เมื่อ n เปนจํานวนนับ}
A = 2
| 25 150 0x x x{ − + = }
หา ′Α
3.3 = | 4 4x I x{ ∈ − ≤ ≤ }
A = | 2x x{ = }
B = 2
| 9x x{ = }
หา ( )A B ′∪
48
3.4 = | 2 5x I x{ ∈ − ≤ ≤ }
A = 3 2
| 2 3 0x x x x{ − − = }
B = 3 2
| 6 32 0x x x{ − + = }
หา A B′ ′∩
6.4 ผลตางระหวางเซต
ผลตางระหวางเซต คือการกระทําทางเซตซึ่งทําใหเกิดเซตใหมซึ่งมีสมาชิกเปนสมาชิกของ
เซตตัวตั้ง แตไมเปนสมาชิกของเซตตัวลบ ใชสัญลักษณ A-B แทนผลตางของเซต A และเซต
B
A −B = |x x A{ ∈ และ x B∉ }
สามารถเขียนแผนภาพแทนผลตางระหวางเซต A และเซต B ไดดังนี้
49
กรณีที่ 1 –เซต A และเซต B มีสมาชิกรวมกันบางสวน A −B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
กรณีที่ 2 – เซต A เปนสับเซตของเซต B A −B คือเซตวาง ไมมีสมาชิก
กรณีที่ 3 – เซต B เปนสับเซตของเซต A A −B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
กรณีที่ 4 – เซต A เทากับเซต B A −B คือเซตวาง ไมมีสมาชิก
A B
A
B
B
A
BA
50
กรณีที่ 5- เซต A ไมมีสมาชิกรวมกับเซต B A −B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้
ตัวอยาง เชน
1. A = {3,5,8,10} , B = {1,2,5,8} , C = {1,3,5,8,10} จงหา
A −B , B −A , A −C และ B −C
A −B = {3,10}
B −A = {1,2}
A −C = {}
B −C = {2}
2. =
| 3 3x I x{ ∈ − ≤ ≤ }
A =
4 2
| 9 0x x x{ − = } , B = 2
| 6 0x x x{ + − = }
จงสรางแผนภาพ A −B
สมบัติของผลตาง :
1. A −B = ∅ ก็ตอเมื่อ A⊂ B หรือ A = B
2. ถา A⊂ B แลว A −B = ∅
3. ถา A = B แลว A −B = ∅
BA
51
4. A B A B′− = ∩
5. A A−∅ =
6. A∅ − = ∅
7. ( ) ( ) ( )A B C A B A C− ∩ = − ∪ −
8. ( ) ( ) ( )A B C A B A C− ∪ = − ∩ −
9. ( ) ( ) ( )A B C A C B C∩ − = − ∩ −
10. ( ) ( ) ( )A B C A C B C∪ − = − ∪ −
11. A A′− =
แบบฝกหัด
1. ให A = {0,1,3,4,6,8} , B = {1,5,7,8} ,
C = {−1,0,3,6}
จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
1.1 A B−
1.2 B A−
1.3 A C−
1.4 C B−
1.5 A A−
1.6 B B−
1.7 ( )A B C− −
52
1.8 ( )B A C− −
2. หา A B− จากเซต A และเซต B ตอไปนี้
2.1 A = {0,1,3,4,6,9,10}
B = {0,2,3,5,8,9,10}
A-B =
2.2 A = {2,3,5,7}
B = {0,1,2,3,4,5,7}
A-B =
2.3 A = {−2,−1,0,1,2,3,5}
B = {−2,0,1,3}
A-B =
2.4 A = {−3,−4,0,1}
B = {0,−4,1,−3}
A-B =
2.5 A = {−1,0,3,6,8}
B = {−2,1,2,4,7}
A-B =
53
2.6 A = {2,4,6,8,...}
B = {2,4}
A-B =
3. กําหนดให A = {2,3,4,6,8} , B = {1,3,5,6,9} ,
C = {3,4,5,7,10} จงหา
3.1 A B−
3.2 A B∩
3.3 B A∪
3.4 C A−
3.5 ( )A B C− ∪
3.6 ( )C A C∩ −
3.7 ( ) ( )A B A C− ∪ −
3.8 ( ) ( )A B B C∩ − ∪
54
4. แรเงาภาพตามที่กําหนด
4.1 (A∪ B) C′−
4.2 ( )B A C′∩ −
4.3 ( )A B C′ − ∩
A
B C
A
B C
A
B C
55
4.4 ( )A B A′− ∪
4.5 ( ) ( )A B A C′∩ − ∩
4.6 ( ) ( )A B B C′∩ ∩ ∪
A
B C
A
B C
A
B C
56
4.7 ( )A B C− ∪
4.8 ( )A B C∩ −
4.9 ( )B A C− −
A
B C
A
B C
A
B C
57
4.10 ( )B A C− ∪
4.11 ( ) ( )B A A C∩ − ∩
4.12 ( ) ( )A B C A− ∪ −
A
B C
A
B C
A
B C
58
5. หาคาของ A −B จากเซตที่กําหนด
5.1 A = 2
| 2 3 0x x x{ − − = }
, B = 2
| 12 0x x x{ + − = }
5.2 A = 2
| 25 0x x{ − = } , B = 2
| 2 8 0x x x{ + − = }
5.3 A = 4 2
| 74 1,225 0x x x{ − + = },
B = 2
| 10 25 0x x x{ + + = }
5.4 A = | 5x x n{ = เมื่อ n เปนจํานวนนับ} ,
B = 3 2
| 25 175 375 0x x x x{ − + − = }
59
7. โจทยปญหาเกี่ยวกับเซต
การแกโจทยปญหาในเรื่องจํานวนสมาชิกของเซตจํากัดสามารถทําไดโดยการประยุกตใช
แผนภาพเวนน – ออยเลอร และสูตรการหาจํานวนสมาชิกของเซตจํากัดดังนี้
( ) ( ) ( ) ( )
( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )
( )
n A B n A n B n A B
n A B C n A n B n C n A B n B C n A C
n A B C
∪ = + − ∩
∪ ∪ = + + − ∩ − ∩ − ∩ +
∩ ∩
ตัวอยางโจทยปญหา เชน
ตัวอยางที่ 1 จากการสํารวจผูซื้อจํานวน 10 คน พบวามีผูซื้อเสื้อ 8 คน ซื้อกางเกง 7 คน มีผูซื้อ
เสื้อและกางเกงกี่คน เมื่อผูซื้อทุกคนตองซื้อเสื้อหรือกางเกงอยางนอย 1 ชนิด
60
ตัวอยางที่ 2 นักเรียนจํานวน 14 คน ไดเกรด 4 เฉพาะวิชาคณิตศาสตร 7 คน ไดเกรด 4
เฉพาะวิชาวิทยาศาสตร 4 คน ถานักเรียนทุกคนตองไดเกรด 4 อยางนอย 1 วิชา จะมีนักเรียนได
เกรด 4 ทั้งสองวิชากี่คน
61
ตัวอยางที่ 3 การสัมภาษณกลุมตัวอยาง 10 คน พบวามีผูไมชอบกินสมหรือกลวย 1 คน มีผูชอบ
กินเฉพาะสม 3 คน ผูชอบกินเฉพาะกลวย 4 คน กลุมตัวอยางที่ชอบกินสมมีกี่คน
62
ตัวอยางที่ 4 เดือนที่แลวฝนตกตอนเชาและตอนเย็น 3 วัน ฝนตกตอนเชาหรือตอนเย็น 11
วัน ถาฝนตกตอนเชามากกวาฝนตกตอนเย็น 4 วัน ฝนตกตอนเย็นกี่วัน
63
ตัวอยางที่ 5 ผูบริโภคดื่มน้ําสม 11 คน ดื่มน้ําองุน 9 คน ดื่มน้ํามะนาว 6 คน ดื่มน้ําสมและน้ํา
องุน 4 คน ดื่มน้ําองุนและน้ํามะนาว 2 คน ดื่มน้ําสมและน้ํามะนาว 3 คน ดื่มน้ําสม น้ําองุนและ
น้ํามะนาว 1 คน ผูบริโภคดื่มน้ําผลไมชนิดเดียวกี่คน
64
ตัวอยางที่ 6 หมูบานแหงหนึ่งมีประชากร 68 ครอบครัว เลี้ยงนกแกว 7 ครอบครัว เลี้ยงนกเอี้ยง
5 ครอบครัว เลี้ยงนกพิราบ 9 ครอบครัว เลี้ยงนกแกวและนกเอี้ยง 3 ครอบครัว เลี้ยงนกเอี้ยงและ
นกพิราบ 2 ครอบครัว เลี้ยงนกแกวและนกพิราบ 5 ครอบครัว มีกี่ครอบครัวที่เลี้ยงนกแกวและนก
เอี้ยงแตไมเลี้ยงนกพิราบ ถาหมูบานนี้ไมเลี้ยงนก 55 ครอบครัว

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
sawed kodnara
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
Piyanouch Suwong
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
suwanpinit
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
narong2508
 

What's hot (20)

ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
 
31202 mid502
31202 mid50231202 mid502
31202 mid502
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdf
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 

Viewers also liked

blogwell19sf-verizon-120416154735-phpapp01
blogwell19sf-verizon-120416154735-phpapp01blogwell19sf-verizon-120416154735-phpapp01
blogwell19sf-verizon-120416154735-phpapp01
Laurie Shook, MBA
 

Viewers also liked (20)

Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
 
Pat1 52-03+key
Pat1 52-03+keyPat1 52-03+key
Pat1 52-03+key
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
Logic
LogicLogic
Logic
 
Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
Vector
VectorVector
Vector
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
Statistic1
Statistic1Statistic1
Statistic1
 
blogwell19sf-verizon-120416154735-phpapp01
blogwell19sf-verizon-120416154735-phpapp01blogwell19sf-verizon-120416154735-phpapp01
blogwell19sf-verizon-120416154735-phpapp01
 
Guia 1 el transporte
Guia 1 el transporteGuia 1 el transporte
Guia 1 el transporte
 
Guia 1 numeros signados
Guia 1 numeros signadosGuia 1 numeros signados
Guia 1 numeros signados
 
Relation and function
Relation and functionRelation and function
Relation and function
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
โจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิตโจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิต
 
Complex number1
Complex number1Complex number1
Complex number1
 

Similar to Set(เซต)

01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
waradakhantee
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
Somrak Sokhuma
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
kroojaja
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
Poochai Bumroongta
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากัน
Aon Narinchoti
 
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์
Aon Narinchoti
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
pairtean
 

Similar to Set(เซต) (20)

Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
6เอกภพสัมพัทธ์
6เอกภพสัมพัทธ์6เอกภพสัมพัทธ์
6เอกภพสัมพัทธ์
 
ppset
ppsetppset
ppset
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากัน
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์
 
Set54 operation
Set54 operationSet54 operation
Set54 operation
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตแบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
 
ผลต่าง
ผลต่างผลต่าง
ผลต่าง
 

More from Thanuphong Ngoapm

More from Thanuphong Ngoapm (20)

เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
 
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
 
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfการประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
 
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
 
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfmath_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfเฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
 
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
 
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
 
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
 
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfสถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
 
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfการให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
 
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfจำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
 
เซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfเซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdf
 
analyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfanalyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdf
 
4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf
 

Set(เซต)

  • 2. 2 1. นิยามและความเขาใจทั่วไปในเรื่องเซต เซต คือกลุมของขอมูลที่เราใหความสนใจหรือเปนไปตามเงื่อนไขที่กําหนด เราเรียกขอมูล เหลานั้นวาสมาชิกของเซต โดยเราจะใชเครื่องหมาย { , } ,∈และ∉ มาชวยในการเขียนและ อธิบายเกี่ยวกับสมาชิกของเซตนั้นๆเชน ถา A เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 5 – กลุมของขอมูลที่เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 5 หรือสมาชิกของเซต A ไดแก 1,2,3,4 จะเห็นไดวา 2 เปนสมาชิกของเซต A, 3 เปนสมาชิกของ เซต A ในขณะที่ -1 ไมเปนสมาชิกของเซต A สามารถแทนเซต A ไดดังนี้ A = { 1,2,3,4} หรือสามารถเขียนสลับสมาชิกของเซต A กอนหลังได ทั้งสิ้นดังนี้ A = { 2,1,3,4}หรือ A = { 2,1,4,3}หรือ A = { 1,2,4,3}หรือ A = { 4,1,2,3} เปนตน , 2∈A , 3∈A และ -1 ∉A 1.1 การเขียนเซต – มี 2 วิธี ดังนี้ การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก คือการเขียนเซตโดยการเขียนสมาชิกของเซตนั้นแตละตัวลง ในเครื่องหมายวงเล็บปกกา({ }) และใชเครื่องหมายจุลภาค(,) คั่น เชน A={ 1,2,3,4,5,6} B={ …,-2,-1,0,1,2,…} C={ มวง,คราม,น้ําเงิน,เขียว,เหลือง,แสด,แดง} SET
  • 3. 3 การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข คือการเขียนเซตโดยใชตัวแปรแทนสมาชิกของเซตและมีการ กําหนดประเภทของตัวแปร แลวจึงมีการบอกเงื่อนไขของสมาชิกที่อยูในรูปของตัวแปร เชน A={ x∈I | 0 < x < 10} B={ x∈R | 3 ≤ x < 100} C={ x∈Q | 2 3 1 0x x− + = } หมายเหตุ : I เปนเซตของจํานวนเต็ม I + เปนเซตของจํานวนเต็มบวก I − เปนเซตของจํานวนเต็มลบ R เปนเซตของจํานวนจริง Q เปนเซตของจํานวนตรรกยะ N เปนเซตของจํานวนนับ P เปนเซตของจํานวนเฉพาะ แบบฝกหัด 1. เขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก 1.1 A เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งมากกวา 0 แตนอยกวา 10 A= 1.2 B เปนเซตของจํานวนนับซึ่งนอยกวา 5 B= 1.3 C เปนเซตของจํานวนเต็มบวกซึ่งมากกวา 100 C= 1.4 D เปนเซตของจํานวนเต็มคู D=
  • 4. 4 1.5 E เปนเซตคําตอบของสมการ 2 4 3 0x x− + = E= 1.6 F เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งเปนคําตอบของสมการ 2 2 3 0x x− − = F= 2. เขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก 2.1 A เปนเซตของจํานวนจริงซึ่งมากกวา 0 แตนอยกวา 7 A= 2.2 B เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งมากกวา 0 แตนอยกวา 7 B= 2.3 C เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งนอยกวา 1,000 C= 2.4 D เปนเซตของจํานวนเต็มบวกซึ่งมากกวา 10 D= 2.5 E เปนเซตของจํานวนนับซึ่งมากกวา 1 แตนอยกวาหรือเทากับ 52 E= 2.6 F เปนเซตของจํานวนเต็มซึ่งเปนคําตอบของสมการ 2 10 25 0x x− + = F= 3. เขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก 3.1 A={ x∈I | 1 < x < 6} A=
  • 5. 5 3.2 B={ x∈N | x >12} B= 3.3 C={ x∈I | 2 25x = } C= 3.4 D={ x∈N | 2 25x = } D= 4. เขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก 4.1 A = { 1,2,3,4,5,6,7} A = 4.2 B = { 0,1,2,3,4,5,6,7} B = 4.3 C = { 10,11,12,13,…} C = 4.4 D = { 1,2,3,…,98,99,100} D = 4.5 E = 1 2 3 4 , , , ,... 2 3 4 5 { } E = 4.6 F = { 5,10,15,20,25,…} F =
  • 6. 6 1.2 ประเภทของเซต – เซตสามารถแบงเปน 2 ประเภทตามจํานวนสมาชิกของเซต 1. เซตจํากัด คือเซตซึ่งสามารถบอกจํานวนสมาชิกไดแนนอนวามีจํานวนเทาไร เชน A={ 1,2,3,4,5} มีจํานวนสมาชิก 5 ตัว B={ 1,2,3,…,100}มีจํานวนสมาชิก 100 ตัว C= 2 | 100x I x{ ∈ = } มีจํานวนสมาชิก 2 ตัว D= | 1x R x x{ ∈ = + } มีจํานวนสมาชิก 0 ตัว 2. เซตอนันต คือเซตซึ่งไมสามารถบอกจํานวนสมาชิกที่แนนอนของเซตนั้นได เชน A={ 1,2,3,…} B={ …,-2,-1,0,1,2,…} C= 2 | 0x R x{ ∈ ≠ } แบบฝกหัด จงบอกวาเซตตอไปนี้เปนเซตจํากัดหรือเซตอนันต 1. A={ 1,2,3,4,5}
  • 7. 7 2. B={ 0,1,2,…} 3. C={ 0} 4. D={ } 5. E= | 4x I x{ ∈ > } 6. F= | 0 10x N x{ ∈ < < } 7. G= | 0 10x R x{ ∈ < < } 8. H={ …,-3,-2,-1,…} 9. I= 2 | 8 16 0x I x x{ ∈ + + = } 10. J={ 0,1,2,…,20} 11. K= 2 | 3x N x{ ∈ = − } 12. L= |x P x{ ∈ <10} 2. ความเทากันของเซต เซต A เทากับเซต B เมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B และสมาชิก ทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A ใชสัญลักษณ A=B
  • 8. 8 เซต A ไมเทากับเซต B เมื่อ มีสมาชิกบางตัวของเซต A ไมเปนสมาชิกของเซต B หรือ มีสมาชิกบางตัวของเซต B ไมเปนสมาชิกของเซตA ใชสัญลักษณ A≠B เซต A เทียบเทาเซต B ก็ตอเมื่อ จํานวนสมาชิกของเซต A เทากับจํานวนสมาชิกของ เซต B [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] A B x A x B x B x A A B x A x B x B x A ⎡ ⎤= ↔ ∀ ∈ ∈ ∧∀ ∈ ∈⎣ ⎦ ⎡ ⎤≠ ↔ ∃ ∈ ∉ ∨ ∃ ∈ ∉⎣ ⎦ A เทียบเทาเซต B [ ]( ) ( )n A n B↔ = ตัวอยางเชน 1. A={ 1,2,3,4,5,6,7} , B={ 1,3,2,4,6,5,7}จะไดวา A=B เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกที่อยูใน B และสมาชิกทุกตัวของ B เปนสมาชิก ใน A 2. A={ 1,2,3,4,5,6,7} , B={ 1,2,3,4,5,6,7,8} จะไดวา A≠B เพราะวา 8 เปนสมาชิกใน B แตไมเปนสมาชิกใน A 3. A={ 1,2,3,4,5,6,7} , B={ 10,20,30,40,50,60,70} จะไดวา A เทียบเทา B เพราะวาทั้ง A และ B มีจํานวนสมาชิกเทากันคือมีสมาชิก 7 ตัว 4. A={ 2,3,4,5}, B= |1x I x{ ∈ < < 6}ทําการแจกแจงสมาชิกของเซต B ที่เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 แตนอยกวา 6 ไดเปน B={ 2,3,4,5}เพราะฉะนั้น A=B 5. A= { -5,3,3} , B= 2 | 2 15 0x I x x{ ∈ + − = } เซต A เขียนสมาชิก 3 ซ้ํากัน เซต A={ -5,3} และจากเซต B ทําการแกสมการหาคา x ที่เปนจํานวนเต็มและ สอดคลองกับสมการ 2 2 15 0x x+ − = ดังนี้ 2 2 15 0 ( 5)( 3) 0 5,3 x x x x x + − = + − = = − เซต B={ -5,3} A B∴ = 6. A={ x|x เปนจํานวนเฉพาะที่นอยกวา 10} B= |10 13x I x{ ∈ ≤ ≤ }
  • 9. 9 เขียนเซต A และ B แบบแจกแจงสมาชิกไดดังนี้ A={ 2,3,5,7} , B={ 10,11,12,13} เนื่องจากทั้ง A และ B มีสมาชิกเทากันคือ 4 ตัว ∴A เทียบเทา B ขอสังเกต : ถา A=B แลว A เทียบเทา B ดวย ถา A เทียบเทา B แลว A ไมจําเปนตองเทากับ B แบบฝกหัด 1. เซตตอไปนี้เทากันหรือไม 1.1 A = { -4,8} B = 2 | 4 32 0x I x x{ ∈ − − = } 1.2 A = | 6x I x{ ∈ < <10} B = { 6,7,8,9} 1.3 A = |x N x{ ∈ < 6} B = |x I x{ ∈ < 6} 1.4 A = |x P x{ ∈ < 5} B = 2 | 5 6 0x I x x{ ∈ − + = }
  • 10. 10 1.5 A = 2 | 144x I x{ ∈ = } B = 2 | 24 144 0x I x x{ ∈ + + = } 1.6 A = 2 | 25x I x+ { ∈ = } B = 2 | 10 25 0x I x x{ ∈ − + = } 1.7 A = 2 | 0x I x{ ∈ = } B = | 7x I x{ ∈ = − } 1.8 A = {x|x เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา -3} B = 2 | 3 2 0x I x x{ ∈ + + = } 2. เซตตอไปนี้เซตใดเทากันหรือเทียบเทากัน 2.1 A = {2,6,−1} B = {−1,6,2} C = {2,6,0} 2.2 A = {1,6,2} B = {2,3,9} C = {0,7,−1}
  • 11. 11 2.3 A = 2 | 12 0x I x x{ ∈ − − = } B = 2 | 25x I x{ ∈ = } C = | ( 5)( 5) 0x I x x{ ∈ − + = } 2.4 A = 2 | 3 18 0x I x x{ ∈ + − = } B = 2 | 6 9 0x I x x{ ∈ − + = } C = | 0 1x I x{ ∈ ≤ ≤ } 2.5 A = | 10x P x{ ∈ < } B = | ( 2)( 3)( 5)( 7) 0x I x x x x{ ∈ − − − − = } C = 2 | 2x I x n{ ∈ = โดยที่ n เปนจํานวนนับ} 2.6 A = |x x{ เปนจํานวนเต็มคูระหวาง 2 ถึง 10} B = |x x{ เปนจํานวนเต็มคี่ระหวาง 1 ถึง 9} C = 2 | ( 10 24)( 8) 0x I x x x{ ∈ − + − = }
  • 12. 12 3. แผนภาพเวนนและออยเลอร เอกภพสัมพันธ คือ เซตซึ่งกําหนดขอบเขตที่จะศึกษา ในการศึกษาเรื่องเซตจะไมศึกษา สมาชิกของเซตซึ่งอยูนอกเอกภพสัมพัทธ เราใชสัญลักษณ แทนเอกภพสัมพัทธ ตัวอยาง 1. หาสมาชิกของ A = 2 | 2 15 0x x x{ + − = } เมื่อ คือเซตของจํานวนเต็ม 2 2 15 0 ( 3)(2 5) 0 x x x x + − = + − = x+3 = 0 หรือ 2x-5 = 0 x = -3 x= 5 2 3A∴ = {− } 2. หาเอกภพสัมพัทธเมื่อ A = 2 | 100 0x x{ − = } มีสมาชิกคือ 10 2 100 0 ( 10)( 10) 0 x x x − = + − = x+10 = 0 หรือ x-10 = 0 x = 10 x = -10 ∴ คือ เซตของจํานวนเต็มบวก
  • 13. 13 แบบฝกหัด 1. เขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิกตามเอกภพสัมพัทธที่กําหนด 1.1 A = | 2 2x x{ − ≤ ≤ } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็ม 1.2 B = | 2 2x x{ − ≤ ≤ } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็มบวก 1.3 C = | 1x x x{ + ≠ } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็ม 1.4 D = 2 | 10x x{ = − } เมื่อ เปนเซตของจํานวนจริง 1.5 E = 2 | 4 21 0x x x{ − − = } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็ม 1.6 F = 2 | 5 6 0x x x{ − − = } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็มลบ 1.7 G = 2 | 6 9 0x x x{ + + = } เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็มบวก 1.8 H = |1x x{ < <10} เมื่อ เปนเซตของจํานวนประกอบ
  • 14. 14 2. หาเอกภพสัมพัทธของเซตตอไปนี้ 2.1 A = | 1 1x x{ − ≤ ≤ } สมาชิก คือ -1,0,1 2.2 B = | 1 1x x{ − ≤ ≤ } สมาชิก คือ 0,1 2.3 C = |x x{ < 0} ไมมีสมาชิก 2.4 D = | 0x x{ ≥ } เปนเซตอนันต 2.5 E = 2 | 2 15 0x x x{ − − = } สมาชิก คือ -3,5 2.6 F = 2 | 2 15 0x x x{ − − = } สมาชิก คือ -3 2.7 G = 2 | 6 7 5 0x x x{ − − = } ไมมีสมาชิก 2.8 H = | 0x x{ < < 2} เปนเซตอนันต
  • 15. 15 แผนภาพเวนนและออยเลอร คือ แผนภาพซึ่งสรางขึ้นเพื่อแสดงขอบเขตและความสัมพันธ ของเซต ทั้งนี้นิยมสรางแผนภาพโดยใชรูปสี่เหลี่ยมผืนผาแทนเอกภพสัมพัทธและวงกลมแทนเซต ใดๆ สามารถสรางแผนภาพแสดงความสัมพันธของเซต ดังนี้ 1. เซต A และเซต B ไมมีสมาชิกรวมกัน สรางแผนภาพโดยวงกลมซึ่งแทนเซต A และ เซต B ไมมีพื้นที่ทับซอนกัน เชน A = 3,2{ } , B = ,7{−1 } เซตทั้งสองไมมีสมาชิกรวมกัน 2. เซต A และเซต B มีสมาชิกรวมกันบางสวน สรางแผนภาพโดยวงกลมซึ่งแทนเซต A และเซต B มีพื้นที่บางสวนทับซอนกัน เชน A = , 1,4{0 − } , B = ,6,9{4 } เซตทั้งสองมีสมาชิกรวมกัน คือ 4 3,2 -1,7A B 0,-1 6,94A B
  • 16. 16 3. เซต A มีสมาชิกทุกตัวอยูในเซต B สรางแผนภาพโดยวงกลมซึ่งแทนเซต A มีขนาดเล็ก อยูภายในวงกลมซึ่งแทนเซต B มีขนาดใหญ เชน A = ,1{7 } , B = ,7,1,6, 2{0 − } 4. เซต A เทากับเซต B สรางแผนภาพโดยวงกลมซึ่งแทนเซต A และเซต B มีขนาด เทากันและซอนทับกัน เชน A = ,1,8{−2 } B = ,1,8{−2 } หมายเหตุ : สําหรับสมาชิกของเอกภพสัมพัทธซึ่งไมเปนสมาชิกของเซตใดๆ ใหเขียนสมาชิกนั้น ในรูปสี่เหลี่ยมซึ่งไมอยูในวงกลม เชน A B 7,1 0 6 -2 -2 1 8 A B A B7 9 1 -5 -4 0 6
  • 17. 17 A = ,9,1{7 } B = 1, 5{ − } สวน ,0,6{−4 }เปนสมาชิกของเอกภพ สัมพัทธแตไมเปนสมาชิกของเซต A และเซต B แบบฝกหัด 1. สรางแผนภาพแทนขอมูลตอไปนี้ 1.1 = {−9,−2,−1,0,5,6,7} A = {−2,6,7} B = {−9,7} 1.2 = {−7,−3,−2,−1,0,2,4,6} A = {−3,2,6} B = {−7,4} 1.3 = {−9,−3,0,1,4,7} A = {−9,0,7} B = {0,7,−9}
  • 18. 18 1.4 = {−9,4,1} A = {−9,4} B = {4,−9,1} 1.5 = {−7,−1,2,4,6} A = {−7,2,4} B = {4} 1.6 = {−4,−2,0,1,9} A = {−4,−2,1,9} B = {−2,0,1,9} 1.7 = {1,2,3,4,5,6,7,8,9} A = {1,2,4,5} B = {1,2,3,8} C = {1,3,4,7}
  • 19. 19 1.8 = {−5,−4,2,3,7} A = {2,7} B = {−5,2,3} C = {−4,2,3} 1.9 = {−9,−4,−3,0,1,2,6,7,9} A = {0,1,9} B = {−3,0,6} C = {2,7} 1.10 = {−6,−4,−1,2,4,5,6} A = {2} B = {−4,2,6} C = {−6,−4,2,4,6}
  • 20. 20 1.11 = {−9,−1,1,2,4,5,7} A = {1} B = {−9,2,4} C = {1,2,7} 1.12 = {−7,−6,−4,2,4,5,9} A = {2,5} B = {−6,2,4,5} C = {−7,2,9} 2. เขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิกและสรางแผนภาพ 2.1 = | 4 6x I x{ ∈ − ≤ ≤ } A = 2 | 5 6 0x x x{ − − = } B = |x x{ = 4}
  • 21. 21 2.2 = | 3 6x I x{ ∈ − < < } A = 2 | 25x x{ = } B = 2 | 8 15 0x x x{ − + = } 2.3 = | 3 5x I x{ ∈ − ≤ ≤ } A = 2 | 6 0x x x{ + − = } B = 2 | 7 10 0x x x{ − + = } 2.4 = | 2 5x I x{ ∈ − ≤ ≤ } A = 2 | 25x x{ = } B = 2 | ( 4)( 5) 0x x x{ − − = }
  • 22. 22 2.5 = | 0 6x I x{ ∈ < < } A = 3 2 | 4 4 16 0x x x x{ − − + = } B = 3 2 | 11 40 48 0x x x x{ − + − = } C = 3 2 | 4 4 0x x x x{ − − + = } 2.6 = | 0 6x I x{ ∈ < < } A = 3 2 | 8 17 10 0x x x x{ − + − = } B = | 3x x{ = } C = 2 | 4 3 0x x x{ − + = }
  • 23. 23 4. สับเซต สับเซต คือเซตซึ่งสมาชิกทุกตัวของเซตนั้นเปนสมาชิกของเซตอีกเซตหนึ่ง หรืออาจกลาววา เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B ใช สัญลักษณ A ⊂ B แทน เซต A เปนสับเซตของเซต B ในกรณีตรงขามกัน เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกบางตัวของเซต A ไม เปนสมาชิกของเซต B ใชสัญลักษณ A ⊄ B แทน เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B [ ] [ ] [ ] [ ] A B x A x B A B x A x B ⎡ ⎤⊂ ↔ ∀ ∈ ∈⎣ ⎦ ⎡ ⎤⊄ ↔ ∃ ∈ ∉⎣ ⎦ สมบัติของสับเซต : 1. เซตวางเปนสับเซตของทุกเซต 2. เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวมันเอง 3. เซตทุกเซตเปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ 4. ถา A ⊂ B และ B ⊂ A แลว A = B 5. ถา A = B แลว A ⊂ B และ B ⊂ A 6. A เปนสับเซตแทของ B เมื่อ A ⊂ B แต B ⊄ A 7. A เปนสับเซตไมแทของ B เมื่อ A ⊂ B และ B ⊂ A หรือ A = B 8. ถา A มีสมาชิก n ตัว แลว A มี 2n สับเซต 9. ถา A มีสมาชิก n ตัว แลว A มีสับเซตแท 2 1n − สับเซต 10. ถา A ⊂ B และ B ⊂ C แลว A ⊂ C 11. เซตวางมีสับเซตเพียง 1 สับเซตคือ เซตวาง
  • 25. 25 2. จงพิสูจนวาเซต A เปนสับเซตของเซต B เมื่อ เปนเซตของจํานวนเต็ม และ A = 2 | 12 36 0x x x{ − + = } B = | 5 8x x{ ≤ ≤ } 3. จงพิสูจนวาเซต A เปนสับเซตไมแทของเซต B เมื่อ A = | 9x x{ = } B = 2 | 81 0x x{ − = } 5. เพาเวอรเซต เพาเวอรเซต คือ เซตของสับเซตทั้งหมดของเซตใดๆ เพาเวอรเซตของเซต A ใชสัญลักษณ P(A) P(A) = |x x A{ ⊂ }
  • 26. 26 ตัวอยาง เชน 1. ถา A = {0,3,−7} จงหา P(A) n(A) = 3 จะได n(P(A)) = 3 2 P(A) = {{0},{3},{−7},{0,3},{0,−7},{3,−7},{0,3,−7},∅} 2. ถา A = {−5,{4},{−5,4}} จงหา P(A) n(A) = 3 จะได n(P(A)) = 3 2 P(A) = {{−5},{{4}},{{−5,4}},{−5,{4}},{−5,{−5,4}},{{4},{−5,4}}, {−5,{4},{−5,4}},∅} สมบัติของเพาเวอรเซต : 1. P(A) ≠ ∅ เมื่อ A เปนเซตใดๆ 2. A ∈P(A) เมื่อ A เปนเซตใดๆ 3. ( )P A∅∈ เมื่อ A เปนเซตใดๆ 4. ถา A มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n ตัว 5. A ⊂ B ก็ตอเมื่อ P(A) ⊂ P(B) 6. ถา A เปนเซตอนันต แลว P(A) เปนเซตอนันตดวย แบบฝกหัด 1. หาเพาเวอรเซตของเซตตอไปนี้ 1.1 A = {9} 1.2 B = {−6,3}
  • 27. 27 1.3 C = {9,0,−2} 1.4 D = {−7,−1,1,7} 1.5 E = ∅ 1.6 F = {3,{7}} 1.7 G = {{0},{4,−1}} 1.8 H = {2,{1,4},{4}}
  • 28. 28 6. การกระทํา(Operation) ของเซต การกระทําทางเซต คือ การสรางเซตใหมจากเซตที่กําหนด การกระทําทางเซตมี 4 ชนิด คือ ยูเนียน อินเตอรเซกชัน ผลตางและคอมพลีเมนต 6.1 ยูเนียน ยูเนียน คือ การกระทําทางเซตซึ่งทําใหเกิดเซตใหมซึ่งมีสมาชิกเปนสมาชิกทั้งหมดของเซตซึ่ง นํามายูเนียนกัน ใชสัญลักษณ A∪ B แทนเซต A ยูเนียนกับเซต B A∪ B = |x x A{ ∈ หรือ x B∈ } สามารถเขียนแผนภาพแทนการยูเนียนของเซต A และเซต B ไดดังนี้ กรณีที่ 1 –เซต A และเซต B มีสมาชิกรวมกันบางสวน A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ กรณีที่ 2 – เซต A เปนสับเซตของเซต B A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ A B A B
  • 29. 29 กรณีที่ 3 – เซต B เปนสับเซตของเซต A A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ กรณีที่ 4 – เซต A เทากับเซต B A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ กรณีที่ 5- เซต A ไมมีสมาชิกรวมกับเซต B A∪ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ ตัวอยาง เชน 1. A = {2,6,9,10} , B = {1,5,6,8,9} , C = {3,5,7} จงหา A∪ B , A∪ C และ B∪ C A∪ B = {1,2,5,6,8,9,10} A∪ C = {2,3,5,6,7,9,10} B∪ C = {1,3,5,6,7,8,9} B A BA BA
  • 30. 30 2. = |x x{ เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 10}, A = {1,2,6,9} B = {2,8,9} จงสรางแผนภาพของ A∪ B A∪ B = {1,2,6,8,9} สมบัติของยูเนียน : 1. A∪ B = B∪ A 2. (A∪ B)∪ C = A∪ (B∪ C) 3. A∪ A = A 4. A∪∅ = A 5. A∪ = 6. ถา A∪ B=∅ แลว A = ∅ และ B = ∅ 7. ถา A ⊂ B แลว A∪ B = B 8. A ⊂ A∪ B และ B ⊂ A∪ B แบบฝกหัด 1. ให A = {0,2,5,6}, B = {1,2,6,8}, C = {2,4,6}จงเขียนเซตตอไปนี้ แบบแจกแจงสมาชิก 1.1 A∪ B 1.2 B∪ A BA
  • 31. 31 1.3 A∪ C 1.4 B∪ C 1.5 A∪ A 1.6 C∪ C 1.7 (A∪ B)∪ C 1.8 A∪ (B∪ C) 2. หา A∪ B จากเซต A และเซต B ตอไปนี้ 2.1 A = {2,3,6,10} B = {2,6,8,12} A∪ B = 2.2 A = {4,5,9} B = {1,6,10} A∪ B = 2.3 A = {2,3,6,10,12} B = {3,6,12} A∪ B =
  • 32. 32 2.4 A = {−4,0,2} B = {−4,−3,0,1,2} A∪ B = 2.5 A = {} B = {−2,0,9,13} A∪ B = 2.6 A = {−5,4,8,9} B = {−5,4,8,9} A∪ B = 2.7 A = {} B = {} A∪ B = 2.8 A = {−8,−1,0,4,5,...} B = {−8,0,4,...} A∪ B = 3. สรางแผนภาพของ A∪ B จากเซตที่กําหนด 3.1 = {0,1,2,3,4,5,6,7} A = {1,2,3,7} B = {4,6,7}
  • 33. 33 3.2 = {−6,−2,0,1,3,5,6,7} A = {1,3,6} B = {−2,0,7} 3.3 = {3,4,6,7,9} A = {3,4,6} B = {3,4,6} 3.4 = {−6,−2,0,1,3,5,7} A = {−2,0,1,3} B = {−6,1,5,7} 3.5 = {−6,−3,−1,2,4,9} A = {2,9} B = {−1,2,4,9}
  • 34. 34 3.6 = {−4,2,5,8,9} A = {−4,2,5,8,9} B = {8} 6.2 อินเตอรเซกชัน อินเตอรเซกชัน คือ การกระทําทางเซตซึ่งทําใหเกิดเซตใหมซึ่งมีสมาชิกรวมกันของเซตซึ่ง นํามาอินแตอรเซกชันกัน ใชสัญลักษณ A∩ B แทนเซต A อินเตอรเซกชัน B A∩ B = |x x A{ ∈ และ x B∈ } สามารถเขียนแผนภาพแทน A∩ B ไดดังนี้ กรณีที่ 1 –เซต A และเซต B มีสมาชิกรวมกันบางสวน A∩ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ A B
  • 35. 35 กรณีที่ 2 – เซต A เปนสับเซตของเซต B A∩ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ กรณีที่ 3 – เซต B เปนสับเซตของเซต A A∩ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ กรณีที่ 4 – เซต A เทากับเซต B A∩ B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ กรณีที่ 5- เซต A ไมมีสมาชิกรวมกับเซต B A∩ B หมายถึงเซตวาง A B B A BA BA
  • 36. 36 ตัวอยาง เชน 1. A = {0,2,6,9} , B = {3,6,9,10}, C = {3,10,12} จงหา A∩ B , A∩ C และ B∩ C A∩ B = {6,9} A∩ C = {} B∩ C = {3,10} 2. = |x I x{ ∈ มากกวาหรือเทากับ -4 แตนอยกวา 5} A = | 4x x{ = } , B = 2 | 3 4 0x x x{ − − = } จงสรางแผนภาพ A∩ B สมบัติของอินเตอรเซกชัน : 1. A∩ B = B∩ A 2. (A∩ B)∩ C = A∩ (B∩ C) 3. A∩∅ = ∅ 4. A∩ = A 5. A∩ A = A 6. ถา A ⊂ B แลว A∩ B = A 7. A∪ (B∩ C) = (A∪ B)∩ (A∪ C) 8. A∩ (B∪ C) = (A∩ B)∪ (A∩ C)
  • 37. 37 แบบฝกหัด 1. ให A = {2,3,7,9} , B = {3,5,7,9}, C = {2,5,9,10} จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก 1.1 A∩ B 1.2 B∩ A 1.3 B∩ C 1.4 A∩ C 1.5 A∩ A 1.6 C∩ C 1.7 (A∩ B)∩ C 1.8 A∩ (B∩ C) 2. หา A∩ B จากเซต A และเซต B ตอไปนี้ 2.1 A = {2,3,5,8,10} B = {3,7,8,11} A∩ B =
  • 38. 38 2.2 A = {0,2,6} B = {0,2,6,9} A∩ B = 2.3 A = {−4,0,1,6} B = {−4,0,6} A∩ B = 2.4 A = {0,2,5,7} B = {7,0,2,5} A∩ B = 2.5 A = {2,8,10,11} B = ∅ A∩ B = 2.6 A = {−2,0,1,6} B = {−3,−1,4,5} A∩ B = 2.7 A = ∅ B = {} A∩ B = 2.8 A = {3,5,7,9,...} B = {2,3,7,8} A∩ B =
  • 39. 39 3. กําหนดให A = {3,6,8,9} , B = {1,3,5,8} , C = {2,3,9,10} จงหา 3.1 A∪ B 3.2 A∩ B 3.3 B∪ C 3.4 C∩ A 3.5 (A∪ B)∪ C 3.6 A∪ (B∩ C) 3.7 C∪ (A∩ B) 3.8 (B∪ C)∩ A 4. แรเงาแผนภาพตามที่กําหนด 4.1 (A∩ B)∩ C A B C
  • 40. 40 4.2 A∩ (B∩ C) 4.3 A∪ (B∩ C) 4.4 A∩ (B∪ C) 4.5 B∩ (A∪ C) A B C A B C A B C A B C
  • 41. 41 4.6 (B∪ C)∪ A 4.7 (A∩ B)∪ ( B∩ C) 4.8 (A∪ B)∩ ( B∪ C) A B C A B C A B C
  • 42. 42 5. หาคาของ A∩ B จากเซตที่กําหนด 5.1 A = 3 | 7 6 0x x x{ − + = } , B = 3 2 | 21 45 0x x x x{ + − − = } 5.2 A = 2 | 25 0x x{ − = } , B = 2 | 6 9 0x x x{ + + = } 5.3 A = 4 2 | 10 9 0x x x{ − + = } , B = 2 | 4 3 0x x x{ − + = } 5.4 A = | 2x x n{ = เมื่อ n เปนจํานวนนับ} , B = 3 2 | 12 44 48 0x x x x{ − + − = }
  • 43. 43 6.3 คอมพลีเมนต คอมพลีเมนต คือการกระทําทางเซตซึ่งทําใหเกิดเซตใหม ซึ่งมีสมาชิกเปนสมาชิกของ แต ไมเปนสมาชิกของเซตที่นํามาคอมพลีเมนต ใชสัญลักษณ A′ แทนคอมพลีเมนตของเซต A A′ = |x x{ ∈ และ x A∉ } สามารถเขียนแผนภาพแทนคอมพลีเมนตของเซต A ดังนี้ ตัวอยาง เชน 1. {2,3,6,7,9} , A = {3,7} , B = {2,3,6,9} จงหา A′ และ B′ A′ = {2,6,9} B′ = {7} 2. {−4,−3,−2,−1,0,1,2,3,4} , A = {−2,0,1,3} , B = {−4,−1,2,4}, C = {−2,−1,3,4} จงหา A′ , B′ , C′ , A C′∪ และ ( )B C ′∩ A
  • 44. 44 A′= {−4,−3,−1,2,4} B′= {−3,−2,0,1,3} C′ = {−4,−3,0,1,2} A C′∪ = {−4,−3,−2,−1,2,3,4} B C∩ = {−1,4} ( )B C ′∩ = {−4,−3,−2,0,1,2,3} 3. = | 0x I x{ ∈ < <10} A = 3 2 | 13 55 75 0x x x x{ − + − = } , B = 3 2 | 8 19 12 0x x x x{ − + − = } จงหาคาของ ′ ′Α ∩ Β แจกแจงสมาชิกของเซต , A และ B = {1,2,3,4,5,6,7,8,9} เซต A 3 2 13 55 75 0x x x− + − = 2 ( 10 25)( 3) 0x x x− + − = 2 ( 5) ( 3) 0x x− − = 3,5x = ∴Α ={3,5} เซต B 3 2 8 19 12 0x x x− + − = 2 ( 4 3)( 4) 0x x x− + − = ( 1)( 3)( 4) 0x x x− − − = 1,3,4x = ∴Β ={1,3,4} ′Α = {1,2,4,6,7,8,9} B′= {2,5,6,7,8,9} ′ ′Α ∩ Β = {2,6,7,8,9} สมบัติของคอมพลีเมนต : 1. ′ ′(Α ) = Α 2. ' = ∅ 3. ′∅ =
  • 45. 45 4. A A′∪ = 5. A A′∩ = ∅ 6. ( )A B A B′ ′ ′∩ = ∪ 7. ( )A B A B′ ′ ′∪ = ∩ แบบฝกหัด 1. ให = {−3,−2,0,1,4,5} , A = {−2,0,4} , B = {−3,0,1,5}, C = {−2,0,1} จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก 1.1 ′Α 1.2 B′ 1.3 C′ 1.4 ′ ′(Α ) 1.5 ' 1.6 ′∅ 2. ให = {−6,−4,−1,0,3,4,5} , A = {−6,−1,0,5} , B = {−4,−1,3,4} , C = {−6,0,3,5} จงหา 2.1 ′Α 2.2 Α ∪Β 2.3 CΑ ∩
  • 46. 46 2.4 B C′∪ 2.5 )C ′(Α ∪ 2.6 ′ ′Α ∩ Β 2.7 ( )B A′ ′∪ 3. หาเซตตอไปนี้จากขอมูลที่กําหนดใหพรอมทั้งเขียนแผนภาพ 3.1 = | 0 8x I x{ ∈ ≤ ≤ } A = 3 2 | 8 17 10 0x x x x{ − + − = } หา ′Α
  • 47. 47 3.2 = | 5x x n{ = เมื่อ n เปนจํานวนนับ} A = 2 | 25 150 0x x x{ − + = } หา ′Α 3.3 = | 4 4x I x{ ∈ − ≤ ≤ } A = | 2x x{ = } B = 2 | 9x x{ = } หา ( )A B ′∪
  • 48. 48 3.4 = | 2 5x I x{ ∈ − ≤ ≤ } A = 3 2 | 2 3 0x x x x{ − − = } B = 3 2 | 6 32 0x x x{ − + = } หา A B′ ′∩ 6.4 ผลตางระหวางเซต ผลตางระหวางเซต คือการกระทําทางเซตซึ่งทําใหเกิดเซตใหมซึ่งมีสมาชิกเปนสมาชิกของ เซตตัวตั้ง แตไมเปนสมาชิกของเซตตัวลบ ใชสัญลักษณ A-B แทนผลตางของเซต A และเซต B A −B = |x x A{ ∈ และ x B∉ } สามารถเขียนแผนภาพแทนผลตางระหวางเซต A และเซต B ไดดังนี้
  • 49. 49 กรณีที่ 1 –เซต A และเซต B มีสมาชิกรวมกันบางสวน A −B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ กรณีที่ 2 – เซต A เปนสับเซตของเซต B A −B คือเซตวาง ไมมีสมาชิก กรณีที่ 3 – เซต B เปนสับเซตของเซต A A −B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ กรณีที่ 4 – เซต A เทากับเซต B A −B คือเซตวาง ไมมีสมาชิก A B A B B A BA
  • 50. 50 กรณีที่ 5- เซต A ไมมีสมาชิกรวมกับเซต B A −B หมายถึงพื้นที่ที่แรเงาดังนี้ ตัวอยาง เชน 1. A = {3,5,8,10} , B = {1,2,5,8} , C = {1,3,5,8,10} จงหา A −B , B −A , A −C และ B −C A −B = {3,10} B −A = {1,2} A −C = {} B −C = {2} 2. = | 3 3x I x{ ∈ − ≤ ≤ } A = 4 2 | 9 0x x x{ − = } , B = 2 | 6 0x x x{ + − = } จงสรางแผนภาพ A −B สมบัติของผลตาง : 1. A −B = ∅ ก็ตอเมื่อ A⊂ B หรือ A = B 2. ถา A⊂ B แลว A −B = ∅ 3. ถา A = B แลว A −B = ∅ BA
  • 51. 51 4. A B A B′− = ∩ 5. A A−∅ = 6. A∅ − = ∅ 7. ( ) ( ) ( )A B C A B A C− ∩ = − ∪ − 8. ( ) ( ) ( )A B C A B A C− ∪ = − ∩ − 9. ( ) ( ) ( )A B C A C B C∩ − = − ∩ − 10. ( ) ( ) ( )A B C A C B C∪ − = − ∪ − 11. A A′− = แบบฝกหัด 1. ให A = {0,1,3,4,6,8} , B = {1,5,7,8} , C = {−1,0,3,6} จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก 1.1 A B− 1.2 B A− 1.3 A C− 1.4 C B− 1.5 A A− 1.6 B B− 1.7 ( )A B C− −
  • 52. 52 1.8 ( )B A C− − 2. หา A B− จากเซต A และเซต B ตอไปนี้ 2.1 A = {0,1,3,4,6,9,10} B = {0,2,3,5,8,9,10} A-B = 2.2 A = {2,3,5,7} B = {0,1,2,3,4,5,7} A-B = 2.3 A = {−2,−1,0,1,2,3,5} B = {−2,0,1,3} A-B = 2.4 A = {−3,−4,0,1} B = {0,−4,1,−3} A-B = 2.5 A = {−1,0,3,6,8} B = {−2,1,2,4,7} A-B =
  • 53. 53 2.6 A = {2,4,6,8,...} B = {2,4} A-B = 3. กําหนดให A = {2,3,4,6,8} , B = {1,3,5,6,9} , C = {3,4,5,7,10} จงหา 3.1 A B− 3.2 A B∩ 3.3 B A∪ 3.4 C A− 3.5 ( )A B C− ∪ 3.6 ( )C A C∩ − 3.7 ( ) ( )A B A C− ∪ − 3.8 ( ) ( )A B B C∩ − ∪
  • 54. 54 4. แรเงาภาพตามที่กําหนด 4.1 (A∪ B) C′− 4.2 ( )B A C′∩ − 4.3 ( )A B C′ − ∩ A B C A B C A B C
  • 55. 55 4.4 ( )A B A′− ∪ 4.5 ( ) ( )A B A C′∩ − ∩ 4.6 ( ) ( )A B B C′∩ ∩ ∪ A B C A B C A B C
  • 56. 56 4.7 ( )A B C− ∪ 4.8 ( )A B C∩ − 4.9 ( )B A C− − A B C A B C A B C
  • 57. 57 4.10 ( )B A C− ∪ 4.11 ( ) ( )B A A C∩ − ∩ 4.12 ( ) ( )A B C A− ∪ − A B C A B C A B C
  • 58. 58 5. หาคาของ A −B จากเซตที่กําหนด 5.1 A = 2 | 2 3 0x x x{ − − = } , B = 2 | 12 0x x x{ + − = } 5.2 A = 2 | 25 0x x{ − = } , B = 2 | 2 8 0x x x{ + − = } 5.3 A = 4 2 | 74 1,225 0x x x{ − + = }, B = 2 | 10 25 0x x x{ + + = } 5.4 A = | 5x x n{ = เมื่อ n เปนจํานวนนับ} , B = 3 2 | 25 175 375 0x x x x{ − + − = }
  • 59. 59 7. โจทยปญหาเกี่ยวกับเซต การแกโจทยปญหาในเรื่องจํานวนสมาชิกของเซตจํากัดสามารถทําไดโดยการประยุกตใช แผนภาพเวนน – ออยเลอร และสูตรการหาจํานวนสมาชิกของเซตจํากัดดังนี้ ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) n A B n A n B n A B n A B C n A n B n C n A B n B C n A C n A B C ∪ = + − ∩ ∪ ∪ = + + − ∩ − ∩ − ∩ + ∩ ∩ ตัวอยางโจทยปญหา เชน ตัวอยางที่ 1 จากการสํารวจผูซื้อจํานวน 10 คน พบวามีผูซื้อเสื้อ 8 คน ซื้อกางเกง 7 คน มีผูซื้อ เสื้อและกางเกงกี่คน เมื่อผูซื้อทุกคนตองซื้อเสื้อหรือกางเกงอยางนอย 1 ชนิด
  • 60. 60 ตัวอยางที่ 2 นักเรียนจํานวน 14 คน ไดเกรด 4 เฉพาะวิชาคณิตศาสตร 7 คน ไดเกรด 4 เฉพาะวิชาวิทยาศาสตร 4 คน ถานักเรียนทุกคนตองไดเกรด 4 อยางนอย 1 วิชา จะมีนักเรียนได เกรด 4 ทั้งสองวิชากี่คน
  • 61. 61 ตัวอยางที่ 3 การสัมภาษณกลุมตัวอยาง 10 คน พบวามีผูไมชอบกินสมหรือกลวย 1 คน มีผูชอบ กินเฉพาะสม 3 คน ผูชอบกินเฉพาะกลวย 4 คน กลุมตัวอยางที่ชอบกินสมมีกี่คน
  • 62. 62 ตัวอยางที่ 4 เดือนที่แลวฝนตกตอนเชาและตอนเย็น 3 วัน ฝนตกตอนเชาหรือตอนเย็น 11 วัน ถาฝนตกตอนเชามากกวาฝนตกตอนเย็น 4 วัน ฝนตกตอนเย็นกี่วัน
  • 63. 63 ตัวอยางที่ 5 ผูบริโภคดื่มน้ําสม 11 คน ดื่มน้ําองุน 9 คน ดื่มน้ํามะนาว 6 คน ดื่มน้ําสมและน้ํา องุน 4 คน ดื่มน้ําองุนและน้ํามะนาว 2 คน ดื่มน้ําสมและน้ํามะนาว 3 คน ดื่มน้ําสม น้ําองุนและ น้ํามะนาว 1 คน ผูบริโภคดื่มน้ําผลไมชนิดเดียวกี่คน
  • 64. 64 ตัวอยางที่ 6 หมูบานแหงหนึ่งมีประชากร 68 ครอบครัว เลี้ยงนกแกว 7 ครอบครัว เลี้ยงนกเอี้ยง 5 ครอบครัว เลี้ยงนกพิราบ 9 ครอบครัว เลี้ยงนกแกวและนกเอี้ยง 3 ครอบครัว เลี้ยงนกเอี้ยงและ นกพิราบ 2 ครอบครัว เลี้ยงนกแกวและนกพิราบ 5 ครอบครัว มีกี่ครอบครัวที่เลี้ยงนกแกวและนก เอี้ยงแตไมเลี้ยงนกพิราบ ถาหมูบานนี้ไมเลี้ยงนก 55 ครอบครัว