SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
Pisit Nakjai
เมทริกซ์ (Matrix)
สัญลักษณ์ของเมทริกซ์
• เมตริกซ์ (Matrix) หมายถึง กลุ่มของจานวนที่เรียงเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุม
ฉาก โดยที่แต่ละแถวมีจานวนเท่าๆ กันและอยู่ในเครื่องหมาย [] หรือ ( )
ก็ได้
• ตัวเลขภายใน [] จะเรียกว่าสมาชิกใน Matrix
• Matrix ที่มีจานวนแถวเท่ากับ m และ จานวนหลักเท่ากับ n เราเรียกว่า
Matrix mxn
• ความรู้เกี่ยวกับเมตริกซ์ จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการแก้ปัญหาระบบ
สมการเส้นตรง และใช้ในงานเรื่อง Graph , Image, Vector
ตัวอย่าง Matrix
• เมตริกซ์ A มีมิติ 3×3 จะเขียนเมตริกซ์ ด้วยสัญลักษณ์
จะเห็นมีสมาชิก 9 ตัว โดยมีสัญลักษณ์ทั่วไปคือ
A = [aij]mxn
i=1,2,3,4…,m
j=1,2,3,4…,n
หมายถึง เมตริกซ์ A มีจานวนแถว m จานวนหลัก n
โดยที่ a11 หมายถึงสมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 1 หลักที่ 1
a23 หมายถึงสมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 2 หลักที่ 3
aij หมายถึงสมาชิกที่อยู่ในแถวที่ i หลักที่ j
11 12 13
21 22 23
31 32 33 3 3x
a a a
a a a a
a a a
 
 
  
 
 
ชนิดของเมตริกซ์
การเรียงตัวของกลุ่มตัวเลข หรือสมาชิก สามารถจาแนกและ
เรียกชื่อเฉพาะและมีคุณสมบัติดังนี้
1. เมตริกซ์แถว (Row Matrix)
2. เมตริกซ์หลัก(Column Matrix)
3. เมตริกซ์ศูนย์(Zero Matrix)
4. เมตริกซ์จัตุรัส (Square Matrix)
5. สเกลาร์เมตริกซ์(Scalar Matrix)
6. เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix)
เมตริกซ์แถว (Row Matrix)
เมตริกซ์แถว (Row Matrix) เป็นเมตริกซ์ที่มีสมาชิกเพียงแถวเดียว
เช่น
เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 1×3
เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 1×4
เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 1×n
 1 3
0 1 2 x
A  
 1 4
1 3 5 7 x
A  
 1
1 5 xn
A  
เมตริกซ์หลัก(Column Matrix)
เมตริกซ์หลัก(Column Matrix) เป็นเมตริกซ์ที่มี สมาชิกเพียง หลักเดียว
เช่น
เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 3×1
เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 4×1
เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ m×1
3 1
1
2
9 x
A
 
   
  
4 1
1
5
0
6 x
A
 
  
 
 
 
1
2
6 mx
A
 
   
  

เมตริกซ์ศูนย์(Zero Matrix)
เมตริกซ์ศูนย์(Zero Matrix) เป็นเมตริกซ์ที่มี สมาชิกทุกตัวเป็น 0 ทุกตัว
เช่น
3 1
0
0
0 x
A
 
   
  
 1 3
0 0 0 x
A 
2 2
0 0
0 0 x
A
 
  
 
3 3
0 0 0
0 0 0
0 0 0 x
A
 
   
  
เมตริกซ์จัตุรัส (Square Matrix)
• เมตริกซ์จัตุรัส (Square Matrix) เป็นเมตริกซ์ที่มีจานวนแถวและหลัก
เท่ากัน
3 3
5 1 2
9 5 3
4 8 7 x
A
 
   
  
2 2
9 5
4 7 x
A
 
  
 
สเกลาร์เมตริกซ์(Scalar Matrix)
สเกลาร์เมตริกซ์(Scalar Matrix) เป็นเมตริกซ์จัตุรัส ที่มีสมาชิกในแนวเส้น
ทแยงมุมหลัก(Main Diagonal) เท่ากันหมด และสมาชิกที่เหลือเป็น 0
หมด
เช่น
3 3
5 0 0
0 5 0
0 0 5 x
A
 
   
   3 3
9 0 0
0 9 0
0 0 9 x
A
 
   
  
2 2
7 0
0 7 x
A
 
  
 
เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix)
• เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix) เป็น scalar matrix ที่มีสมาชิกใน
แนวเส้นทแยงมุมหลักมีค่าเป็น 1 เท่ากันหมด สัญลักษณ์ ใช้ I แทน Identity
Matrix
เมตริกซ์เอกลักษณ์เป็นเมตริกซ์ที่มีคุณสมบัติสาคัญในการคูณ การหาอิน
เวอร์สของเมตริกซ์ A
3 3
3 3
1 0 0
0 1 0
0 0 1
x
x
I
 
   
  
2 2
2 2
1 0
0 1
x
x
I
 
  
 
ทรานสโพสของเมตริกซ์(Transpose Matrix)
ถ้า A เป็นเมตริกซ์ที่มี มิติ 33 ทรานสโพสของเมตริกซ์ A เกิด
จากการเปลี่ยนที่จากแถวเป็นหลักของเมตริกซ์ A
สัญลักษณ์ At แทน ทรานสโพสของเมตริกซ์ A
นั่นคือ A = [aij] มีมิติ m  n
At = [aji] มีมิติ n  m
ตัวอย่างเช่น
3 3
1 2 3
4 5 6
7 8 9 x
A
 
   
   3 3
1 4 7
2 5 8
3 6 9
t
x
A
 
   
  
การเท่ากันของเมตริกซ์
เมตริกซ์ใด ๆ จะเป็นเมตริกซ์เท่ากันภายใต้เงื่อนไข
1. เมตริกซ์จะต้องมีมิติเท่ากัน
2. สมาชิกในแต่ละตาแหน่งเท่ากัน
เช่น Matrix A = Matrix B
2 3
2 3
1 2 2
0.5 4 1
8
1 2
4
1
16 1
2
x
x
A
B
 
   
 
 
  
 
  
การบวกและการลบเมตริกซ์
การบวกและการลบเมตริกซ์สองเมตริกซ์ใด ๆ สามารถกระทาได้ภายใต้เงื่อนไข
เมตริกซ์
1. ทั้งสองต้องมีมิติเท่ากัน
2. นาสมาชิกที่อยู่ตาแหน่งเดียวกันบวกหรือลบกัน
นิยาม ให้ A = [aij]mn และ B = [bij]mn จะได้
(1) A + B = C = [c1j]mn โดยที่ Cij = Aij + Bij
(2) A - B = C = [c1j]mn โดยที่ Cij = Aij - Bij
ตัวอย่าง
1.
จากโจทย์จงหาค่าของ
B – A =
(A + B ) + C =
(B + A) - C =
B – (A + C) =
A + ( B + C) =
1 2 3 5 3 8
, ,
2 7 6 2 4 1
A B C
      
            
1 ( 3) 2 5 2 7
2 6 7 ( 2) 8 5
A B
      
          
สมบัติของการบวก
สมบัติของการบวก
ถ้า A , B , C เป็นเมตริกซ์มิติ mn
1. A + B เป็นเมตริกซ์มิติ mn (คุณสมบัติปิด)
2. A + B = B + A (คุณสมบัติสลับที่)
3. A + (B + C) = (A + B ) + C (คุณสมบัติเปลี่ยนกลุ่มได้)
4. 0 + A = A + 0 = A
5. A + (-A) = 0
6.
7.
ij mxn
kA ka   
CBCABAC  )(
การคูณเมตริกซ์ ด้วย สเกลาร์
กาหนด k เป็นสเกลาร์ ใด ๆ แล้ว
a b ka kb
kA k
c d kc kd
   
    
   
3 3
3 3
3 3
a b a b
A
c d c d
   
    
   
การคูณเมตริกซ์ ด้วยเมตริกซ์
การคูณเมตริกซ์ ด้วยเมตริกซ์
เมตริกซ์ จะคูณกันได้ก็ต่อเมื่อ จานวนหลักของเมตริกซ์ตัวตั้งเท่ากับ
จานวนแถวของเมตริกซ์ตัวคูณ
ถ้า A , B ,C เป็นเมตริกซ์
A มีมิติ m  n
B มีมิติ n  p และ
AB = C แล้ว C มีมิติ m  p
การคูณ คือ แถวของตัวตั้งไปคูณกับหลักของตัวคูณ ทาเช่นนี้เรื่อย ๆ จน
ครบทุกหลักและเริ่มที่แถวที่สองต่อไป
22 เป็นตัวอย่าง
1 2 2 1
,
3 4 4 3
A B
    
        
1 2 2 1
3 4 4 3
AB x
    
        
   
1
 1  2  2 4      2 – 8   
1 2
3 3
2
0
4 4
1x
   
        

   
   
1 2 12
 1 1 +2 3      1– 6 
3 3
7
4 4
x
   
          


   
1 2 2
3 1 4 3 3 12
1
3 4 3
15
4
x
   
 


           
   
1 2 1
 3 2  4 4 6 –16   
2
3 4 4
22
3
x
   
           

 
10 7
22 15
AB
  
    
ดีเทอร์มิแนนท์ (Determinant)
ดีเทอร์มิแนนท์ (Determinant) เป็นค่าที่ได้จากการคานวณจากเมตริกซ์ที่
กาหนดให้ A เป็น nn เมตริกซ์ ดีเทอร์มิแนนท์ของเมตริกซ์ A เขียน
แทนด้วย det(A) หรือ A ดังนี้
1. det(At) =det(A)
2. det(An) = (det(A))n
3. det(AB) = det(A)det(B)
 , det A ad bc
a b a b
A
c d c d
   
      
   
-
+
การหา Determinant โดยใช้วิธีการการกระจาย
Cofactor
ไมเนอร์(Minor) ของเมตริกซ์ A คือดีเทอร์มีแนนท์ของเมตริกซ์ A ที่เกิดจาก
การตัดแถว i และหลักที่ j ออก
โคแฟคเตอร์ของ aij คือผลคูณของ (-1)i+j และไมเนอร์ของ aij เขียนแทนโค
แฟคเตอร์ของ aij ด้วย Cof.Aij
โดยที่ Aij = (-1)I+j Mij
และ Mij แทนไมเนอร์ของ aij
จงหาค่าของ โคแฟคเตอร์ A12 และ A23
หลักการ: จะหาค่า โคแฟคเตอร์ A12 ต้อง
ตัดแถวที่ 1 และ Column ที่ 2 ออก จะได้ไมเนอร์
ของ A12
2 1 0
9 4 6
5 3 8
A
 
   
  
2 1 0
9 4 6
5 3 8
 
 
 
  
9 6
5 8
 
(1 2)
12
9 6
1 42
5 8
A

   
การหาค่า A23 ก็ทาเช่นเดียวกัน คือตัดแถวที่ 2 และ Column ที่ 3 ออก จะ
ได้
2 1 0
9 4 6
5 3 8
 
 
 
  
2 1
5 3
 
(2 3)
23
2 1
1 1
5 3
A

   
การหา Determinant โดยใช้วิธีการการกระจาย
Cofactor
ทาการหา Cofactor ของแต่ละหลัก
เพื่อให้งานต่อการหา เราจะพยายามใช้ ตาแหน่งที่เป็น 0 เนื่องจากเมื่อทาการ
หา Det แล้วจะได้ค่าเป็น 0 เช่นกัน
a b c
e f d f d e
d e f a b c
h i g i g h
g h i
  
อินเวอร์การคูณของเมตริกซ์ (Inverse Matrix)
การหาอินเวอร์ของเมตริกซ์ ให้มีคุณสมบัติ AA-1 – In = A-1A
เมตริกซ์ที่จะหาอินเวอร์สได้ต้องเป็นเมตริกซ์จัตุรัส
เมตริกซ์ผูกพัน (Adjoint Matrix)
เมตริกซ์ผูกพันธ์ของ A คือทรานสโพสของโคแฟกเตอร์ของเมตริกซ์A
1
1
1
,
det( )
1
( )
det( )
a b d b
A A
c d c aA
A Adj A
A


   
       

adj.A = (Cof.A)t
เมทริกซ์ (Matrix)

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
Aon Narinchoti
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
Aon Narinchoti
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
Jeerapob Seangboonme
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
krurutsamee
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
krookay2012
 

What's hot (20)

49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 

Viewers also liked

เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
K'Keng Hale's
 
เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1
Noir Black
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์
K'Keng Hale's
 

Viewers also liked (13)

Addition matrix
Addition matrixAddition matrix
Addition matrix
 
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์
 
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติO-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็นO-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
 
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผลO-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
 
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชันแยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
 

Similar to เมทริกซ์ (Matrix)

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
Krudodo Banjetjet
 
09 multi arrays
09 multi arrays09 multi arrays
09 multi arrays
a-num Sara
 

Similar to เมทริกซ์ (Matrix) (20)

Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
แบบฝึกชุด 1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค31202 ภาคเรียนที่2 ปี2556
แบบฝึกชุด 1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค31202 ภาคเรียนที่2 ปี2556แบบฝึกชุด 1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค31202 ภาคเรียนที่2 ปี2556
แบบฝึกชุด 1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค31202 ภาคเรียนที่2 ปี2556
 
Matrix2
Matrix2Matrix2
Matrix2
 
Chapter1 vector
Chapter1 vectorChapter1 vector
Chapter1 vector
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdf
 
31201-01-03 Type
31201-01-03 Type31201-01-03 Type
31201-01-03 Type
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
1.1 matrix
1.1 matrix1.1 matrix
1.1 matrix
 
09 multi arrays
09 multi arrays09 multi arrays
09 multi arrays
 

เมทริกซ์ (Matrix)