SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
1
การหาร
•การหารลงตัว
•การหารเหลือเศษ
•จํานวนคี่,จํานวนคู
การหาห.ร.ม.
•การหาห.ร.ม.โดยวิธีการแยกตัว
ประกอบ
•การหาห.ร.ม.โดยวิธีของยุคลิค
การหาค.ร.น.
•การหาค.ร.น.โดยวิธีการแยกตัว
ประกอบ
•การหาค.ร.น.โดยการใชห.ร.ม.
การพิสูจนทางทฤษฎีจํานวนโจทยปญหา
2
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
1. การหาร
กําหนดให a,b เปนจํานวนเต็ม ( , )a b I∈ a หาร b ลงตัว เราเขียนสัญลักษณ |a b
หมายความวา b เปนพหุคูณของ a หรือเขียนไดวา
a หาร b ไมลงตัว เราเขียนสัญลักษณ |a b/ หมายความวา b ไมเปนพหุคูณของ a หรือ a
หาร b แลวเหลือเศษ r เขียนไดวา
เราเรียก a วาตัวหาร
b วาตัวตั้ง
n วาผลหาร
และ r วาเศษจากการหาร
( ) +
ตัวอยาง เชน
1. จงพิจารณาการหารตอไปนี้
1.1) 3 หาร 7
|a b b an= เมื่อ n I∈
|a b/ b an r= + เมื่อ n I∈ และ 0 r a< <
ตัวตั้ง = ตัวหาร × ผลหาร เศษ
3
ตัวตั้ง คือ 7
ตัวหารคือ 3
หาผลหารกับเศษ โดยการเขียน 3 หาร 7 ใหอยูในรูป b an= หรือ b an r= +
เพราะฉะนั้น ผลหารคือ 2 และ เศษคือ 1
1.2) -3 หาร 7
ตัวตั้ง คือ 7
ตัวหารคือ -3
หาผลหารกับเศษ โดยการเขียน -3 หาร 7 ใหอยูในรูป b an= หรือ b an r= +
เพราะฉะนั้น ผลหารคือ -2 และ เศษคือ 1
1.3) 3 หาร -7
ตัวตั้ง คือ -7
ตัวหารคือ 3
หาผลหารกับเศษ โดยการเขียน 3 หาร -7 ใหอยูในรูป b an= หรือ b an r= +
เพราะฉะนั้น ผลหารคือ -3 และ เศษคือ 2
1.4) -3 หาร -7
ตัวตั้ง คือ -7
ตัวหารคือ -3
หาผลหารกับเศษ โดยการเขียน -3 หาร -7 ใหอยูในรูป b an= หรือ b an r= +
เพราะฉะนั้น ผลหารคือ 3 และ เศษคือ 2
7=3(2)+1
7=-3(-2)+1
-7=3(-3)+2
-7=-3(3)+2
4
2. ให a,b และ c เปนจํานวนเต็ม โดยที่ 0a ≠ และ 0b ≠ จงพิสูจนวา ถา |a b
และ |b c และ |a c
วิธีทํา
1. |a b b an⇒ = เมื่อ n I∈
2. | ,b c c bm m I⇒ = ∈
3. จาก (1) และ (2)
( )
( ),
|
c an m
c a nm nm I
a c
=
= ∈
∴
3. ให m และ n เปนจํานวนเต็มบวก ถา 5 หาร m เหลือเศษ 4 และ 5 หาร n เหลือเศษ 2
แลว 5 หาร m+n เหลือเศษเทาใด
วิธีทํา
1) ตีความหมายของ 5 หาร m เหลือเศษ 4
2) 5 หาร n เหลือเศษ 2
3) 1 2(5 4) (5 2)m n k k+ = + + +
1 2
1 2
1 2
5 5 6
5( ) 5 1
5( 1) 1
k k
k k
k k
= + +
= + + +
= + + +
4) 1 2 1 25( 1) 1,( 1)m n k k k k I+ = + + + + + ∈
……………แสดงวา 5 หาร m+n เหลือเศษ 1
1 15 4,m k k I= + ∈
2 25 2,n k k I= + ∈
5
4. จงหาจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 500 ที่หารดวย 3 หรือ 5 ลงตัว วามีกี่จํานวน
วิธีทํา ใชเรื่องเซตมาอธิบายวิธีทําขอนี้
1) ใหเซต A = เซตของจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 500 ที่ หารดวย 3 ลงตัว
เซต B = เซตของจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 500 ที่หารดวย 5 ลงตัว
A B∪ = เซตของจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 500 ที่หารดวย 3 หรือ 5 ลงตัว
2) จาก ( ) ( ) ( ) ( )n A B n A n B n A B∪ = + − ∩
{3,6,9,15,...,498} ( ) 166
{5,10,15,20,...,500} ( ) 100
{15,30,45,60,...,495} ( ) 33
( ) 166 100 33 233
A n A
B n B
A B n A B
n A B
= ⇒ =
= ⇒ =
∩ = ⇒ ∩ =
∴ ∪ = + − =
5. ให A,B และ C เปนจํานวนเต็ม จงแสดงวา
ถา |a b และ |a c แลว | ( )a bm cn+ เมื่อ ,m n I∈
วิธีทํา
1) 1 1| ,a b b ak k I⇒ = ∈
2) 2 2| ,a c c ak k I⇒ = ∈
3) 1 2( ) ( )bm cn ak m ak n+ = +
1 2
1 2
( ) ( )
( )
k m a k n a
k m k n a
= +
= +
4) 1 2 1 2( ) ,bm cn k m k n a k m k n I+ = + + ∈
| ( )a bm cn∴ + ลงตัว
6. จงพิสูจนวา ถา a เปนจํานวนเต็มแลว
2
2 | ( )a a−
วิธีทํา
1) กรณีที่ a เปนจํานวนคู 2 ,a n n I⇒ = ∈
2 2
2
2
2 2 2 2
(2 ) (2 )
4 2
2(2 )
2(2 ),2 2 | ( )
a a n n
n n
n n
a a n n n n I a a
− = −
= −
= −
∴ − = − − ∈ ⇒ −
6
2) กรณีที่ a เปนจํานวนคี่ 2 1,a n n I⇒ = + ∈
2 2
2
2
2
2 2 2 2
(2 1) (2 1)
4 4 1 2 1
4 2
2(2 )
2(2 ),2 2 | ( )
a a n n
n n n
n n
n n
a a n n n n I a a
− = + − +
= + + − −
= +
= +
∴ − = + + ∈ ⇒ −
2. การหาตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.)
การหา ห.ร.ม. ของ a และ b เขียนแทนดวย (a,b) คือ การหาจํานวนเต็มที่มากที่สุดที่
สามารถหารจํานวนเต็ม a และ b ลงตัว เมื่อ , 0a b ≠ มีวิธีการหา 2 วิธีคือ
2.1 การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการแยกตัวประกอบ
คือ การนําจํานวนเต็ม a และ b มาแยกตัวประกอบเปนจํานวนเฉพาะ แลวพิจารณาวา มี
จํานวนเฉพาะรวมกันใดบาง
ตัวอยาง เชน
1. จงหา ห.ร.ม. ของ 30 และ 168
วิธีทํา
30 2 3 5
168 2 3
= × ×
= × × 3 × 3 × 3
จะเห็นวา ทั้ง 30 และ 168 มีตัวประกอบเฉพาะรวมกัน คือ 2 และ 3
∴ห.ร.ม.ของ 30 และ 168 คือ 2 3× เทากับ 6
2. จงหา ห.ร.ม. ของ 40 และ 180
วิธีทํา
0 2 2 5
180 2
4 = × 2 × ×
= × 2 × 3 × 3 × 5
∴ห.ร.ม.ของ 40 และ 180 คือ 2 2 5 20× × =
7
3. จงหา ห.ร.ม. ของ 30 และ 73
วิธีทํา
0 2 5
73 1 73
3 = × 3 ×
= ×
ทั้ง 30 และ 73 ไมมีจํานวนเฉพาะรวมกันเลย
∴ห.ร.ม.ของ 30 และ 73 คือ 1
ขอสังเกต
จํานวนเต็ม a และ b ที่ห.ร.ม.ของ a และ b เทากับ (a,b)=1 เราเรียกวา “จํานวนเฉพาะ
สัมพัทธ”
4. ให a เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง 2|a และ 5|a ถา a และ 7 เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ
แลว จงหา ห.ร.ม. ของ a และ 70
วิธีทํา
1) 2|a a=2k1, 1k I∈
5|a a=5k2, 2k I∈
2) a และ 7 เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ หมายความวา ห.ร.ม.ของ a และ 7 เทากับ 1 คือ
a และ 7 ไมมีจํานวนเฉพาะที่เปนตัวประกอบรวมกัน ซึ่งก็หมายความวา a ไมใชพหุคูณ
ของ 7
3) 3 32 5 ,a k k= × × ไมใชพหุคูณของ 7
70 2 5 7= × ×
∴ห.ร.ม. ของ a และ 70 คือ 2x5=10
2.2 การหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิค
คือการหา ห.ร.ม. โดยใชวิธีการหารเหลือเศษตอๆกันไปเรื่อยๆ ตัวอยาง เชน
1. จงหา ห.ร.ม. ของ 30 กับ 168
วิธีทํา 168 30(5) 18= + ⇒
3 32 5 ,a k k I= × × ∈
30 18(1) 12
18 12(1) 6
12 6(2)
= + ⇒
= + ⇒
= ⇒
30 หาร 168 ไมลงตัว
18 หาร 30 ไมลงตัว18 หาร 30 ไมลงตัว
12 หาร 18 ไมลงตัว
6 หาร 12 ลงตัว
เปน ห.ร.ม.ของ 30 กับ 168
8
มีเทคนิคในการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิคดังนี้
2. จงหา ห.ร.ม.ของ 85 และ 20
วิธีทํา
4 85 20 4
80 20
5 0
3. จงหา ห.ร.ม.ของ 85 และ -20
วิธีทํา ให หา ห.ร.ม. ของ จํานวนบวกคือ 85 และ 20 ซึ่งก็คือ 5
∴ห.ร.ม.ของ 85 และ -20 ก็คือ 5
4. ถุงใบหนึ่งมีสมอยู 126 ผล และถุงอีกใบหนึ่งมีมังคุด 198 ผล ถาตองการแบงผลไม
เปนกองๆ โดยที่แตละกองตองเปนผลไมชนิดเดียวกัน และแตละกองตองมีจํานวนเทากัน
อยากทราบวาแตละกองจะมีผลไมไดมากที่สุดกี่ผลและจะแบงไดกี่กอง
วิธีทํา
ทําไดโดยการหา ห.ร.ม. ของผลไมทั้ง 2 ชนิด⇒ ซึ่งก็คือ การหาห.ร.ม.ของ 126 กับ 198
ซึ่งในที่นี้จะใชวิธีของยุคลิค
30 168
18 150
12
12
18
12
0 6
5
1
1
คือ ห.ร.ม.ของ 30 กับ 168
คือ ห.ร.ม.ของ 85 กับ 20
9
1 126 198 1
72 126
3 54 72 1
54 54
0 18
∴จะแบงผลไมไดมากที่สุดกองละ 18 ผล และแบงไดสม 7 กอง และแบงไดมังคุด 11 กอง
3. การหาตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.)
การหา ค.ร.น. สามารถทําได 2 วิธี
3.1) การหา ค.ร.น. โดยวิธีการแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบทําเหมือนการหา ห.ร.ม. โดยมีตัวอยางดังนี้
1) จงหา ค.ร.น.ของ 30 กับ 50
วิธีทํา แยกตัวประกอบของ 30 และ 50 ไดดังนี้
30 2 3 5
50 2
= × ×
= × 5 × 5
∴ตัวประกอบที่ซ้ํากันเอามาแคตัวเดียว⇒ค.ร.น.ของ 30 และ 50 คือ 2 5 3 5× × ×
การแยกตัวประกอบ ค.ร.น.
ห.ร.ม.
วิธีการแยกตัวประกอบ
วิธีการของยุคลิค
ตัวซ้ํา
10
2) จงหา ค.ร.น.ของ 100 กับ 150
วิธีทํา
0 2 5 5
50 2
10 = × 2 × ×
1 = × 3 × 5 × 5
∴ตัวประกอบที่ซ้ํากันเอามาแคตัวเดียว⇒ค.ร.น.ของ 100 และ 150 คือ
2 5 5 2 3× × × ×
3.2) การหา ค.ร.น. โดยวิธีการหาห.ร.ม.กอน
ใชหลักการที่วาการใชวิธีการหา ห.ร.ม.กอน โดยอาจใชวิธีของยุคลิค แลวใชกฎที่วา
ผลคูณของเลข 2 จํานวน เทากับ ห.ร.ม.ของ เลข 2 จํานวนนั้น×ค.ร.น.ของเลข 2 จํานวนนั้น
ตัวอยาง เชน
1. จงหา ค.ร.น.ของ 12 และ 20
วิธีทํา
1) หาห.ร.ม. ของ 12 และ 20 กอน โดยใชวิธีของยุคลิค
1 12 20 1
8 12
4 8 2
8
0
2) ผลคูณของเลข 2 จํานวน = ห.ร.ม. x ค.ร.น.
12x20 = 4 x ค.ร.น.
240 = 4 x ค.ร.น.
ค.ร.น. =
240
4
ค.ร.น. = 60
ตัวซ้ํา
11
แบบฝกหัด
1. จงใหเหตุผลการหารลงตัวและไมลงตัวในแตละขอตอไปนี้
1.1) 4 | 20
1.2) 5| 35
1.3) 7 | 49
1.4) 3 | 25/
1.5) 8 | 52/
1.6) 12 | 13/
12
2. ใหเติมผลหารและเศษเหลือตอไปนี้
2.1) 5 8(..........) 5= +
2.2) 28 4(..........) 0= +
2.3) 43 5(8) .............= +
2.4) 24 7( 4) .........− = − +
2.5) 75 9(..........) .........− = +
2.6) 33 5(..........) ...........− = +
2.7) 50 10(..........) .........= +
2.8) 39 40(..........) .........− = +
2.9) 66 3(..........) ..........= +
3. เมื่อหารจํานวนเต็มบวก x ดวย 5 มีเศษเหลือเปน 3 จงหาเศษเหลือเมื่อหาร 3x ดวย 5
13
4. เมื่อหารจํานวนเต็มบวก x ดวย 9 มีเศษเหลือเปน 5 จงหาเศษเหลือเมื่อหาร 7x ดวย 9
5. ให n เปนจํานวนเต็มบวก จงหาเศษเหลือเมื่อหาร n(n+1)(n+2) ดวย 3
14
6. เมื่อหารจํานวนเต็มบวก x ดวย 7 มีเศษเหลือเปน 3 จงหาเศษเหลือเมื่อหาร 5x ดวย 7
7. จงแสดงวา “กําลังสองของจํานวนคี่เปนจํานวนคี่”
8. จงแสดงวา ถา a เปนจํานวนเต็มแลว 2
a a− เปนจํานวนคู
15
9. จงแสดงวา ถา a เปนจํานวนคี่แลว
2
4| ( 1)a −
10. ให n เปนจํานวนเต็มบวก จงหาเศษเหลือเมื่อหาร n(n+1)(n+2) ดวย 3
16
11. จงหาจํานวนเต็มบวกทั้งหมดที่หาร 406 และ 379 แลวมีเศษเหลือเทากัน
12. จงหาจํานวนเต็มบวกทั้งหมดที่หาร 830 และ 1,118 แลวมีเศษเหลือเทากัน
17
13. จงหาห.ร.ม. ของ 3348 และ 2592 โดยใชขั้นตอนของยุคลิค
14. จงหาห.ร.ม. ของ 2244 และ 418 โดยใชขั้นตอนของยุคลิค
18
15. จงหาจํานวนเต็มที่มีคามากที่สุดที่หาร 325 , 229 และ 157 แลวมีเศษเหลือเทากัน
16. จงหาจํานวนเต็มที่มีคามากที่สุดที่หาร 2479 , 1998 และ 1073 แลวมีเศษเหลือเทากัน
พรอมทั้งหาเศษเหลือ
19
17. จงหาจํานวนเต็มบวกที่มีคามากที่สุดที่หาร 4770 แลวมีเศษเหลือเปน 13 และหาร 3970
มีเศษเหลือเปน 17
18. นักเรียนคนหนึ่งมีเหรียญบาท 198 เหรียญ เหรียญหาบาท 180 เหรียญ และเหรียญสิบบาท
126 เหรียญ ตองการแบงเหรียญแตละชนิดเปนกองใหมีจํานวนมากที่สุด จงหาวาจะไดเหรียญ
ทั้งหมดกี่กองและกองละกี่เหรียญ
20
19. จงหาจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยที่สุดที่หารดวย 6,9 และ 10 มีเศษเหลือเปน 1
20. จงหาจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยที่สุดที่หารดวย 26,36 และ 39 มีเศษเหลือเปน 5
21
21. จงหาจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยที่สุดที่หารดวย 7,11 และ 13 แลวมีเศษเหลือเปน 2,6
และ 8 ตามลําดับ
22. ที่สถานีรถโดยสารแหงหนึ่ง จะปลอยรถไปจังหวัด A ทุกๆ 15 นาที และปลอยรถไป
จังหวัด B ทุกๆ 25 นาที ถาสถานีนี้เริ่มปลอยรถไปจังหวัด A และจังหวัด B พรอมกัน เมื่อเวลา
8.00 น. จงหาวาอีกนานเทาไร สถานีนี้จะปลอยรถไปสองจังหวัดนี้พรอมกันอีกครั้ง
22
23. จงหาเศษที่เหลือจากการหาร 10
2 ดวย 23
24. จงหาเศษที่เหลือจากการหาร 30
5 ดวย 31
23
25. จงแสดงวา 10
3 9+ หารดวย 51 ลงตัว
26. จงแสดงวา ถา (n,7)=1 แลว 6
1n − หารดวย 7 ลงตัว

More Related Content

What's hot (20)

Linear1
Linear1Linear1
Linear1
 
Vector
VectorVector
Vector
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Pat1 54-10+key
Pat1 54-10+keyPat1 54-10+key
Pat1 54-10+key
 
60 real
60 real60 real
60 real
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
Pat1 59-03+key.
Pat1 59-03+key.Pat1 59-03+key.
Pat1 59-03+key.
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
 
Cal 3
Cal 3Cal 3
Cal 3
 
Cal 8
Cal 8Cal 8
Cal 8
 
สรุป matrices
สรุป matricesสรุป matrices
สรุป matrices
 
สรุปสถิติ
สรุปสถิติสรุปสถิติ
สรุปสถิติ
 
Cal 7
Cal 7Cal 7
Cal 7
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
Pat1 58-10+key
Pat1 58-10+keyPat1 58-10+key
Pat1 58-10+key
 
59 matrix-101059
59 matrix-10105959 matrix-101059
59 matrix-101059
 
Cal 9
Cal 9Cal 9
Cal 9
 
Cal 2
Cal 2Cal 2
Cal 2
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

Logic
LogicLogic
Logic
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
 
Statistic1
Statistic1Statistic1
Statistic1
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
โจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิตโจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิต
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
Kimjiiii
KimjiiiiKimjiiii
Kimjiiii
 

Similar to Preliminary number theory

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfrattapoomKruawang2
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดmaneewaan
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]IKHG
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวนguest89040d
 

Similar to Preliminary number theory (20)

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวด
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
ทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวนทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวน
 
Learning management plan 1
Learning management plan 1Learning management plan 1
Learning management plan 1
 
Pat1 58-03+key
Pat1 58-03+keyPat1 58-03+key
Pat1 58-03+key
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
 
666
666666
666
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[3]
Prob[3]Prob[3]
Prob[3]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 

More from Thanuphong Ngoapm

เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565Thanuphong Ngoapm
 
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfการประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfThanuphong Ngoapm
 
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์Thanuphong Ngoapm
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfThanuphong Ngoapm
 
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfmath_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfเฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfThanuphong Ngoapm
 
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfสถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfThanuphong Ngoapm
 
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfการให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfจำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfเซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
analyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfanalyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfThanuphong Ngoapm
 

More from Thanuphong Ngoapm (20)

เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
 
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
 
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfการประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
 
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
 
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfmath_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfเฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
 
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
 
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
 
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
 
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfสถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
 
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfการให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
 
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfจำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
 
เซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfเซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdf
 
analyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfanalyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdf
 
4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf
 

Preliminary number theory

  • 2. 2 ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน 1. การหาร กําหนดให a,b เปนจํานวนเต็ม ( , )a b I∈ a หาร b ลงตัว เราเขียนสัญลักษณ |a b หมายความวา b เปนพหุคูณของ a หรือเขียนไดวา a หาร b ไมลงตัว เราเขียนสัญลักษณ |a b/ หมายความวา b ไมเปนพหุคูณของ a หรือ a หาร b แลวเหลือเศษ r เขียนไดวา เราเรียก a วาตัวหาร b วาตัวตั้ง n วาผลหาร และ r วาเศษจากการหาร ( ) + ตัวอยาง เชน 1. จงพิจารณาการหารตอไปนี้ 1.1) 3 หาร 7 |a b b an= เมื่อ n I∈ |a b/ b an r= + เมื่อ n I∈ และ 0 r a< < ตัวตั้ง = ตัวหาร × ผลหาร เศษ
  • 3. 3 ตัวตั้ง คือ 7 ตัวหารคือ 3 หาผลหารกับเศษ โดยการเขียน 3 หาร 7 ใหอยูในรูป b an= หรือ b an r= + เพราะฉะนั้น ผลหารคือ 2 และ เศษคือ 1 1.2) -3 หาร 7 ตัวตั้ง คือ 7 ตัวหารคือ -3 หาผลหารกับเศษ โดยการเขียน -3 หาร 7 ใหอยูในรูป b an= หรือ b an r= + เพราะฉะนั้น ผลหารคือ -2 และ เศษคือ 1 1.3) 3 หาร -7 ตัวตั้ง คือ -7 ตัวหารคือ 3 หาผลหารกับเศษ โดยการเขียน 3 หาร -7 ใหอยูในรูป b an= หรือ b an r= + เพราะฉะนั้น ผลหารคือ -3 และ เศษคือ 2 1.4) -3 หาร -7 ตัวตั้ง คือ -7 ตัวหารคือ -3 หาผลหารกับเศษ โดยการเขียน -3 หาร -7 ใหอยูในรูป b an= หรือ b an r= + เพราะฉะนั้น ผลหารคือ 3 และ เศษคือ 2 7=3(2)+1 7=-3(-2)+1 -7=3(-3)+2 -7=-3(3)+2
  • 4. 4 2. ให a,b และ c เปนจํานวนเต็ม โดยที่ 0a ≠ และ 0b ≠ จงพิสูจนวา ถา |a b และ |b c และ |a c วิธีทํา 1. |a b b an⇒ = เมื่อ n I∈ 2. | ,b c c bm m I⇒ = ∈ 3. จาก (1) และ (2) ( ) ( ), | c an m c a nm nm I a c = = ∈ ∴ 3. ให m และ n เปนจํานวนเต็มบวก ถา 5 หาร m เหลือเศษ 4 และ 5 หาร n เหลือเศษ 2 แลว 5 หาร m+n เหลือเศษเทาใด วิธีทํา 1) ตีความหมายของ 5 หาร m เหลือเศษ 4 2) 5 หาร n เหลือเศษ 2 3) 1 2(5 4) (5 2)m n k k+ = + + + 1 2 1 2 1 2 5 5 6 5( ) 5 1 5( 1) 1 k k k k k k = + + = + + + = + + + 4) 1 2 1 25( 1) 1,( 1)m n k k k k I+ = + + + + + ∈ ……………แสดงวา 5 หาร m+n เหลือเศษ 1 1 15 4,m k k I= + ∈ 2 25 2,n k k I= + ∈
  • 5. 5 4. จงหาจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 500 ที่หารดวย 3 หรือ 5 ลงตัว วามีกี่จํานวน วิธีทํา ใชเรื่องเซตมาอธิบายวิธีทําขอนี้ 1) ใหเซต A = เซตของจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 500 ที่ หารดวย 3 ลงตัว เซต B = เซตของจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 500 ที่หารดวย 5 ลงตัว A B∪ = เซตของจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 500 ที่หารดวย 3 หรือ 5 ลงตัว 2) จาก ( ) ( ) ( ) ( )n A B n A n B n A B∪ = + − ∩ {3,6,9,15,...,498} ( ) 166 {5,10,15,20,...,500} ( ) 100 {15,30,45,60,...,495} ( ) 33 ( ) 166 100 33 233 A n A B n B A B n A B n A B = ⇒ = = ⇒ = ∩ = ⇒ ∩ = ∴ ∪ = + − = 5. ให A,B และ C เปนจํานวนเต็ม จงแสดงวา ถา |a b และ |a c แลว | ( )a bm cn+ เมื่อ ,m n I∈ วิธีทํา 1) 1 1| ,a b b ak k I⇒ = ∈ 2) 2 2| ,a c c ak k I⇒ = ∈ 3) 1 2( ) ( )bm cn ak m ak n+ = + 1 2 1 2 ( ) ( ) ( ) k m a k n a k m k n a = + = + 4) 1 2 1 2( ) ,bm cn k m k n a k m k n I+ = + + ∈ | ( )a bm cn∴ + ลงตัว 6. จงพิสูจนวา ถา a เปนจํานวนเต็มแลว 2 2 | ( )a a− วิธีทํา 1) กรณีที่ a เปนจํานวนคู 2 ,a n n I⇒ = ∈ 2 2 2 2 2 2 2 2 (2 ) (2 ) 4 2 2(2 ) 2(2 ),2 2 | ( ) a a n n n n n n a a n n n n I a a − = − = − = − ∴ − = − − ∈ ⇒ −
  • 6. 6 2) กรณีที่ a เปนจํานวนคี่ 2 1,a n n I⇒ = + ∈ 2 2 2 2 2 2 2 2 2 (2 1) (2 1) 4 4 1 2 1 4 2 2(2 ) 2(2 ),2 2 | ( ) a a n n n n n n n n n a a n n n n I a a − = + − + = + + − − = + = + ∴ − = + + ∈ ⇒ − 2. การหาตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) การหา ห.ร.ม. ของ a และ b เขียนแทนดวย (a,b) คือ การหาจํานวนเต็มที่มากที่สุดที่ สามารถหารจํานวนเต็ม a และ b ลงตัว เมื่อ , 0a b ≠ มีวิธีการหา 2 วิธีคือ 2.1 การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการแยกตัวประกอบ คือ การนําจํานวนเต็ม a และ b มาแยกตัวประกอบเปนจํานวนเฉพาะ แลวพิจารณาวา มี จํานวนเฉพาะรวมกันใดบาง ตัวอยาง เชน 1. จงหา ห.ร.ม. ของ 30 และ 168 วิธีทํา 30 2 3 5 168 2 3 = × × = × × 3 × 3 × 3 จะเห็นวา ทั้ง 30 และ 168 มีตัวประกอบเฉพาะรวมกัน คือ 2 และ 3 ∴ห.ร.ม.ของ 30 และ 168 คือ 2 3× เทากับ 6 2. จงหา ห.ร.ม. ของ 40 และ 180 วิธีทํา 0 2 2 5 180 2 4 = × 2 × × = × 2 × 3 × 3 × 5 ∴ห.ร.ม.ของ 40 และ 180 คือ 2 2 5 20× × =
  • 7. 7 3. จงหา ห.ร.ม. ของ 30 และ 73 วิธีทํา 0 2 5 73 1 73 3 = × 3 × = × ทั้ง 30 และ 73 ไมมีจํานวนเฉพาะรวมกันเลย ∴ห.ร.ม.ของ 30 และ 73 คือ 1 ขอสังเกต จํานวนเต็ม a และ b ที่ห.ร.ม.ของ a และ b เทากับ (a,b)=1 เราเรียกวา “จํานวนเฉพาะ สัมพัทธ” 4. ให a เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง 2|a และ 5|a ถา a และ 7 เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ แลว จงหา ห.ร.ม. ของ a และ 70 วิธีทํา 1) 2|a a=2k1, 1k I∈ 5|a a=5k2, 2k I∈ 2) a และ 7 เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ หมายความวา ห.ร.ม.ของ a และ 7 เทากับ 1 คือ a และ 7 ไมมีจํานวนเฉพาะที่เปนตัวประกอบรวมกัน ซึ่งก็หมายความวา a ไมใชพหุคูณ ของ 7 3) 3 32 5 ,a k k= × × ไมใชพหุคูณของ 7 70 2 5 7= × × ∴ห.ร.ม. ของ a และ 70 คือ 2x5=10 2.2 การหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิค คือการหา ห.ร.ม. โดยใชวิธีการหารเหลือเศษตอๆกันไปเรื่อยๆ ตัวอยาง เชน 1. จงหา ห.ร.ม. ของ 30 กับ 168 วิธีทํา 168 30(5) 18= + ⇒ 3 32 5 ,a k k I= × × ∈ 30 18(1) 12 18 12(1) 6 12 6(2) = + ⇒ = + ⇒ = ⇒ 30 หาร 168 ไมลงตัว 18 หาร 30 ไมลงตัว18 หาร 30 ไมลงตัว 12 หาร 18 ไมลงตัว 6 หาร 12 ลงตัว เปน ห.ร.ม.ของ 30 กับ 168
  • 8. 8 มีเทคนิคในการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิคดังนี้ 2. จงหา ห.ร.ม.ของ 85 และ 20 วิธีทํา 4 85 20 4 80 20 5 0 3. จงหา ห.ร.ม.ของ 85 และ -20 วิธีทํา ให หา ห.ร.ม. ของ จํานวนบวกคือ 85 และ 20 ซึ่งก็คือ 5 ∴ห.ร.ม.ของ 85 และ -20 ก็คือ 5 4. ถุงใบหนึ่งมีสมอยู 126 ผล และถุงอีกใบหนึ่งมีมังคุด 198 ผล ถาตองการแบงผลไม เปนกองๆ โดยที่แตละกองตองเปนผลไมชนิดเดียวกัน และแตละกองตองมีจํานวนเทากัน อยากทราบวาแตละกองจะมีผลไมไดมากที่สุดกี่ผลและจะแบงไดกี่กอง วิธีทํา ทําไดโดยการหา ห.ร.ม. ของผลไมทั้ง 2 ชนิด⇒ ซึ่งก็คือ การหาห.ร.ม.ของ 126 กับ 198 ซึ่งในที่นี้จะใชวิธีของยุคลิค 30 168 18 150 12 12 18 12 0 6 5 1 1 คือ ห.ร.ม.ของ 30 กับ 168 คือ ห.ร.ม.ของ 85 กับ 20
  • 9. 9 1 126 198 1 72 126 3 54 72 1 54 54 0 18 ∴จะแบงผลไมไดมากที่สุดกองละ 18 ผล และแบงไดสม 7 กอง และแบงไดมังคุด 11 กอง 3. การหาตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) การหา ค.ร.น. สามารถทําได 2 วิธี 3.1) การหา ค.ร.น. โดยวิธีการแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบทําเหมือนการหา ห.ร.ม. โดยมีตัวอยางดังนี้ 1) จงหา ค.ร.น.ของ 30 กับ 50 วิธีทํา แยกตัวประกอบของ 30 และ 50 ไดดังนี้ 30 2 3 5 50 2 = × × = × 5 × 5 ∴ตัวประกอบที่ซ้ํากันเอามาแคตัวเดียว⇒ค.ร.น.ของ 30 และ 50 คือ 2 5 3 5× × × การแยกตัวประกอบ ค.ร.น. ห.ร.ม. วิธีการแยกตัวประกอบ วิธีการของยุคลิค ตัวซ้ํา
  • 10. 10 2) จงหา ค.ร.น.ของ 100 กับ 150 วิธีทํา 0 2 5 5 50 2 10 = × 2 × × 1 = × 3 × 5 × 5 ∴ตัวประกอบที่ซ้ํากันเอามาแคตัวเดียว⇒ค.ร.น.ของ 100 และ 150 คือ 2 5 5 2 3× × × × 3.2) การหา ค.ร.น. โดยวิธีการหาห.ร.ม.กอน ใชหลักการที่วาการใชวิธีการหา ห.ร.ม.กอน โดยอาจใชวิธีของยุคลิค แลวใชกฎที่วา ผลคูณของเลข 2 จํานวน เทากับ ห.ร.ม.ของ เลข 2 จํานวนนั้น×ค.ร.น.ของเลข 2 จํานวนนั้น ตัวอยาง เชน 1. จงหา ค.ร.น.ของ 12 และ 20 วิธีทํา 1) หาห.ร.ม. ของ 12 และ 20 กอน โดยใชวิธีของยุคลิค 1 12 20 1 8 12 4 8 2 8 0 2) ผลคูณของเลข 2 จํานวน = ห.ร.ม. x ค.ร.น. 12x20 = 4 x ค.ร.น. 240 = 4 x ค.ร.น. ค.ร.น. = 240 4 ค.ร.น. = 60 ตัวซ้ํา
  • 12. 12 2. ใหเติมผลหารและเศษเหลือตอไปนี้ 2.1) 5 8(..........) 5= + 2.2) 28 4(..........) 0= + 2.3) 43 5(8) .............= + 2.4) 24 7( 4) .........− = − + 2.5) 75 9(..........) .........− = + 2.6) 33 5(..........) ...........− = + 2.7) 50 10(..........) .........= + 2.8) 39 40(..........) .........− = + 2.9) 66 3(..........) ..........= + 3. เมื่อหารจํานวนเต็มบวก x ดวย 5 มีเศษเหลือเปน 3 จงหาเศษเหลือเมื่อหาร 3x ดวย 5
  • 13. 13 4. เมื่อหารจํานวนเต็มบวก x ดวย 9 มีเศษเหลือเปน 5 จงหาเศษเหลือเมื่อหาร 7x ดวย 9 5. ให n เปนจํานวนเต็มบวก จงหาเศษเหลือเมื่อหาร n(n+1)(n+2) ดวย 3
  • 14. 14 6. เมื่อหารจํานวนเต็มบวก x ดวย 7 มีเศษเหลือเปน 3 จงหาเศษเหลือเมื่อหาร 5x ดวย 7 7. จงแสดงวา “กําลังสองของจํานวนคี่เปนจํานวนคี่” 8. จงแสดงวา ถา a เปนจํานวนเต็มแลว 2 a a− เปนจํานวนคู
  • 15. 15 9. จงแสดงวา ถา a เปนจํานวนคี่แลว 2 4| ( 1)a − 10. ให n เปนจํานวนเต็มบวก จงหาเศษเหลือเมื่อหาร n(n+1)(n+2) ดวย 3
  • 16. 16 11. จงหาจํานวนเต็มบวกทั้งหมดที่หาร 406 และ 379 แลวมีเศษเหลือเทากัน 12. จงหาจํานวนเต็มบวกทั้งหมดที่หาร 830 และ 1,118 แลวมีเศษเหลือเทากัน
  • 17. 17 13. จงหาห.ร.ม. ของ 3348 และ 2592 โดยใชขั้นตอนของยุคลิค 14. จงหาห.ร.ม. ของ 2244 และ 418 โดยใชขั้นตอนของยุคลิค
  • 18. 18 15. จงหาจํานวนเต็มที่มีคามากที่สุดที่หาร 325 , 229 และ 157 แลวมีเศษเหลือเทากัน 16. จงหาจํานวนเต็มที่มีคามากที่สุดที่หาร 2479 , 1998 และ 1073 แลวมีเศษเหลือเทากัน พรอมทั้งหาเศษเหลือ
  • 19. 19 17. จงหาจํานวนเต็มบวกที่มีคามากที่สุดที่หาร 4770 แลวมีเศษเหลือเปน 13 และหาร 3970 มีเศษเหลือเปน 17 18. นักเรียนคนหนึ่งมีเหรียญบาท 198 เหรียญ เหรียญหาบาท 180 เหรียญ และเหรียญสิบบาท 126 เหรียญ ตองการแบงเหรียญแตละชนิดเปนกองใหมีจํานวนมากที่สุด จงหาวาจะไดเหรียญ ทั้งหมดกี่กองและกองละกี่เหรียญ
  • 20. 20 19. จงหาจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยที่สุดที่หารดวย 6,9 และ 10 มีเศษเหลือเปน 1 20. จงหาจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยที่สุดที่หารดวย 26,36 และ 39 มีเศษเหลือเปน 5
  • 21. 21 21. จงหาจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยที่สุดที่หารดวย 7,11 และ 13 แลวมีเศษเหลือเปน 2,6 และ 8 ตามลําดับ 22. ที่สถานีรถโดยสารแหงหนึ่ง จะปลอยรถไปจังหวัด A ทุกๆ 15 นาที และปลอยรถไป จังหวัด B ทุกๆ 25 นาที ถาสถานีนี้เริ่มปลอยรถไปจังหวัด A และจังหวัด B พรอมกัน เมื่อเวลา 8.00 น. จงหาวาอีกนานเทาไร สถานีนี้จะปลอยรถไปสองจังหวัดนี้พรอมกันอีกครั้ง
  • 22. 22 23. จงหาเศษที่เหลือจากการหาร 10 2 ดวย 23 24. จงหาเศษที่เหลือจากการหาร 30 5 ดวย 31
  • 23. 23 25. จงแสดงวา 10 3 9+ หารดวย 51 ลงตัว 26. จงแสดงวา ถา (n,7)=1 แลว 6 1n − หารดวย 7 ลงตัว