SlideShare a Scribd company logo
1 of 134
Download to read offline
1
คูลําดับผลคูณคารทีเซียน
ความสัมพันธ
ฟงกชัน
โจทยเกี่ยวกับความสัมพันธและฟงกชัน
โดเมนและเรนจ
พีชคณิตของฟงกชัน
•f+g
•f-g
•f
•
g
•f/g
ฟงกชันประกอบ
•fg
•gf
กราฟของฟงกชันและความสัมพันธ
•ฟงกชันเชิงเสน,ฟงกชันกําลังสอง
•ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล
•ฟงกชันคาสมบูรณ,ฟงกชันขั้นบันได
•กราฟภาคตัดกรายเชนวงกลม
พาราโบลา,ไฮเปอรโบลา,วงรี
เปนตน
•ฟงกชันจากAไปBinto
•ฟงกชันจากAไปBonto
•ฟงกชันจากAไปBonto
แบบทั่วถึง
•ฟงกชันจากAไปB1-1
•ฟงกชันจากAไปB1-1
แบบทั่วถึง
อินเวอรสของความสัมพันธและฟงกชัน
2
ความสัมพันธและฟงกชัน
1. คูลําดับหรือคูอันดับ
คูอันดับ คือสัญลักษณที่แสดงการจับคูกันระหวางสิ่ง 2 สิ่ง แลวแทนสัญลักษณดวย (a,b)
เมื่อ a แทนสมาชิกตัวที่หนึ่งหรือสมาชิกตัวหนา และ b แทนสมาชิกตัวที่สองหรือสมาชิกตัวหลัง
เชน การจับคูระหวางจํานวนเกาอี้และจํานวนโตะในหองหองหนึ่ง ถาในหองนั้นมีจํานวนเกาอี้อยู
14 ตัว และมีจํานวนโตะอยู 2 ตัว จะเขียนแทนดวยคูอันดับ (14,2) เปนตน
1.1 ความเทากันของคูอันดับ
คูอันดับ (a,b) = (c,d) ก็ตอเมื่อ a = c และ b = d
เมื่อ a,bc,d เปนจํานวนจริงใดๆ
ตัวอยางเชน จงหาคาตัวแปรจากคูอันดับตอไปนี้
1. จงหาคาตัวแปรจากคูอันดับตอไปนี้ (4,a) = (b,7)
จะสรุปไดวา 4=b และ a=7
2. คูอันดับ (3,4)≠ (2,1) , (2,0) ≠ (0,2)
3. จงหาคาของ x และ y ที่ทําให (2x + y, 24) = (6, 3x – y)
จะสรุปไดวา 2x + y = 6 ………. และ 3x – y = 24…………
+ ………………..(2x+y+3x-y) = 6+24
5x = 30
x = 6
1 2
1 2
3
แทนคา x=6 ลงในสมการ
2(6) + y = 6
12 + y = 6
y = 6-12
y = -6
4. กําหนดให (2x,y-2) = (x+3,1) จงหา (x+y,x-y)
จะสรุปไดวา 2x = x+3 และ y-2 = 1
2x-x = 3 y = 1+2
x = 3 y = 3
∴(x+y,x-y) = (3+3,3-3)
= (6,0)
2. ผลคูณคารทีเชียน
ผลคูณคารทีเชียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนาเปนสมาชิกใน
เซต A และมีสมาชิกตัวหลังเปนสมาชิกในเซต B เขียนแทนดวย AxB อานวา เอคูณบี หรือ
เอครอสบี
{ }( , ) / ,AxB a b a A b B= ∈ ∈
ตัวอยางเชน
1. กําหนด A={ }1,2,3 , B={ }4,5 จงหา AxB
วิธีทํา เปนการจับคูคูอันดับระหวางสมาชิกตัวหนาที่อยูในเซต A และสมาชิกตัวหลังที่อยูในเซต
B
4 4 4
1 2 3
5 5 5
∴AxB ={ }(1,4),(1,5),(2,4),(2,5),(3,4),(3,5)
1
4
ขอสังเกต – จํานวนสมาชิกของ AxB เทากับ จํานวนสมาชิกของ A คูณดวยจํานวนสมาชิก
ของ B
( ) ( ) ( )n AxB n A x n B=
2. กําหนดให A={ }1,2,3 , B={ }, ,a b c และ C={ },a b จงหา
2.1) ( )Ax B C∩
2.2) ( ) ( )AxB AxC∩
2.3) ( )Ax B C∪
2.4) ( ) ( )AxB AxC∪
2.5) ( )Ax B C−
2.6) ( ) ( )AxB AxC−
วิธีทํา
2.1) หา
{ },B C a b∩ =
,
{ }1,2,3A =
∴ { }( ) (1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, )Ax B C a b a b a b∩ =
2.2) หา
{ }(1, ),(1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, ),(3, )AxB a b c a b c a b c=
{ }(1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, )AxC a b a b a b=
∴ { }( ) ( ) (1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, )AxB AxC a b a b a b∩ =
2.3) หา
{ }, ,B C a b c∪ =
∴ { }( ) (1, ),(1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, ),(3, )Ax B C a b c a b c a b c∪ =
2.4) หา
{ }( ) ( ) (1, ),(1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, ),(3, )AxB AxC a b c a b c a b c∪ =
5
2.5) หา { }B C c− =
∴ { }( ) (1, ),(2, ),(3, )Ax B C c c c− =
2.6) { }( ) ( ) (1, ),(2, ),(3, )AxB AxC c c c− =
ขอสังเกต-
( ) ( ) ( )
( ) ( ) ( )
( ) ( ) ( )
Ax B C AxB AxC
Ax B C AxB AxC
Ax B C AxB AxC
∩ = ∩
∪ = ∪
− = −
( ) ( ) ( )
( ) ( ) ( )
( ) ( ) ( )
B C xA BxA CxA
B C xA BxA CxA
B C xA BxA CxA
∩ = ∩
∪ = ∪
− = −
3. ให A={ }2,4,8 และ B={ },a c จงหา AxB , BxA
วิธีทํา
a a a
2 4 8
c c c
∴AxB = { }(2, ),(2, ),(4, ),(4, ),(8, ),(8, )a c a c a c
2 2
a 4 c 4
8 8
6
∴BxA = { }( ,2),( ,4),( ,8),( ,2),( ,4),( ,8)a a a c c c
ขอสังเกต- โดยทั่วไป AxB ≠ BxA
Ax∅ = xA∅ = ∅
4. กําหนดให A={ }3,5,7 และ n(AxB)=15 จงหา n(B)
วิธีทํา จาก n(AxB) = n(A) x n(B)
จากโจทย n(A) = 3 แทนคา
15 3 ( )n B= ×
15
( )
3
n B =
( ) 5n B∴ =
5. กําหนดให A={ }5,7 จงหา AxA
วิธีทํา
5 5
5 7
7 7
∴AxA = { }(5,5),(5,7),(7,5),(7,7)
3. ความสัมพันธ
ความสัมพันธ คือ เซตของคูอันดับที่เปนตามเงื่อนไขของความสัมพันธ โดยที่เปนสับเซตของ
ผลคูณคารทีเซียน คือ ให A และ B เปนเซต ความสัมพันธจาก A ไป B คือ สับเซตของ AxB
r เปนความสัมพันธจาก A ไป B ก็ตอเมื่อ r AxB⊂
r เปนความสัมพันธจาก A ไป A หรือใน A ก็ตอเมื่อ r AxA⊂
7
ขอสังเกต- เนื่องจาก AxB∅ ⊂ , ∅ จึงเปนความสัมพันธจาก A ไป B
เนื่องจาก AxB AxB⊂ , AxB จึงเปนความสัมพันธจาก A ไป B
เนื่องจาก r AxB⊂ , จํานวนความสัมพันธทั้งหมดจาก A ไป B เทากับ
จํานวนสับเซตทั้งหมดของเซต AxB =
( )
2n AxB
ตัวอยางเชน
1. กําหนดให A={ }1,2,3 และ B={ }1,3,4 จงหาความสัมพันธ r “นอยกวา”
จาก A ไป B และ ความสัมพันธ r “เทากัน” จาก A ไป A
วิธีทํา
-หาความสัมพันธจาก A ไป B ที่มีเงื่อนไข สมาชิกตัวหนานอยกวาสมาชิกตัวหลัง
{ }(1,1),(1,3),(1,4),(2,1),(2,3),(2,4),(3,1),(3,3),(3,4)AxB =
-จากเซต AxB เลือกคูอันดับที่มีความสัมพันธสมาชิกตัวหนานอยกวาสมาชิกตัวหลัง
∴r = { }(1,3),(1,4),(2,3),(2,4),(3,4)
‐หาความสัมพันธจาก A ไป A ที่มีเงื่อนไข สมาชิกตัวหนาเทากับสมาชิกตัวหลัง 
{ }(1,1),(1,2),(1,3),(2,1),(2,2),(2,3),(3,1),(3,2),(3,3)AxA =
∴r = { }(1,1),(2,2),(3,3)
2. กําหนดให A={ }2,3,25 , B={ }4,5,7 จงหาความสัมพันธแบบแจกแจง
สมาชิกและแบบบอกเงื่อนไข
2.1 1r เปนความสัมพันธ “กําลังสอง” จาก A ไป B
2.2 2r เปนความสัมพันธ “รากที่สอง” จาก A ไป B
2.3 3r เปนความสัมพันธ “กําลังสอง” จาก B ไป A
2.4 4r เปนความสัมพันธ “รากที่สอง” จาก B ไป A
วิธีทํา
8
2.1 หา
{ }(2,4),(2,5),(2,7),(3,4),(3,5),(3,7),(25,4),(25,5),(25,7)AxB =
จาก AxB หาคูอันดับที่สมาชิกตัวหนาเปนกําลังสองของสมาชิกตัวหลัง
∴ { }1 (25,5)r = หรือเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ
{ }2
1 ( , ) /r x y AxB x y= ∈ =
2.2 จาก AxB หาคูอันดับที่สมาชิกตัวหนาเปนรากที่สองของสมาชิกตัวหลัง
∴ { }2 (2,4)r = หรือเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ
{ }2 ( , ) /r x y AxB x y= ∈ = ±
2.3 หา
{ }(4,2),(4,3),(4,25),(5,2),(5,3),(5,25),(7,2),(7,3),(7,25)BxA =
จาก BxA หาคูอันดับที่สมาชิกตัวหนาเปนกําลังสองสองของสมาชิกตัวหลัง
∴ { }3 (4,2)r = หรือเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ
{ }2
3 ( , ) /r x y BxA x y= ∈ =
2.4 จาก BxA หาคูอันดับที่สมาชิกตัวหนาเปนรากที่สองของสมาชิกตัวหลัง
∴ { }4 (5,25)r = หรือเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ
{ }4 ( , ) /r x y BxA x y= ∈ = ±
9
แบบฝกหัด
1. คูอันดับนี้
2 2
( , )x y กับ ( , )x y เมื่อ x,y เปนจํานวนจริง เปนคูอันดับที่
เทากันหรือไม เพราะเหตุใด
2. จงหาคา x และ y จากคูอันดับที่เทากันตอไปนี้
2.1) (2x-6,2y+x) = (3y+2,-3)
2.2) (3x,3y+x) = (2y+1,4y+3)
2.3) (x-1,y+2) = (y-2,2x+1)
2.4) (3x-y,0) = (0,3x+y)
10
3. กําหนดให ={ }1,2,3,4,5 , { }1,2A = และ { }2,3,4B = จงหา
3.1) AxA′
3.2) ( )B A xB′−
3.3) ( ) ( )A B x A B∪ ∩
3.4) ( ) ( )A B x A B′ ′− −
11
4. กําหนดใหเซต A มีสมาชิก 5 ตัว เซต B มีสมาชิก 6 ตัว เซต A และเซต B มีสมาชิก
รวมกัน 3 ตัว จงหาจํานวนสมาชิกของเซต ( )A B xB∪
5. กําหนดให ={ }1,2,3,4 และ { }1,2A =
5.1) ถา n(AxB) = 4 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด
5.2) ถา n(AxB) = 6 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด
6. กําหนดให ={ }, , , ,a b c d e และ { },A a b= เซต B เปนเซตที่ไมมีสมาชิก
รวมกับเซต A เลย
6.1) ถา n(AxB) = 4 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด
12
6.2) ถา n(AxB) = 6 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด
6.3) ถา n(AxB) = 8 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด
7. กําหนดให { }1,2,3A = และ { }2,3,4B = จงเขียนความสัมพันธในรูปแบบแจก
แจงสมาชิก
7.1) { }1 ( , ) / 0r x y AxB x y= ∈ − >
7.2) { }2
2 ( , ) /r x y AxB x y= ∈ >
7.3) { }3 ( , ) / 0r x y BxA x y= ∈ − >
7.4) { }2
4 ( , ) /r x y BxA x y= ∈ >
13
8. กําหนดให { }1,2,3A = และ { }2,3,4B = ความสัมพันธใดเปนความสัมพันธ
จาก A ไป B , จาก B ไป A , ภายใน A หรือ ภายใน B
8.1) { }1 (1,2),(2,3),(3,4)r =
8.2) { }2 (2,2),(3,1)r =
8.3) { }3 (4,1),(4,2),(4,3)r =
8.4) { }4 (2,2),(3,3)r =
8.5) { }5 (1,4),(2,3),(3,3)r =
9. กําหนดให { }2,4,6M = และ { }1,3,5,7P = จงเขียนความสัมพันธตอไปนี้ใน
รูปแจกแจงสมาชิก
9.1) { }1 ( , ) / 2 1 0r x y MxP x y= ∈ + − =
9.2) { }2
2 ( , ) / 1r x y MxP y x= ∈ = −
9.3) { }3 ( , ) / 2 1 0r x y PxM x y= ∈ + − =
14
9.4) { }4 ( , ) / 2 1r x y PxM y x= ∈ ≤ +
4. โดเมนและเรนจของความสัมพันธ
โดเมนของความสัมพันธ คือ เซตของสมาชิกตัวหนาของคูอันดับทั้งหมดในความสัมพันธนั้น
เขียนแทนดวยสัญลักษณ rD
{ }/ ( , )rD x x y r= ∈
เรนจของความสัมพันธ คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคูอันดับทั้งหมดในความสัมพันธนั้น
เขียนแทนดวยสัญลักษณ rR
{ }/ ( , )rR y x y r= ∈
ตัวอยางเชน
1. กําหนดความสัมพันธ { }(1, ),(2, ),(3, ),(4, )r p q r s= จงหาโดเมนและเรนจ
ของความสัมพันธ r
วิธีทํา โดเมน คือสมาชิกตัวหนาทั้งหมด ∴ { }1,2,3,4rD = และ
15
เรนจ คือสมาชิกตัวหลังทั้งหมด ∴ { }, , ,rR p q r s=
อาจเขียนเปนแผนภาพความสัมพันธไดดังนี้
โดเมน เรนจ
2. จงหาโดเมนและเรนจจากความสัมพันธ { }( , ) / 2 5r x y IxI y x= ∈ = +
วิธีทํา
1. หา rD จากการพิจารณาคา x I∈ จากสมการ วา x เปนจํานวนเต็มที่มีคาใดไดบาง
ซึ่งจะเห็นวา x เปนจํานวนเต็มไดทุกคา เพราะสามารถแทนคา x เปนจํานวนเต็มใดก็ได เชน
…,-3,-2,-1,0,1,2,3,… ลงในสมการ 2 5y x= + แลวสามารถหาคา y ได
∴ { }/rD x x I= ∈
2. หา rR จากการแทนคา x เปนจํานวนเต็มลงในสมการ 2 5y x= + แลวหาคา y
ดังนี้
……….…….. x = -2 y = 2(-2)+5 y = 1
x = -1 y = 2(-1)+5 y = 3
x = 0 y = 2(0)+5 y = 5
x = 1 y = 2(1)+5 y = 7
x = 2 y = 2(2)+5 y = 9………….
∴ { }...,1,3,5,7,9,...rR =
หรือสามารถเขียนแผนภาพของความสัมพันธไดดังนี้
16
x y
โดเมน เรนจ
4.1 การหาโดเมนและเรนจจากความสัมพันธของตัวแปร x และ y
ในกรณีที่ใหความสัมพันธเปนสมการระหวาง x และ y มา แลวใหหาโดเมนและเรนจของ
ความสัมพันธนั้น ใหทําการจัดกลุมตัวแปรดังนี้ คือ ถาจะหาโดเมนใหจัดกลุมตัวแปรจากสมการที่
โจทยใหมาใหอยูในรูปดังนี้
rD ---------- y = กลุมของตัวแปร x
และถาจะหาเรนจใหจัดกลุมตัวแปรจากสมการใหอยูในรูปดังนี้
rR ---------- x = กลุมของตัวแปร y
แลวพิจารณาวากลุมของตัวแปรนั้นมีขอหาม หรือขอกําหนดเปนเงื่อนไขใดบาง เชนในการหา
โดเมนและเรนจ ถากลุมของตัวแปร x หรือกลุมของตัวแปร y อยูในรูป
4.1.1 เศษสวน ………
มีขอหามหรือเงื่อนไข คือ ตัวหาร ≠ 0
-2
-1
0
1
2
1
3
5
7
9
ตัวตั้ง
ตัวหาร
17
4.1.2 รากที่สองหรือรากที่เปนจํานวนคู …………… ( ), ( )f x f y
เมื่อ f(x) และ f(y) แทนกลุมของตัวแปร x และ y ตามลําดับ
มีขอหามหรือเงื่อนไข คือ ตัวแปรภายในรากที่ 2 หรือรากที่เปนจํานวนคู ≥ 0
หรือ ( ) 0, ( ) 0f x f y≥ ≥
4.1.3 กําลังสองหรือกําลังที่เปนจํานวนคู …………
2 2
( ), ( )y f x x f y= =
เมื่อ f(x) และ f(y) แทนกลุมของตัวแปร x และ y ตามลําดับ
มีขอหามหรือเงื่อนไข คือ ( ) 0, ( ) 0f x f y≥ ≥
4.1.4 คาสมบูรณ …………… ( ), ( )y f x x f y= =
เมื่อ f(x) และ f(y) แทนกลุมของตัวแปร x และ y ตามลําดับ
มีขอหามหรือเงื่อนไข คือ ( ) 0, ( ) 0f x f y≥ ≥
สรุปแผนผังการหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ 
18
ตัวอยางการหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธแบบตางๆเชน
ตัวอยาง 1 กําหนดให { }1,2,3,4,5S = กําหนดความสัมพันธ 1r , 2r และ 3r ใน S
ดังตอไปนี้ { }1 ( , ) / 6r x y SxS x y= ∈ + =
{ }2 ( , ) / 2 3r x y SxS x and y= ∈ > =
{ }3 ( , ) / 6r x y SxS x y= ∈ − =
จงหาโดเมนและเรนจของแตละความสัมพันธ
การหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ
ความสัมพันธที่สามารถแจกแจงเปนคูอันดับ (x,y) ความสัมพันธที่เปนสมการระหวาง xและy
-โดเมนคือสมาชิกตัวหนา
-เรนจคือสมาชิกตัวหลัง
เศษสวน รากที่เปนจํานวนคู กําลังที่เปนจํานวนคู
ตัวหาร ≠ 0
จัดกลุมตัวแปร y=f(x) จัดกลุมตัวแปร x=f(y)
หาโดเมน หาเรนจ
ภายในรากหามติดลบ กําลังคูมากกวาหรือ
เทากับศูนยเสมอ
แกอสมการหาเซตคําตอบของโดเมนและเรนจตามเงื่อนไขในแตละกรณี
คาสมบูรณ
คาสมบูรณตองมากกวา
หรือเทากับศูนยเสมอ
19
วิธีทํา
หาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ { }1 ( , ) / 6r x y SxS x y= ∈ + =
1) สามารถแจกแจงสมาชิกของความสัมพันธ 1r เปนคูลําดับได ทําการแจกแจงสมาชิกของ
ความสัมพันธ 1r
2) ตรวจสอบคาของ x และ y ตามสมการ x+y = 6 , เพราะวา x S∈ แทนคา
x =1,2,3,4,5 แลวหาคา y โดย y = 6-x
x = 1…..... y = 6-1 = 5 ….. 5 S∈ …. 1(1,5) r∈
x = 2…..... y = 6-2 = 4 ….. 4 S∈ …. 1(2,4) r∈
x = 3…..... y = 6-3 = 3 ….. 3 S∈ …. 1(3,3) r∈
x = 4…..... y = 6-4 = 2 ….. 2 S∈ …. 1(4,2) r∈
x = 5…..... y = 6-5 = 1 ….. 1 S∈ …. 1(5,1) r∈
3) ∴ { }1 (1,5),(2,4),(3,3),(4,2),(5,1)r =
4) ∴ { }1
1,2,3,4,5rD = และ { }1
1,2,3,4,5rR =
หาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ { }2 ( , ) / 2 3r x y SxS x and y= ∈ > =
1) สามารถแจกแจงสมาชิกของความสัมพันธ 2r เปนคูลําดับได ทําการแจกแจงสมาชิกของ
ความสัมพันธ 2r
2) ตรวจสอบคาของ x และ y เพราะวา x S∈ และ x>2 ∴ 3,4,5x =
เพราะวา y S∈ และ y=3 ∴ 3y =
3) จับคูคา x และ y หาคูอันดับ 2( , )x y r∈
โดเมน เรนจ
3
4
5
3
20
4) ∴ { }2 (3,3),(4,3),(5,3)r =
5) ∴ { }2
3,4,5rD = และ { }2
3rR =
หาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ { }3 ( , ) / 6r x y SxS x y= ∈ − =
1) สามารถแจกแจงสมาชิกของความสัมพันธ 3r เปนคูลําดับได ทําการแจกแจงสมาชิกของ
ความสัมพันธ 3r
2) ตรวจสอบคาของ x และ y ตามสมการ x-y = 6 , เพราะวา x S∈ แทนคา
x =1,2,3,4,5 แลวหาคา y โดย y = x-6
x = 1…..... y = 1-6 = -5 ….. 5 S− ∉ …. 3(1, 5) r− ∉
x = 2…..... y = 2-6 = -4 ….. 4 S− ∉ …. 3(2, 4) r− ∉
x = 3…..... y = 3-6 = -3 ….. 3 S− ∉ …. 3(3, 3) r− ∉
x = 4…..... y = 4-6 = -2 ….. 2 S− ∉ …. 3(4, 2) r− ∉
x = 5…..... y = 5-6 = -1 ….. 1 S− ∉ …. 3(5, 1) r− ∉
3) ∴ { }3r = = ∅
4) ∴ 3rD = ∅ และ 3rR = ∅
ตัวอยาง 2 จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ
1
( , ) /
2
r x y RxR y
x
⎧ ⎫
= ∈ =⎨ ⎬
−⎩ ⎭
วิธีทํา
หาโดเมน rD
1) เลือกวิธีการหาโดเมนจากการพิจารณาความสัมพันธระหวาง x และ y จากสมการ
1
2
y
x
=
−
2) หาโดเมนจากการจัดกลุมตัวแปรจากสมการใหอยูในรูป y=f(x) เมื่อ f(x) คือกลุม
ของตัวแปร x ซึ่งได
1
2
y
x
=
−
3) จาก y=f(x) อยูในรูปของ เศษสวน ซึ่งมีขอหามคือ ตัวสวน ≠ 0
21
∴ 2 0x − ≠
2x ≠
4) { }/ 2rD x R x∴ = ∈ ≠
หาเรนจ rR
1) หาเรนจจากการจัดกลุมตัวแปรจากสมการ
1
2
y
x
=
−
ใหอยูในรูป x=f(y) เมื่อ
f(y) คือกลุมของตัวแปร y ดังนี้
1
2
y
x
=
−
2) จาก x=f(y) ที่ได………… อยูในรูป เศษสวน …………ตัวสวน ≠ 0
∴ 0y ≠
3) { }/ 0rR y R y∴ = ∈ ≠
ตัวอยาง 3  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ     
3 1
( , ) /
2 5
x
r x y RxR y
x
−⎧ ⎫
= ∈ =⎨ ⎬
+⎩ ⎭
วิธีทํา
1
2
1
2
1 2
x
y
x
y
y
x
y
− =
= +
+
= *
22
จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x)
………
3 1
2 5
x
y
x
−
=
+
3 1
2 5
x
y
x
−
=
+
….. เศษสวน
ตัวสวน ≠ 0
2 5 0
5
2
x
x
∴ + ≠
−
≠
5
/
2
rD x R x
−⎧ ⎫
∴ = ∈ ≠⎨ ⎬
⎩ ⎭
3 1
( , ) /
2 5
x
r x y RxR y
x
−⎧ ⎫
= ∈ =⎨ ⎬
+⎩ ⎭
rD rR
จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
3 1
......
2 5
(2 5) 3 1
2 5 3 1
5 1 3 2
5 1 (3 2 )
5 1
3 2
x
y
x
y x x
yx y x
y x yx
y x y
y
x
y
−
=
+
+ = −
+ = −
+ = −
+ = −
+
∴ =
−
5 1
3 2
y
x
y
+
=
−
….. เศษสวน
ตัวสวน ≠ 0
3 2 0
2 3
3
2
y
y
y
∴ − ≠
≠
≠
3
/
2
rR y R y
⎧ ⎫
∴ = ∈ ≠⎨ ⎬
⎩ ⎭
23
ขอสังเกต- ความสัมพันธที่มีสมการอยูในรูป เศษสวน
Ax C
y
Bx D
+
=
+
โดยที่ A,B,C และ
D เปนจํานวนจริงใดๆและ 0B ≠ สามารถสรุปโดเมนและเรนจของความสัมพันธไดดังนี้
/r
D
D x R x
B
−⎧ ⎫
= ∈ ≠⎨ ⎬
⎩ ⎭
/r
A
R y R y
B
⎧ ⎫
= ∈ ≠⎨ ⎬
⎩ ⎭
ตัวอยาง 4  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ    
{ }( , ) / 3 4r x y RxR y x= ∈ = −
วิธีทํา
{ }( , ) / 3 4r x y RxR y x= ∈ = −
rD rR
จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x)
……… 3 4y x= −
3 4y x= − ….. ภายใน
รากที่2 ≥0
3 4 0
4
3
x
x
∴ − ≥
≥
4
/
3
rD x R x
⎧ ⎫
∴ = ∈ ≥⎨ ⎬
⎩ ⎭
จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
…….. 3 4y x= −
2
2
2
3 4
4 3
( 4)
3
y x
y x
y
x
= −
+ =
+
∴ =
0y ≥
y R∈ 0y R y∈ ∩ ≥
0y ≥
{ }/ 0rR y R y∴ = ∈ ≥
24
ตัวอยาง 5  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ    
{ }2
( , ) / 9r x y RxR y x= ∈ = −
วิธีทํา
{ }2
( , ) / 9r x y RxR y x= ∈ = −
rD rR
จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x)
………
2
9y x= −
2
9y x= − ….. ภายใน
รากที่2 ≥0
2
9 0
( 3)( 3) 0
3 3
x
x x
x x
∴ − ≥
− + ≥
≤ − ∪ ≥
{ }/ 3 3rD x R x x∴ = ∈ ≤ − ∪ ≥
จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
……..
2
9y x= −
2 2
2 2
2
9
9
9
y x
y x
x y
= −
+ =
∴ = ± +
0y ≥
2
2
9 0
9
y
y
+ ≥
≥ −
ซึ่งเปนจริงเสมอไมวา y จะเปนจํานวนใดๆ
0y R y∈ ∩ ≥
0y ≥
{ }/ 0rR y R y∴ = ∈ ≥
y R∈
25
ตัวอยาง 6  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ    
{ }( , ) / 3 1r x y RxR y x= ∈ = + +
วิธีทํา
{ }( , ) / 3 1r x y RxR y x= ∈ = + +
rD rR
จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x)
……… 3 1y x= + +
3 1y x= + + …..
ภายในรากที่2 ≥0
1 0
1
x
x
∴ + ≥
≥ −
{ }/ 1rD x R x∴ = ∈ ≥ −
จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
…….. 3 1y x= + +
3 1y x− = +
2
2
( 3) 1
( 3) 1
y x
x y
− = +
∴ = − −
3 0
3
y
y
− ≥
∴ ≥
แทนคา y เปนจํานวนใดๆก็ได หาคา x ได เสมอ
3y R y∈ ∩ ≥
3y ≥
{ }/ 3rR y R y∴ = ∈ ≥
y R∈
26
ตัวอยาง 7  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ    
{ }2
( , ) / 16r x y RxR y x= ∈ = −
วิธีทํา
{ }2
( , ) / 16r x y RxR y x= ∈ = −
rD rR
จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x)
………
2
16y x= −
2
16y x= − …..
ภายในรากที่2 ≥0
2
2
16 0
16 0
( 4)( 4) 0
4 4
x
x
x x
x
∴ − ≥
− ≤
− + ≤
− ≤ ≤
{ }/ 4 4rD x R x∴ = ∈ − ≤ ≤
จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
……..
2
16y x= −
2 2
2 2
2
16
16
16
y x
x y
x y
= −
= −
∴ = ± −
0y ≥
4 4 0y y− ≤ ≤ ∩ ≥
0 4y≤ ≤
{ }/ 0 4rR y R y∴ = ∈ ≤ ≤
4 4y− ≤ ≤
2
16x y= ± − …..
ภายในรากที่2 ≥0
2
2
16 0
16 0
( 4)( 4) 0
4 4
y
y
y y
y
∴ − ≥
− ≤
− + ≤
∴− ≤ ≤
27
ตัวอยาง 8  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ    
{ }2
( , ) / 2 3r x y RxR y x x= ∈ = − −
วิธีทํา
{ }2
( , ) / 2 3r x y RxR y x x= ∈ = − −
rD rR
จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x)
………
2
2 3y x x= − −
…….
2
2 3y x x= − −
แทนคา x เปนจํานวนจริงใดๆก็
ไดสามารถหาคา y ไดเสมอ
{ }rD x R∴ = ∈
x R∈
จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
……..
2
2 3y x x= − −
2
2
2
( 2 1) 3 1
( 1) 4
4 ( 1)
4 1
4 1
y x x
y x
y x
y x
x y
= − + − −
= − −
+ = −
± + = −
∴ = ± + +
4 1x y= ± + + …..
ภายในรากที่2 ≥0
4 0
4
y
y
∴ + ≥
≥ −
4y ≥ −
{ }/ 4rR y R y∴ = ∈ ≥ −
28
ขอสังเกต- ความสัมพันธที่มีสมการอยูในรูปพหุนามกําลัง 2…..
2
y ax bx c= + + ….
โดยที่ a,b และ c เปนจํานวนจริงใดๆและ 0a ≠ สามารถสรุปคําตอบของโดเมนและเรนจของ
ความสัมพันธไดดังนี้
{ }rD x R= ∈
2
4
/
4
r
ac b
R y R y
a
⎧ ⎫−
= ∈ ≥⎨ ⎬
⎩ ⎭
เมื่อ 0a >
2
4
/
4
r
ac b
R y R y
a
⎧ ⎫−
= ∈ ≤⎨ ⎬
⎩ ⎭
เมื่อ 0a <
เชนจากตัวอยางที่แลว
2
2 3y x x= − − …… 1, 2, 3a b c= = − = −
{ }rD x R∴ = ∈ และเนื่องจาก 0a > ……..
2
2
4
4
4(1)( 3) ( 2)
4(1)
12 4
4
4
ac b
y
a
y
y
y
−
≥
− − −
≥
− −
≥
≥ −
……….
{ }/ 4rR y R y∴ = ∈ ≥ −
29
ตัวอยาง 9  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ    
{ }2 2
( , ) / 2 1 0r x y RxR y xy x= ∈ − − + =
วิธีทํา
{ }2 2
( , ) / 2 1 0r x y RxR y xy x= ∈ − − + =
rD rR
จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x)
2 2
2
2
2 1 0
(1 2 ) 1
1
1 2
y xy x
y x x
x
y
x
− − + =
− = −
−
∴ =
−
…….
2 1
1 2
x
y
x
−
=
−
เนื่องจาก
2
0y ≥ เสมอ
1
0
1 2
( 1)(1 2 ) 0 , 1 2 0
( 1)(2 1) 0 , 2 1
1 1
1 ,
2 2
x
x
x x x
x x x
x x
−
∴ ≥
−
− − ≥ − ≠
− − ≤ ≠
≤ ≤ ≠
1
/ 1
2
rD x R x
⎧ ⎫
∴ = ∈ < ≤⎨ ⎬
⎩ ⎭
1
1
2
x< ≤ ตรวจสอบวา 1
2
x = ไมไดจริง
โดยการแทนคา x ลงใน
2 2
2 2
2 2
2 1 0
1 1
2( ) 1 0
2 2
1
0
2
1 1
0...... ....
2 2
y xy x
y y
y y
false x
− − + =
− − + =
− + =
= ≠
จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
2 2
2 2
2 2
2
2
2 1 0
1 2
1 (2 1)
1
2 1
y xy x
y xy x
y x y
y
x
y
− − + =
+ = +
+ = +
+
∴ =
+
…….
2
2
1
2 1
y
x
y
+
=
+
เปน เศษสวน….ตัวหาร≠ 0
2
2
2 1 0
1
2
y
y
+ ≠
−
≠
ซึ่ง
2 2 1
0
2
y y
−
≥ ∴ ≠ จริงเสมอ
ไมวา y จะเปนจํานวนใดๆ
y R∈
{ }rR y R∴ = ∈
30
ตัวอยาง 10  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ    
{ }( , ) / 3 7r x y RxR y x= ∈ = − +
วิธีทํา
{ }( , ) / 3 7r x y RxR y x= ∈ = − +
rD rR
จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x)
3 7y x= − +
……. 3 7y x= − +
แทนคา x เปนจํานวนจริงใดๆก็ได
สามารถหาคา y ไดเสมอ
{ }rD x R∴ = ∈
x R∈
จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
3 7
3 7
y x
x y
= − +
∴ − = −
……. 3 7x y− = −
เพราะวาคา 3 0x − ≥ เสมอ
7 0
7
y
y
∴ − ≥
≥
{ }/ 7rR y R y∴ = ∈ ≥
7y ≥
31
แบบฝกหัด
1. จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธตอไปนี้
1.1) { }1 ( 1,2),(3,4),( 5, 1),(4,0)r = − − −
1.2) { }2 (1,2),(2,1),(3,1),(4,1),(5,2)r =
1.3) { }3 ( , ) / 3r x y IxI y x= ∈ = −
1.4) { }2
4 ( , ) /r x y NxN y x= ∈ =
32
1.5) { }2 2
5 ( , ) / 4r x y IxI x y+
= ∈ + =
2. กําหนด { }0,1,9A = , { }0,1,3B = และ { }2,7,10C = หาโดเมนและเรนจ
ของความสัมพันธตอไปนี้
2.1) { }1 ( , ) / ,r x y x A y B and x y= ∈ ∈ >
2.2) { }2 ( , ) / , 5r x y x B y C and x y= ∈ ∈ + ≥
2.3) { }3 ( , ) / ,r x y x A y B and y x= ∈ ∈ =
33
2.4) { }2
4 ( , ) / ,r x y x C y A and y x= ∈ ∈ =
3. จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธตอไปนี้
3.1)
2
1
2
( , ) /
1
x
r x y RxR y
x
+⎧ ⎫
= ∈ =⎨ ⎬
+⎩ ⎭
3.2) { }2 ( , ) / 1r x y RxR x y= ∈ + =
34
3.3) 3 2
1
( , ) /
9
r x y RxR y
x
⎧ ⎫
= ∈ =⎨ ⎬
−⎩ ⎭
3.4) 4
2 5
( , ) /
x
r x y RxR y
x
⎧ ⎫+⎪ ⎪
= ∈ =⎨ ⎬
⎪ ⎪⎩ ⎭
35
3.5) { }2
5 ( , ) / 3 8r x y RxR y x x= ∈ = + +
3.6) 6 2
1
( , ) /
2 3
r x y RxR y
x x
⎧ ⎫
= ∈ =⎨ ⎬
− −⎩ ⎭
36
3.7) 7
3
( , ) /
3 4
r x y RxR y
x
⎧ ⎫⎪ ⎪
= ∈ =⎨ ⎬
+ −⎪ ⎪⎩ ⎭
3.8) { }2
8 ( , ) / 4r x y RxR y x= ∈ = −
37
3.9) { }2 2
9 ( , ) / 2 2 1 0r x y RxR x y xy x= ∈ + − + + =
3.10) { }2
10 ( , ) / 4 5 2r x y RxR y x and x= ∈ = − − < <
38
3.11) { }2 2
11 ( , ) / 2 3r x y RxR y x x= ∈ = + −
3.12) 12 2
4
( , ) / 2
( 1) 4
r x y RxR y
x
⎧ ⎫
= ∈ = −⎨ ⎬
− −⎩ ⎭
39
3.13)
2 2
13
( 1) ( 2)
( , ) / 1
25 16
x y
r x y RxR
⎧ ⎫− −
= ∈ + =⎨ ⎬
⎩ ⎭
3.14)
2
14 2
1
( , ) /
1
x
r x y RxR y
x
⎧ ⎫−⎪ ⎪
= ∈ =⎨ ⎬
+⎪ ⎪⎩ ⎭
40
3.15) 15 2
3
( , ) /
2 1
x
r x y RxR y
x x
−⎧ ⎫
= ∈ =⎨ ⎬
− +⎩ ⎭
3.16) 16
2
( , ) /
4
r x y RxR y
x
⎧ ⎫⎪ ⎪
= ∈ =⎨ ⎬
−⎪ ⎪⎩ ⎭
41
5. ฟงกชัน
5.1 ลักษณะของฟงกชัน
ฟงกชัน คือ ความสัมพันธที่สมาชิกในโดเมนแตละตัวจับคูกับสมาชิกในเรนจของ
ความสัมพันธเพียงตัวเดียวเทานั้น ความสัมพันธที่เปนฟงกชันเราเขียนแทนความสัมพันธนั้นวา
f และเขียน ( )y f x= แทน ( , )x y f∈ และเรียก ( )f x วาคาของฟงกชัน f ที่ x
โดยอานวา “เอฟของเอ็กซ” หรือ “เอฟเอ็กซ”
{ }1 1 1 2 1 2( , ) / ( , ) ( , )f x y if x y f and x y f then y y= ∈ ∈ =
ตัวอยางเชน
1. จงพิจารณาวาความสัมพันธใดตอไปนี้เปนฟงกชัน
1.1) { }1 (1,2),(2,3),(3,4),(4,5)r =
วิธีทํา พิจารณาคูอันดับ (x,y) ทุกคูอันดับในความสัมพันธ 1r วามีคูอันดับใดที่มีสมาชิกตัว
หนาซ้ํากันบาง -----ถาไมมีคูอันดับใดที่มีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันเลย หรือ
-----ถามีคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันแลว สมาชิกตัวหลังตองเหมือนกันดวย
จะถือวาความสัมพันธนั้นเปน f
1r∴ เปน f เพราะไมมีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันเลย 
1.2) { }2 (1,2),(1,3),(3,4),(4,5)r =
วิธีทํา 2r ไมเปน f เพราะวามีคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันแลวสมาชิกตัวหลังไมเหมือนกัน
คือ (1,2) กับ (1,3)
42
1.3) { }3 (1,2),(3,4),(4,5),(1,2)r =
วิธีทํา 3r เปน f เพราะวามีคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันแลวสมาชิกตัวหลังเหมือนกันคือ
(1,2)
ขอสังเกต สามารถสรุปเปนแผนภาพการพิจารณาวาความสัมพันธทีมีลักษณะแจกแจงเปนคู
อันดับ ความสัมพันธใดเปนฟงกชันดังนี้
{ }( , )r x y=
มีคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนา
ซ้ํากันหรือไม
ไมซ้ํา
r f=
ซ้ํา
คูอันดับนั้นสมาชิกตัวหลัง
เหมือนกันหรือไม
r f≠
ไมเหมือน
เหมือน
43
หรืออาจพิจารณาเปนตัวอยางแผนภาพการจับคูระหวาง x และ y ในความสัมพันธตางๆไดดังนี้ 
-------------ไมเปน f เพราะ 3 จับคูกับ a และ b
(คา x ซ้ํากันไมได)
------------ เปน f เพราะ คา x ไมซ้ํากัน
(คา y ซ้ํากันได)
5.2 การพิจารณาความสัมพันธในรูปสมการ x และ y วาเปนฟงกชัน
จากลักษณะของฟงกชัน คา x 1 คาตองจับคูกับคา y เพียงคาเดียวเทานั้น เพราะฉะนั้นถาเรา
สามารถแทนคา x เทากับจํานวนจริงใดๆในสมการระหวาง x และ y แลวใหคา y มากกวาตั้งแต
2 คาขึ้นไป ก็จะสรุปไดวาความสัมพันธนั้นไมเปนฟงกชัน โดยมีขอสังเกตวาถาสมการระหวาง x
และ y นั้นสามารถจัดกลุมใหอยูในรูปของ y = (กลุมของตัวแปร x) ,
2
y = (กลุม
ของตัวแปร x) หรือ y = (กลุมของตัวแปร x) ได ความสัมพันธนั้น จะไมเปนฟงกชัน
เพราะวาเทอม y ,
2
y หรือ y สามารถแทนคา y ไดถึง 2 คาคือคา y ที่เปน + 1
คา และคา y ที่เปน – อีก 1 คา แลวใหคาออกมาเทาเดิม
แตถาสมการสามารถจัดกลุมใหอยูในรูป y = (กลุมของตัวแปร x) แลวความสัมพันธ
ดังกลาวจะเปนฟงกชันเพราะคา x 1 คาสามารถหาคา y ได 1 คาเทานั้น
y = (กลุมของตัวแปร x) f
2
, ,y y y = (กลุมของตัวแปร x) ไมใช f
3
5
a
b
c
3
5
a
b
c
(กําลังคู)
(กําลังคู)
(กําลังคู)
44
ตัวอยางเชน
1. พิจารณาความสัมพันธ { }2 2
( , ) / 4r x y RxR x y= ∈ + = วาเปนฟงกชันหรือไม
วิธีทํา ใหพิจารณาที่คา y วาให y ออกมามากกวาตั้งแต 2 คาหรือไม…… จากสมการ
2 2
4x y+ = มีเทอม
2
y ซึ่งใหคา y ออกมา 2 คา
{ }2 2
( , ) / 4r x y RxR x y∴ = ∈ + = ……………. ไมเปน f  
2. พิจารณาความสัมพันธ { }2
( , ) / ; 0r x y RxR x y y= ∈ = ≥ วาเปนฟงกชัน
หรือไม
วิธีทํา ใหพิจารณาที่คา y วาให y ออกมามากกวาตั้งแต 2 คาหรือไม…… จากสมการ
2
; 0x y y= ≥ มีเทอม
2
y ซึ่งจะใหคา y ออกมา 2 คาคือคา +และคา - แตเงื่อนไขที่วา
0y ≥ ทําใหจํากัดคา y เปน + หรือ 0 ไดคาเดียว
{ }2
( , ) / ; 0r x y RxR x y y∴ = ∈ = ≥ คา x 1 คา ใหคา y เพียงคาเดียว
เทานั้น………เปน f
3. พิจารณาความสัมพันธ { }2
( , ) / 3 1r x y RxR y x= ∈ + = − วาเปนฟงกชัน
หรือไม
วิธีทํา ใหพิจารณาที่คา y วาให y ออกมามากกวาตั้งแต 2 คาหรือไม…… จากสมการ
2
3 1y x+ = − มีเทอม 3y + ซึ่งจะมีคา y 2 คาที่แทนลงใน 3y + แลวใหคา
ออกมาเทากัน เชน ถาคา y=1 แทนคาลงใน 3 1 3 4y + = + =
คา  y=‐7 แทนคาลงใน 3 7 3 4y + = − + =
{ }2
( , ) / 3 1r x y RxR y x∴ = ∈ + = − …………… ไมเปน f
5.3 การใชกราฟมาพิจารณาวาความสัมพันธนั้นเปนฟงกชัน
ถาเราสามารถวาดกราฟของความสัมพันธใดๆได เราสามารถทดสอบไดวาความสัมพันธนั้น
เปน f หรือไม ไดโดยการวาดเสนตรงใดๆที่ขนานกับแกน ( , )y c c R= ∈ แลวถา
คา y 2คาใหคา
ออกมาเทากัน
45
เสนตรงนั้นตัดกราฟของความสัมพันธมากกวาตั้งแต 2 จุดขึ้นไป แสดงวาความสัมพันธนั้นไมเปน
f ตัวอยาง เชน
1. พิจารณากราฟของความสัมพันธ { }2
( , ) /r x y RxR y x∴ = ∈ =
2
y x=
2. พิจารณากราฟของความสัมพันธ { }( , ) /r x y RxR y x∴ = ∈ =
3. พิจารณากราฟของความสัมพันธ { }2
( , ) /r x y RxR y x∴ = ∈ =
•
•
1 1( , )x y
1 2( , )x y
y
x
เสนตรง y c= ตัดกับกราฟของ
ความสัมพันธ r 2 จุด……ไมเปน f
y c=
y
x
y x=
•
•
1 1( , )x y
1 2( , )x y
เสนตรง y c= ตัดกับกราฟของ
ความสัมพันธ r 2 จุด……ไมเปน f
y
x
y c=
•
1 1( , )x y
y c=
เสนตรง y c= ตัดกับกราฟของ
ความสัมพันธ r เพียง 1 จุด……เปน f
2
y x=
46
4. พิจารณากราฟของความสัมพันธ { }2 2
( , ) / 9r x y RxR x y∴ = ∈ + =
5.4 ฟงกชันจาก A ไป B
ฟงกชัน f เปนฟงกชันจาก A ไป B ก็ตอเมื่อ โดเมนของ f เทากับเซต A
และเรนจของ f เปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย :f A B→
( : ) ( )f ff A B D A R B→ ↔ = ∧ ⊂
ตัวอยาง เชน
1. กําหนด { } { }1,2,3,4 , , ,A B a b c= = ฟงกชัน
{ }1 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a b c= ,
{ }2 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a a c=
และ
{ }3 (1, ),(2, ),(4, )f a a c= เปนฟงกชันจาก A B→ หรือไม
วิธีทํา
{ }1 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a b c=
1) 1f เปนฟงกชัน หา 1fD และ 1fR จาก { }1 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a b c=
y
x
1 1( , )x y
y c=
2 2
9x y+ =
•
•
1 2( , )x y
เสนตรง y c= ตัดกับกราฟของ
ความสัมพันธ r 2 จุด……ไมเปน f
47
{ }1 1,2,3,4fD = { }1 , ,fR a b c=
2) จาก { }1,2,3,4A = และ { }1 1,2,3,4fD = 1fD A∴ =
และ
{ }, ,B a b c=
,
{ }1 , ,fR a b c= 1fR B∴ ⊂
3) 1 :f A B→
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้
A B
1f 1 :f A B→
1fD A= 1fR B⊂
{ }2 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a a c=
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
1
2
3
4
a
b
c
48
A B
{ }
{ }
2
2
1,2,3,4
,
f
f
D
R a c
=
=
2
2
f
f
D A
R B
=
⊂
{ }3 (1, ),(2, ),(4, )f a a c=
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
1
2
3
4
a
b
c
2f
2 :f A B→
49
A B
{ }
{ }
3
3
1,2,4
,
f
f
D
R a c
=
=
3fD A≠
5.5 ฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B
ฟงกชัน f เปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B ก็ตอเมื่อ โดเมนของ f เทากับเซต A  
และเรนจของ f เทากับเซต B เขียนแทนดวย : onto
f A B⎯⎯⎯→
( : ) ( )onto
f ff A B D A R B⎯⎯⎯→ ↔ = ∧ =
ตัวอยาง เชน
1. กําหนด { } { }, , , , 1,2,3A a b c d B= = ฟงกชัน
{ }1 ( ,1),( ,2),( ,3),( ,1)f a b c d= ,
{ }2 ( ,1),( ,1),( ,1),( ,1)f a b c d=
และ
{ }3 ( ,1),( ,2),( ,3)f a b d= เปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B หรือไม
1
2
3
4
a
b
c
3f
3f ไมเปนฟงกชันจาก A ไป B
50
วิธีทํา
{ }1 ( ,1),( ,2),( ,3),( ,1)f a b c d=
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
A B
1
1
f
f
D A
R B
=
=
1 : onto
f A B⎯⎯⎯→
{ }2 ( ,1),( ,1),( ,1),( ,1)f a b c d=
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
a
b
c
d
1
2
3
1f { }
{ }
1
1
, , ,
1,2,3
f
f
D a b c d
R
=
=
51
A B
{ }
{ }
2
2
, , ,
1
f
f
D a b c d
R
=
=
2
2
f
f
D A
R B
=
≠
{ }3 ( ,1),( ,2),( ,3)f a b d=
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
a
b
c
d
1
2
3
2f
2f ไมเปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B
52
A B
{ }
{ }
3
3
, ,
1,2,3
f
f
D a b d
R
=
=
3fD A≠
5.6 ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B
ฟงกชัน f เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B ก็ตอเมื่อ f เปนฟงกชันจาก A ไป
B โดยที่ถา 1 1( , )x y f∈ และ 2 1( , )x y f∈ แลว 1 2x x= เขียนแทน
ดวย
1:1
:f A B⎯⎯→
[ ]1:1
1 2 1 2( : ) ( : ) [( ) ( )]f A B f A B y y x x⎯⎯→ ↔ → ∧ = → =
ตัวอยาง เชน
1. กําหนด { } { }, , , , 1,2,3,4A a b c d B= = ฟงกชัน
{ }1 ( ,1),( ,3),( ,2),( ,4)f a b c d= ,
{ }2 ( ,1),( ,1),( ,2),( ,4)f a b c d=
และ
{ }3 ( ,1),( ,2),( ,3)f a b d= เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B หรือไม
a
b
c
d
1
2
3
3f
3f ไมเปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B
53
วิธีทํา
{ }1 ( ,1),( ,3),( ,2),( ,4)f a b c d=
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
A B
{ }2 ( ,1),( ,1),( ,2),( ,4)f a b c d=
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
1
2
3
4
a
b
c
d
1f 1 :f A B→
1f ไมมีการจับคูที่สมาชิกตัวหลังซ้ํากัน
1:1
1 :f A B⎯⎯→
54
A B
{ }3 ( ,1),( ,2),( ,3)f a b d=
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
A B
1
2
3
4
a
b
c
d
2f 2 :f A B→
2f มีการจับคูที่สมาชิกตัวหลังซ้ํากัน
คือ (a,1) กับ (b,1)
ไมเปน
1:1
2 :f A B⎯⎯→
1
2
3
4
a
b
c
d
3f ไมเปน 3 :f A B→
เพราะ 3fD A≠
ไมเปน
1:1
3 :f A B⎯⎯→
55
5.7 ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B
ฟงกชัน f เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B ก็ตอเมื่อ f เปนฟงกชันหนึ่ง
ตอหนึ่งจาก A ไป B และ f เปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนดวย
1:1
: onto
f A B⎯⎯⎯→
1:1 1:1
( : ) ( : ) ( : )onto
onto
f A B f A B f A B⎡ ⎤⎯⎯⎯→ ↔ ⎯⎯→ ∧ ⎯⎯⎯→⎣ ⎦
ตัวอยาง เชน
1. กําหนด { } { }, , , , , 1,2,3,4,5A a b c d e B= = ฟงกชัน
{ }( ,1),( ,3),( ,2),( ,4),( ,5)f a b c d e=
เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B หรือไม
วิธีทํา
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
A B
1
2
3
4
5
a
b
c
d
e
f
1:1
:f A B⎯⎯→
เพราะ ไมมีสมาชิกตัวหลังซ้ํากัน
1:1
2 : onto
f A B⎯⎯⎯→
: onto
f A B⎯⎯⎯→
เพราะ fR B=
56
2. กําหนด { } { }, , , , 1,2,3,4,5A a b c d B= = ฟงกชัน
{ }( ,1),( ,2),( ,3),( ,5)f a b c d= เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง
B หรือไม
วิธีทํา
สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ 
A B
สามารถสรุปความสัมพันธของฟงกชันชนิดตางๆ เปนแผนภาพของเซตไดดังนี้ 
1
2
3
4
5
a
b
c
d
f
1:1
:f A B⎯⎯→
เพราะ ไมมีสมาชิกตัวหลังซ้ํากัน
ไมเปน
1:1
: onto
f A B⎯⎯⎯→
ไมเปน : onto
f A B⎯⎯⎯→
เพราะ fR B≠
M=เซตของ :f A B⎯⎯→
N=เซตของ
1:1
:f A B⎯⎯→
Q=เซตของ : onto
f A B⎯⎯⎯→
=เซตของความสัมพันธที่เปนฟงกชัน
P=เซตของฟงกชันที่ไมใช
ฟงกชันจาก Aไป B
S=เซตของ 1:1
: onto
f A B⎯⎯⎯→
M
N Q
S
P
57
ตอไปนี้เปนตัวอยางเกี่ยวกับความสัมพันธที่เปนฟงกชัน และฟงกชันในรูปแบบตางๆดังนี้
ตัวอยางที่ 1 ความสัมพันธตอไปนี้เปน :f R R⎯⎯→ หรือไม ถาใชเปนฟงกชันประเภท
ใดบาง
1.1) { }3
1 ( , ) /r x y y x= =
1.2) { }2
2 ( , ) / 1r x y y x= = −
1.3) 3
1
( , ) /
8
x
r x y y
x
−⎧ ⎫
= =⎨ ⎬
+⎩ ⎭
1.4) { }4 ( , ) / 1 1r x y y x x= = + − −
1.5) { }5 ( , ) /r x y x y x y= + ≥ +
วิธีทํา
1.1)
1r f=
เพราะวาสามารถเขียนใหอยูในรูป
y = (กลุมของตัวแปร x)
1 1,r rD R R R= =
3
y x= , สามารถแทนคา x เปนจํานวนใดๆก็ได
1rx R D R∈ →∴ =
1
3
x y= , สามารถแทนคา y เปนจํานวนใดๆก็ได
1ry R R R∈ →∴ =
1r เปน :f R R→
เพราะวา 1 1r rD R R R= ∧ ⊂
1r เปน : onto
f R R⎯⎯⎯→ 1r เปน 1:1
:f R R⎯⎯→ 1r เปน 1:1
: onto
f R R⎯⎯⎯→
เพราะวา 1rR R= เพราะวาสามารถเขียนสมการใหอยูในรูป
x=(กลุมของตัวแปร y) คือ
1
3
x y= ได
{ }3
1 ( , ) /r x y y x= =
เพราะวา 1r เปนทั้ง : onto
f R R⎯⎯⎯→
และ 1r เปน 1:1
:f R R⎯⎯→
58
1.2)
1.3)
2r f=
[ ] [ ]2 21,1 , 0,1r rD R= − =
หา 2rD ; 2
1y x= − , ในรากหามติดลบ
[ ]
2 2
2
1 0; 1 0; ( 1)( 1) 0;
1 1 1,1r
x x x x
x D
∴ − ≥ − ≤ − + ≤
− ≤ ≤ → ∴ = −
หา 2rR ; 2
1 ; 0y x y= − ≥
[ ]
2 2 2 2 2
2
2
1 ; 1 ; 1
1 0 0 0 1
0,1r
y x x y x y
y y y
R
= − = − = ± −
− ≥ ∧ ≥ → ≤ ≤
∴ =
2r ไมเปน :f R R→
เพราะวา 2rD R≠
{ }2
2 ( , ) / 1r x y y x= = −
3r f=
เพราะวาสามารถเขียนใหอยูในรูป
y = (กลุมของตัวแปร x)
{ } { }3 38 , 1r rD R R R= − − = −
หา 2rD ;
1
8
x
y
x
−
=
+
, ตัวสวนหาม=0
{ }3
8 0; 8
8r
x x
D R
∴ + ≠ ≠ −
∴ = − −
หา 3rR ; จัดรูป x = (กลุมของตัวแปร y)
{ }3
1
; ( 8) ( 1); 8 1;
8
8 1
8 1; (1 ) 8 1;
1
1 0; 1 1r
x
y y x x yx y x
x
y
x yx y x y y x
y
y y R R
−
= + = − + = −
+
+
− = + − = + =
−
− ≠ ≠ →∴ = −
3r ไมเปน :f R R→
เพราะวา 3rD R≠
3
1
( , ) /
8
x
r x y y
x
−⎧ ⎫
= =⎨ ⎬
+⎩ ⎭
เพราะวาสามารถเขียนใหอยูในรูป
y = (กลุมของตัวแปร x)
59
1.4) –พิจารณาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ
-จัดกลุมตัวแปรในรูป..y=f(x)
…… 1 1y x x= + − −
-จากสมการสามารถแทนคา x เปน
จํานวนใดๆก็ไดแลวสามารถหาคา y
ไดเสมอ x R∴ ∈
{ }4 ( , ) / 1 1r x y y x x= = + − −
rD rR
-จากสมการไมสามารถจัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) ได
-ใหทําการถอดคาสัมบูรณออกกอน โดยการกําหนด
ชวงของคา x แลวคอยจัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y)
{ }4rD x R∴ = ∈
-จากสมการ… 1 1y x x= + − − … คาวิกฤติของคา x มี
2 คาคือ -1 และ 1 จากการจับ 1 0x + = และ 1 0x − =
แกสมการหาคา x = -1,1
-แบงคา x เปน 3 ชวง ดังนี้
• •
1−
1 2 3
1x < − 1 1x− ≤ < 1x ≥
1 1
( 1) ( ( 1))
1 1
2
y x x
y x x
y x x
y
= + − −
= − + − − −
= − − + −
∴ = −
∵ 1 1
( 1) ( ( 1))
1 1
2 ........
2
1 1 1 1
2
2 2
y x x
y x x
y x x
y
y x x
y
x
y
= + − −
= + − − −
= + + −
∴ = =
− ≤ < →∴− ≤ <
∴− ≤ <
∵
∵
1
1 1
( 1) ( 1)
1 1
2
y x x
y x x
y x x
y
= + − −
= + − −
= + − +
∴ =
∵
{ }4 / 2 2rR y R y∴ = ∈ − ≤ ≤
60
• พิจารณาวาเปนฟงกชันอะไรบาง
4r f=
เพราะวาสามารถเขียนใหอยูในรูป
y = (กลุมของตัวแปร x)
{ }4 ( , ) / 1 1r x y y x x= = + − −
[ ]4 4, 2,2r rD R R= = −
4r เปน :f R R→
เพราะวา 4 4r rD R R R= ∧ ⊂
4r ไมเปน : onto
f R R⎯⎯⎯→ 4r ไมเปน 1:1
:f R R⎯⎯→ 4r ไมเปน 1:1
: onto
f R R⎯⎯⎯→
เพราะวา 4rR R≠ เพราะวาสามารถหาคา x อยางนอย 2 คา
แทนในสมการ 1 1y x x= + − − แลว
ไดคา y เทากัน เชน ที่ x=-3 แทนคาได
y=-2 และที่ x=-2 ก็แทนคาได y=-2
เชนกัน
เพราะวา 4r ไมเปน : onto
f R R⎯⎯⎯→
61
1.5) พิจารณาวา { }5 ( , ) /r x y x y x y= + ≥ + เปนฟงกชันหรือไม
• โดยการหาคา x จํานวน 1 คา แทนลงไปในสมการ แลวไดคา y ออกมาอยางนอย 2 คาจะ
ทําใหความสัมพันธนั้นไมเปนฟงกชัน เชนที่ x=2 , y=1 และที่ x=2 , y=2 แทนลง
ในสมการ x y x y+ ≥ + ทําใหสมการเปนจริงทั้งคู
5...r not function∴
5.8 การหาคาของฟงกชัน
ในกรณีที่ f เปนฟงกชันเราสามารถแทน ( , )x y f∈ ดวย ( )y f x= การหา
คาของฟงกชันเปนการหาคาของ ( )f x ที่ x เปนคาใดๆนั้นเอง
ตัวอยางเชน
1. ให { }(1,2),(3,4),(2,7),(8,5)f = จงหาคาของ
1.1) (3)f
1.2) (8)f
1.3) ( (1))f f
1.4) (4)f
1.5) ถา ( ) 5f x = จงหาคา x
วิธีทํา
1.1) (3) ?f = …….พิจารณาคูอันดับของฟงกชัน f ที่มีคา x=3……..(3,4)
(3) 4f∴ =
.... 2, 1
2 1 2 1
3 3
3 3..........
at x y
x y x y
true
= =
+ ≥ +
+ ≥ +
≥
≥
..... 2, 2
2 2 2 2
4 4
4 4..........
at x y
x y x y
true
= =
+ ≥ +
+ ≥ +
≥
≥
62
1.2) (8) ?f = …….พิจารณาคูอันดับของฟงกชัน f ที่มีคา x=8……..(8,5)
(8) 5f∴ =
1.3) ( (1)) ?f f = ………หาคาของ (1)f กอน ได (1) 2f =
( (1)) (2) 7f f f∴ = =
1.4) (4) ?f = ………..เนื่องจากคูอันดับของฟงกชัน f ไมมีคูอันดับใดที่มีคา x=4
(4)f∴   หาคาไมได 
1.5) ( ) 5f x =∵ ………พิจารณาคูอันดับที่มีคา y=5 ซึ่งก็คือคูอันดับ (8,5)
8x∴ =
2. ให ( ) 3 1f x x= − จงหาคาของ
2.1) (2)f
2.2)
2
( 1)f x −
วิธีทํา
2.1) (2) ?f = ………ทําการแทนคา x=2
( ) 3 1
(2) 3(2) 1
(2) 6 1
(2) 5
f x x
f
f
f
= −
= −
= −
∴ =
2.2)
2
( 1) ?f x − = ……….ทําการแทนคา x ดวย
2
( 1)x −
2 2
2 2
2 2
( ) 3 1
( 1) 3( 1) 1
( 1) 3 3 1
( 1) 3 4
f x x
f x x
f x x
f x x
= −
− = − −
− = − −
∴ − = −
63
3. กําหนดให (3 4) 4 3f x x− = + จงหาคาของ (8), (2)f f
วิธีทํา
3.1) (8) ?f = ……….หาคา x ที่แทนใน 3x-4 แลวทําใหมีคาเทากับ 8
3 4 8
3 12
4
x
x
x
− =
=
∴ =
…….แทนคา x=4 ลงใน (3 4) 4 3f x x− = +
(3 4) 4 3
(3(4) 4) 4(4) 3
(8) 16 3
(8) 19
f x x
f
f
f
− = +
− = +
= +
∴ =
3.2) (2) ?f = ……….หาคา x ที่แทนใน 3x-4 แลวทําใหมีคาเทากับ 2
3 4 2
3 6
2
x
x
x
− =
=
∴ =
…….แทนคา x=2 ลงใน (3 4) 4 3f x x− = +
(3 4) 4 3
(3(2) 4) 4(2) 3
(2) 8 3
(2) 11
f x x
f
f
f
− = +
− = +
= +
∴ =
64
แบบฝกหัด
1. ความสัมพันธตอไปนี้เปนฟงกชันหรือไม
1.1) { }1 (2,0),(3,1),(7,6)r =
1.2) { }2 (2,4),(2,6),(5,6),(9,6)r =
1.3) { }3 (3,2),(3,4),(3,5)r =
1.4) { }4 (0,4),( 3,5),(1,8)r = −
2. พิจารณาความเปนฟงกชันจากความสัมพันธตอไปนี้
2.1) { }1 ( , ) / 3 9r x y RxR y x= ∈ = +
2.2) { }2
2 ( , ) /r x y RxR y x= ∈ =
65
2.3) { }2
3 ( , ) /r x y RxR x y= ∈ =
2.4) { }2
4 ( , ) / , 0r x y RxR x y y= ∈ = ≤
2.5) { }2 2
5 ( , ) / 4r x y RxR x y= ∈ + =
2.6) { }2 2
6 ( , ) / 4,0 2r x y RxR x y y= ∈ + = ≤ ≤
2.7) { }2 2
7 ( , ) / 4,0 2 0 2r x y RxR x y x and y= ∈ + = ≤ ≤ ≤ ≤
2.8) { }2
8 ( , ) / 2 8r x y RxR y x x= ∈ = − −
2.9) { }2
9 ( , ) / 2 8r x y RxR x y y= ∈ = − −
66
2.10) { }2
10 ( , ) / 2 8, 1r x y RxR x y y y= ∈ = − − ≥
3. กราฟจากความสัมพันธดังตอไปนี้ความสัมพันธใดเปนฟงกชัน
3.1)
3.2)
3.3)
y
x
y
x
y
x
67
3.4)
3.5)
3.6)
3.7)
y
x
y
x
y
x
y
x
68
3.8)
3.9)
3.10)
4. กําหนด { }1,2A = และ { }3,4B = จงหา
4.1) ฟงกชันจาก A ไป B ไดแก
y
x
y
x
y
x
69
4.2) ฟงกชันจาก B ไป A ไดแก
5. กําหนด { }1,2,3A = และ { },B a b= จงหา
5.1) ฟงกชันจาก A ไป B ไดแก
5.2) ฟงกชันจาก B ไป A ไดแก
6. กําหนด { }1,2,3A = และ { }, ,B a b c= จงหา
6.1) ฟงกชัน 1-1 จาก A ไป B ไดแก
6.2) ฟงกชัน 1-1 จาก B ไป A ไดแก
70
6.3) ฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B ไดแก
7. ให { }2,6,9A = และ { }4,0,1,7B = − บอกชนิดของฟงกชันตอไปนี้
7.1) { }1( ) (2, 4),(6,1),(2,1)f x = −
7.2) { }2 ( ) ( 4,2),(0,2),(1,2),(7,2)f x = −
7.3) { }3 ( ) ( 4,0),(0,0),(1,7),(7,7)f x = −
7.4) { }4 ( ) ( 4,2),(0,6),(1,6),(7,9)f x = −
7.5) { }5 ( ) (2,0),(6,1),(9, 4)f x = −
8. จงพิจารณาหาฟงกชัน 1-1 จากกราฟตอไปนี้
8.1) y
x
71
8.2)
8.3)
8.4)
8.5)
y
x
y
x
y
x
y
x
72
8.6)
9. จงพิจารณาวาฟงกชันที่กําหนดใหตอไปนี้ ฟงกชันใดเปนฟงกชัน 1-1
9.1) ( ) 3 2f x x= +
9.2)
2
( ) 7f x x= −
9.3) ( ) 4 5f x x= +
9.4) ( ) 7f x x= −
9.5)
2
( ) 14 50f x x x= − +
y
x
73
10. กําหนด ( ) 3 2f x x= − และ 2 2x− ≤ ≤ จงหา fR
11. กําหนด
2
( ) 1f x x= + และ 4 2x− ≤ ≤ จงหา fR
12. กําหนด
2
( ) 2 8f x x x= − − และ 2 2x− ≤ ≤ จงหา fR
13. กําหนดให
2
( ) 2 5 2f x x x= − + เมื่อ 2 2x− ≤ ≤ จงหา
13.1) (0)f
13.2) ( 1)f −
13.3) (1)f
13.4) ( 2)f −
74
13.5) ( 3)f −
13.6) (3)f
14. กําหนด
2
( )
2
f x x
−
= จงหา
14.1) ( 2)f −
14.2) (0)f
14.3) (1)f
14.4) ( 3)f
14.5) (2)f
14.6) (3)f
เมื่อ 0x <
เมื่อ 0 2x≤ ≤
เมื่อ 2x >
75
15. กําหนด { }2
( , ) / 4 5f x y RxR y x x= ∈ = − + จงหา fD และ fR
16. กําหนด
1
( , ) /
2
f x y RxR y
x
⎧ ⎫⎪ ⎪
= ∈ =⎨ ⎬
+⎪ ⎪⎩ ⎭
จงหา fD และ fR
76
6. กราฟของความสัมพันธและฟงกชัน
ในระบบแกนมุมฉากเราสามารถกําหนดจุดพิกัด (x,y) แทนคูอันดับของจํานวนจริงของ 
ความสัมพันธ r ใดๆได และจากการกําหนดพิกัดแทนคูอันดับนี้เอง เราจะไดกราฟของ
ความสัมพันธ r ซึ่งจากกราฟนี้เองทําใหเราสามารถระบุโดเมนและเรนจของความสัมพันธได แทน
การพิจารณาโดเมนและเรนจจากสมการของตัวแปร x และ y รวมทั้งการพิจารณาวาความสัมพันธ
ใดเปนฟงกชัน และฟงกชันใดเปนฟงกชัน 1-1 บาง เปนตน
ให R เปนเซตของจํานวนจริง และ r RxR⊂ กราฟของความสัมพันธ r
คือ เซตของจุดบนระนาบ โดยที่แตละจุดแทนสมาชิกของความสัมพันธ r
อาจสรุปประเภทของกราฟไดดังแผนภาพตอไปนี้ 
กราฟของความสัมพันธและฟงกชัน
กราฟของจุด
กราฟเสนตรง
กราฟพาราโบลา
กราฟวงกลม กราฟฟงกชันเอกโปเนนเชียล
กราฟฟงกชันคาบันได
กราฟฟงกชันกําลังสอง
กราฟฟงกชันเชิงเสน
กราฟฟงกชันคาสมบูรณ
กราฟของอสมการ
77
6.1 กราฟของจุด
เปนกราฟของความสัมพันธหรือฟงกชันที่ประกอบไปดวยจุดที่ไมมีความตอเนื่องกันเปนเสน
ตัวอยางเชน
1. จงเขียนกราฟของความสัมพันธ { }(0,2),( 1, 1),(3,1),(2,2)r = − −
2. จงเขียนกราฟของความสัมพันธ { }( , ) / 4r x y AxA x y= ∈ + = โดยที่
{ }0,1,2,3,4A =
วิธีทํา แจกแจงสมาชิกของ r ไดดังนี้ { }(0,4),(1,3),(2,2),(3,1),(4,0)r =
1 2 31−
1−
1
2 •
•
•
•
(2,2)
(3,1)
( 1, 1)− −
(0,2)
y
x
y
x
1 2 3 4
1
2
3
4
0
•
•
•
•
•
(0,4)
(1,3)
(2,2)
(3,1)
(4,0)
78
6.2 กราฟเสนตรง
ความสัมพันธที่สมการ x และ y มีกําลังเปน 1 และมีรูปแบบของสมการอยูในรูป
y mx c= + โดยที่ m เปนคาความชันหรือความลาดเอียงของกราฟเสนตรง และ c คือระยะ
ตัดแกน y ตัวอยางเชน กราฟของสมการ y=2x+1 จะเปนกราฟเสนตรงที่มีความลาดเอียงของ
กราฟเทากับ 2 และมีระยะตัดแกน y เปน 1 ซึ่งสามารถวาดเปนกราฟไดดังนี้
ถาความลาดเอียงของกราฟเปน + จะไดกราฟเสนตรงที่เอียงทํามุมแหลมกับแกน x แตถา
ความลาดเอียงเปน – จะไดกราฟเสนตรงที่เอียงทํามุมปานกับแกน x และถาความลาดเอียงมีคา
เปน 0 กราฟจะเปนเสนตรงที่วางตัวตามแนวนอน สวนกราฟเสนตรงที่ทํามุมฉากกับแกน x คา
ความชันของกราฟจะหาคาไมได โดยอาจสรุปลักษณะความลาดเอียงของกราฟไดดังนี้
y
x
1 2 3
1
2
3
•(0,1)
y
x
y
x
y
x
y
x
ความลาดเอียงเปน +
ความลาดเอียงเปน -
ความลาดเอียงเปน 0 ความลาดเอียงหาคาไมได
79
ตัวอยางที่ 1 จงวาดกราฟของความสัมพันธ { }( , ) / 3 1r x y y x= = +
วิธีทํา จากสมการ y=3x+1 เมื่อเทียบกับรูปแบบสมการ y=mx+c จะไดคาความชันหรือ
ความลาดเอียงเทากับ 3 และระยะตัดแกน y เทากับ 1 เพราะฉะนั้นจะไดวากราฟผานจุด (0,1)
ในการวาดกราฟเสนตรงตองทราบจุด 2 จุด จุดที่ 1 คือ (0,1) ซึ่งเปนจุดตัดแกน y ทําการหาจุด
ที่ 2 โดยการแทนคา y=0 แลวหาคา x จากสมการ y=3x+1
และ
ตัวอยางที่ 2 จงวาดกราฟของความสัมพันธ { }( , ) / 3 4 2r x y x y= + =
วิธีทํา หาจุดตัดแกน x และ y โดย
1) จุดตัดแกน x หาไดโดยแทนคา y=0 แลวหาคา x
3 4 2
3 4(0) 2
3 2
2
3
x y
x
x
x
+ =
+ =
=
∴ =
จุดตัดแกน x เปน
1
( ,0)
3
−
จุดตัดแกน y เปน (0,1)
y
x•
•
1
( ,0)
3
−
(0,1)
จุดตัดแกน x เปน
2
( ,0)
3
3 1
3(0) 1
1
y x
y
y
= +
= +
∴ =
3 1
0 3 1
3 1
1
3
y x
x
x
x
= +
= +
= −
−⎛ ⎞
∴ = ⎜ ⎟
⎝ ⎠
80
2) จุดตัดแกน y หาไดโดยแทนคา x=0 แลวหาคา y
3 4 2
3(0) 4 2
4 2
1
2
x y
y
y
x
+ =
+ =
=
∴ =
3) สามารถวาดกราฟไดดังนี้
6.3 กราฟพาราโบลา
ความสัมพันธที่มีสมการ x,y อยูในรูปกําลังสอง โดยมีรูปแบบอยูในรูป 2
y ax bx c= + +
หรือ 2
x ay by c= + + โดยที่ a,b และ c คือคาคงที่ที่เปนจํานวนจริงใดๆ โดยแบงประเภท
และชนิดของพาราโบลาไดดังนี้
                                           ถา a >0 เปนกราฟพาราโบลาหงาย 
2
y ax bx c= + +
ถา a <0 เปนกราฟพาราโบลาคว่ํา
จุดตัดแกน y เปน
1
(0, )
2
y
x•
•
2
( ,0)
3
1
(0, )
2
81
ถา a >0 เปนกราฟพาราโบลาตะแคงขวา
2
x ay by c= + +
ถา a <0 เปนกราฟพาราโบลาตะแคงซาย
จากกราฟ 2
y ax bx c= + + พาราโบลาจะมีจุดยอดที่
จากกราฟ 2
x ay by c= + + พาราโบลาจะมีจุดยอดที่
2
4
( , )
4 2
ac b b
a a
− −
y
x
y
x
2
y ax bx c= + +
0a <
0a >
y
x
y
x
2
x ay by c= + +
0a <
0a >
2
4
( , )
2 4
b ac b
a a
− −
82
ตัวอยางที่ 1 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2
3 5 10y x x= + +  
วิธีทํา หาคา a ,b และ c จากการเทียบสมการ 2
3 5 10y x x= + + กับ 2
y ax bx c= + +
จะไดคา 3, 5, 10a b c= = = พิจารณาที่คา a=3 มีคาเปนบวก และกําลัง 2 อยูที่ x กราฟจะ
เปนพาราโบลาหงาย มีจุดยอดอยูที่
2
4
( , )
2 4
b ac b
a a
− −
=
2
5 4(3)(10) 5
( , )
2(3) 4(3)
5 120 25
( , )
6 12
5 95
( , )
6 12
− −
=
− −
=
−
=
ตัวอยางที่ 2 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2
3 5 10x y y= + +  
วิธีทํา จากสมการเทียบส.ป.ส.หาคา a,b,c ได a=3,b=5,c=10 คา a เปนบวกและกําลัง
สองอยูที่ y จะไดกราฟพาราโบลาตะแคงขวา มีจุดยอดอยูที่
5 95
( , )
6 12
−
เหมือนตัวอยางที่แลว
เพราะคา a,b,c เหมือนกัน
y
x
•
5 95
( , )
6 12
−
y
x
•
5 95
( , )
6 12
−
83
ตัวอยางที่ 3 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2
3 8 10x y y= − + +
วิธีทํา จากสมการเทียบส.ป.ส.หาคา a,b,c ได a=-3,b=8,c=10 คา a เปนลบและกําลัง
สองอยูที่ y จะไดกราฟพาราโบลาตะแคงซาย มีจุดยอดอยูที่
2
2
4
( , )
4 2
4( 3)(10) 8 8
( , )
4( 3) 2( 3)
120 64 8
( , )
12 6
184 4
( , )
12 3
46 4
( , )
3 3
ac b b
a a
− −
=
− − −
=
− −
− − −
=
− −
=
=
ตัวอยางที่ 4 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2
8 10y x x= − + +
วิธีทํา จากสมการเทียบส.ป.ส. หาคา a,b,c ได a=-1 , b=8 และ c=10 คา a เปนลบและ
กําลังสองอยูที่ x จะไดกราฟพาราโบลาคว่ํา มีจุดยอดอยูที่
2
4
( , )
2 4
b ac b
a a
− −
=
2
8 4( 1)(10) 8
( , )
2( 1) 4( 1)
40 64
(4, )
4
104
(4, )
4
(4,26)
− − −
=
− −
− −
=
−
−
=
−
=
y
x
•
46 4
( , )
3 3
84
6.4 กราฟของวงกลม
ความสัมพันธที่มีสมการทั่วไปอยูในรูป 2 2 2
( ) ( )x h y k r− + − = โดยที่ ( , )h k คือจุด
ศูนยกลางของวงกลม และ r คือรัศมีของวงกลม
ตัวอยางที่ 1 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2 2
( 3) ( 1) 9x y− + − =
วิธีทํา จัดสมการใหอยูในรูปแบบ 2 2 2
( ) ( )x h y k r− + − = ได 2 2 2
( 3) ( 1) 3x y− + − =
เทียบคา h,k และ r ไดคา h=3,k=1 และ r=3 ไดกราฟวงกลมที่มีจุดศูนยกลางที่ (3,1)
และมีรัศมีเทากับ 3 สามารถวาดกราฟไดดังนี้
y
x
(4,26)
x
( , )h k
•
• r
y
• 3r =
y
x
(3,1)
85
ตัวอยางที่ 2 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2 2
( 2) ( 1) 4x y− + + =
วิธีทํา จัดสมการใหอยูในรูปทั่วไป คือ 2 2 2
( 2) ( 1) 2x y− + + = จะไดคา h=2,k=-1 และ
r=2 สามารถวาดกราฟไดดังนี้
6.4 กราฟของอสมการ
เมื่อเราเรียนรูกราฟเสนตรง กราฟพาราโบลา และกราฟวงกลม แลว กราฟของอสมการก็จะ
กลาวถึงกราฟอสมการของกราฟเสนตรง พาราโบลา และวงกลม ดังจะยกตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยางที่ 1 จงเขียนกราฟของ 3 4y x≤ +
วิธีทํา วาดกราฟของ 3 4y x= + กอน ซึ่งเปนกราฟเสนตรง แลวเลือกคา y ที่นอยกวาหรือ
เทากับเสนกราฟ ดังรูป
y
x
(2, 1)−
•
2r =
y
x
3 4y x≤ +
86
ตัวอยางที่ 2 จงเขียนกราฟของ 3 4y x> +
วิธีทํา วาดกราฟของ 3 4y x= + กอน แลวเลือกคา y ที่มากกวาเสนกราฟ ดังรูป
ตัวอยางที่ 3 จงเขียนกราฟของ 2
2 1y x x> + +
วิธีทํา วาดกราฟของ 2
2 1y x x= + + กอน ซึ่งเปนกราฟพาราโบลาแลวเลือกคา y ที่
มากกวาเสนกราฟ ดังรูป
ตัวอยางที่ 4 จงเขียนกราฟของ 2 2
1x y+ >
วิธีทํา วาดกราฟของ 2 2
1x y+ = กอน ซึ่งเปนกราฟวงกลมแลวเลือกพื้นที่ของกราฟอยู
ในชวงนอกวงกลม ดังรูป
x
3 4y x> +
y
y
x
2
2 1y x x> + +
87
7. พีชคณิตของฟงกชัน
คือการดําเนินการของฟงกชัน เชน การนําฟงกชันมาบก ลบ คูณ หรือหารกัน โดยมีลักษณะ
ดังนี้
กําหนดให f และ g เปนฟงกชัน
1) การนําฟงกชันมาบวกกัน-ฟงกชัน f บวกฟงกชัน g เขียนแทนดวย f+g โดยมี
ความหมายดังนี้
( )( ) ( ) ( ) f g f gf g x f x g x D D D++ = + ⇒ = ∩
2) การนําฟงกชันมาลบกัน-ฟงกชัน f ลบฟงกชัน g เขียนแทนดวย f-g โดยมีความหมาย
ดังนี้
( )( ) ( ) ( ) f g f gf g x f x g x D D D+− = − ⇒ = ∩
3) การนําฟงกชันมาคูณกัน-ฟงกชัน f คูณฟงกชัน g เขียนแทนดวย f g⋅ โดยมี
ความหมายดังนี้
( )( ) ( ) ( ) f g f gf g x f x g x D D D+⋅ = ⋅ ⇒ = ∩
y
x
2 2
1x y+ >
88
4) การนําฟงกชันมาหารกัน-ฟงกชัน f หารฟงกชัน g เขียนแทนดวย
f
g
โดยมีความหมาย
ดังนี้
( )
( )( ) , ( ) 0 ( ) { | ( ) 0}
( )
f g f g
f f x
x g x D D D x g x
g g x
+= ≠ ⇒ = ∩ − =
ตัวอยาง เชน
1. ถา
2
( ) 3 2 1f x x x= − + และ ( ) 2 1g x x= −
จงหา ( )( ) , ( )( ) , ( )( )f g x f g x f g x+ − ⋅ และ ( )
f
x
g
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
วิธีทํา
1) หา ( )( )f g x+
จาก ( )( ) ( ) ( ) , f g f gf g x f x g x D D D++ = + = ∩
2
2
2
( )( ) (3 2 1) (2 1) ,
( )( ) 3 2 1 2 1 ,
( )( ) 3 ,
f g
f g
f g x x x x D R R
f g x x x x D R
f g x x x R
+
+
+ = − + + − = ∩
+ = − + + − =
+ = ∈
2) หา ( )( )f g x−
จาก ( )( ) ( ) ( ) , f g f gf g x f x g x D D D−− = − = ∩
2
2
2
( )( ) (3 2 1) (2 1) ,
( )( ) 3 2 1 2 1 ,
( )( ) 3 2 ,
f g
f g
f g x x x x D R R
f g x x x x D R
f g x x x x R
−
−
− = − + − − = ∩
− = − + − + =
− = − 4 + ∈
89
3) หา ( )( )f g x⋅
จาก ( )( ) ( ) ( ) , f g f gf g x f x g x D D D⋅⋅ = ⋅ = ∩
2
2 2
( )( ) (3 2 1)(2 1) ,
( )( ) (3 2 1)(2 ) (3 2 1) ,
f g
f g
f g x x x x D R R
f g x x x x x x D R
⋅
⋅
⋅ = − + − = ∩
⋅ = − + − − + =
3 2 2
3 2
( )( ) (6 2 ) (3 2 1) ,
( )( ) 6 7 4 1 ,
f gf g x x x x x x D R
f g x x x x x R
⋅⋅ = − 4 + − − + =
⋅ = − + − ∈
4) หา ( )( )
f
x
g
จาก
( )
( )( ) , ( ) { | ( ) 0}
( )
f f g
g
f f x
x D D D x g x
g g x
= = ∩ − =
2
2
2
3 2 1 1
( )( ) , ( ) { | }
2 1 2
3 2 1 1
( )( ) , { | }
2 1 2
3 2 1 1
( )( ) ,
2 1 2
f
g
f g
f x x
x D R R x x
g x
f x x
x D R x x
g x
f x x
x x
g x
+
− +
= = ∩ − =
−
− +
= = − =
−
− +
= ≠
−
2. ถา
2
( ) 3 2 1f x x x= − + โดยที่ 3 3x− ≤ ≤ และ
( ) 2 1g x x= − โดยที่ 0 5x≤ ≤ จงหา ( )( )f g x+ และ ( )( )
f
x
g
วิธีทํา
1) หา ( )( )f g x+
จาก ( )( ) ( ) ( ) , f g f gf g x f x g x D D D++ = + = ∩
2
2
2
( )( ) (3 2 1) (2 1) , [3, 3] [0,5]
( )( ) 3 2 1 2 1 , [0,3]
( )( ) 3 , 3
f g
f g
f g x x x x D
f g x x x x D
f g x x x
+
+
+ = − + + − = − ∩
+ = − + + − =
+ = 0 ≤ ≤
90
2) หา ( )( )
f
x
g
จาก
( )
( )( ) , ( ) { | ( ) 0}
( )
f f g
g
f f x
x D D D x g x
g g x
= = ∩ − =
2
2
2
2
3 2 1 1
( )( ) , ([ 3,3] [0,5]) { | }
2 1 2
3 2 1 1
( )( ) , [0,3] { | }
2 1 2
3 2 1 1 1
( )( ) , [0, ) ( ,3]
2 1 2 2
3 2 1 1
( )( ) , 0
2 1 2
f
g
f
g
f
g
f x x
x D x x
g x
f x x
x D x x
g x
f x x
x D
g x
f x x
x x
g x
− +
= = − ∩ − =
−
− +
= = − =
−
− +
= = ∪
−
− +
= ≤ <
−
8. ฟงกชันประกอบ
คือ การซอนหรือเชื่อมโยงกันของฟงกชันอยางนอย 2 ฟงกชัน อาจอธิบายโดยภาพการ
เชื่อมโยงไดดังตัวอยางตอไปนี้
หรือ
1
3
2
x< ≤
1
2
4
3
6
5
0
2
8
A B
f g
C
ฟงกชัน f และ g เชื่อมโยงกันโดยเซต B
เราสามารถหาคาของฟงกชันประกอบ f และ g ได เชน
( )(1)g f ⇒ มีคาหรือความหมายเปน ( (1)) (3) 0g f g= =
91
ตัวอยาง เชน
1. ให ( ) 2 1f x x= + และ
2
( ) 4g x x= + จงหา g f และ f g
วิธีทํา
1) ( )( ) ( ( ))g f x g f x=
2
2
2
(2 1)
(2 1) 4
(4 4 1) 4
4 4 5
g x
x
x x
x x
= +
= + +
= + + +
= + +
2) ( )( ) ( ( ))f g x f g x=
2
2 2
2
2
( 4)
2( 4) 1
2 8 1
2 9
f x
x
x
x
= +
= + +
= + +
= +
ขอสังเกต
1) ถา f gR D∩ ≠ ∅ แสดงวาสามารถหา g f ได
ถา g fR D∩ ≠ ∅ แสดงวาสามารถหา f g ได
2) ( )( )f g x ไมจําเปนตองเทากับ ( )( )g f x
2. ให ( ) 4f x x= + และ ( ) 3 9g x x= + จงหา ( )( )g f x และ
( )( )f g x
วิธีทํา
1) ตรวจสอบวาสามารถหา ( )( )g f x และ ( )( )f g x ไดหรือไม
⇒ถา ( )( )g f x หาได แลว [f g fR D R R∩ ≠ ∅ = และ ]gD R=
R R∩ ≠ ∅
R ≠ ∅ จริง
( )( )g f x∴ สามารถหาคาได
92
⇒ถา ( )( )f g x หาได แลว [g f gR D R R∩ ≠ ∅ = และ ]fD R=
R R∩ ≠ ∅
R ≠ ∅ จริง
( )( )f g x∴ สามารถหาคาได
2) หาคาของ ( )( )g f x และ ( )( )f g x
( )( ) ( ( ))g f x g f x⇒ =
( 4)
3( 4) 9
3 12 9
3 21
g x
x
x
x
= +
= + +
= + +
= +
( )( ) 3 21g f x x∴ = +
( )( ) ( ( ))f g x f g x⇒ =
(3 9)
(3 9) 4
3 13
f x
x
x
= +
= + +
= +
( )( ) 3 13f g x x∴ = +
3. กําหนดให ( )f x = และ ( ) 2 5g x x= +
จงหาคาของ ( )(3)f g และ ( )( 2)g f −
วิธีทํา
1) หาคา ( )(3)f g
( )(3) ( (3))f g f g=
(2(3) 5)
(11)
f
f
= +
=
จาก ( )f x =
2x
7x −
เมื่อ 1x ≥
เมื่อ 1x <
2x
7x −
เมื่อ 1x ≥
เมื่อ 1x <
11x = (11)f
93
(11) 2(11) 22f⇒ = =
( )(3) 22f g∴ =
2) หาคา ( )( 2)g f −
( )( 2) ( ( 2))g f g f− = −
จาก ( )f x =
( ( 2)) ( 2 7)g f g⇒ − = − −
( 9)
2( 9) 5
18 5
13
g= −
= − +
= − +
= −
( )( 2) 13g f∴ − = −
9. ความสัมพันธผกผันและฟงกชันผกผัน
เมื่อกําหนดให r เปนความสัมพันธใดๆจาก A ไป B
{( , ) }r x y A B= ∈ ×
ความสัมพันธผกผันของ r เราเขียนแทนดวย 1
r−
มีความหมายดังนี้
1
{( , ) | ( , ) }r y x x y r−
= ∈
ในกรณีของฟงกชันผกผันก็เชนเดียวกันกับความสัมพันธผกผันคือ ถาให f เปนฟงกชันจาก
A ไป B แลว ฟงกชันผกผันของ f เขียนแทนดวย
1
f −
มีความหมายคือ
1
{( , ) | ( , ) }f y x x y f−
= ∈
ตัวอยาง เชน
2x
7x − เมื่อ 1x ≥
2x = − ( 2)f −
เมื่อ 1x <
94
1. ให {1,2,3,4}A = และ { , , , }B a b c d= และ {(1, ),(2, ),(3, )}r a c d=
จงหา 1
r−
วิธีทํา
หา 1
r−
ไดโดยการสลับ (x,y) เปน (y,x) ดังนี้
1
{( ,1),( ,2),( ,3)}r a c d−
=
2. กําหนด
2
{( , ) | 2 1}r x y A B y x= ∈ × = + จงหา 1
r−
วิธีทํา
หา 1
r−
ไดโดยการสลับ (x,y) เปน (y,x)
3. กําหนดให
3 1
{( , ) | }
2 1
x
r x y R R y
x
+
= ∈ × =
+
จงหา 1
r−
วิธีทํา
1 3 1
{( , ) | }
2 1
y
r x y R R x
y
− +
= ∈ × =
+
พิจารณา
3 1
2 1
y
x
y
+
=
+
(2 1) 3 1
2 3 1
1 3 2
1 (3 2 )
x y y
xy x y
x y xy
x y x
+ = +
+ = +
− = −
− = −
2
{( , ) | 2 1}r x y A B y x= ∈ × = +
1 2
{( , ) | 2 1}r y x B A y x−
= ∈ × = +
1 2
{( , ) | 2 1}r x y B A x y−
= ∈ × = +
95
1
3 2
x
y
x
−
=
−
1 1
{( , ) | }
3 2
x
r x y R R y
x
− −
∴ = ∈ × =
−
4. ให {( , ) | ( ) 2 5}f x y R R f x x= ∈ × = + จงหา
1
f −
วิธีทํา
พิจารณา………. 2 5x y= + ………คา 0x ≥
2
2 5x y= + ………คา 0x ≥
2
5 2x y− = ………คา 0x ≥
2
5
2
x
y
−
= ………คา 0x ≥
2
1 5
{( , ) | , 0}
2
x
f x y R R y x− −
∴ = ∈ × = ≥
5. กําหนดให (3 1) 2 8f x x− = + แลว
1
(10)f −
เทากับเทาใด
วิธีทํา
1) สมมติให ……..
2) จาก (3 1) 2 8f x x− = + นํามาเทียบกับ ( ) 10f a =
จะไดวา……..
3)
1
(10) 2f −
=
{( , ) | 2 5}f x y R R y x= ∈ × = +
1
{( , ) | 2 5}f x y R R x y−
= ∈ × = +
1
(10)f a−
= ( ) 10f a =
2 8 10
2 2
1
x
x
x
+ =
=
=
3 1
3(1) 1
3 1
2
x a
a
a
a
− =
− =
− =
∴ =
96
6. กําหนดให
1 1
( 1) 1
2 2
f x x+ = − แลว
1
(2)f −
เทากับเทาใด
วิธีทํา
1) สมมติให ……..
2) จาก
1 1
( 1) 1
2 2
f x x+ = − นํามาเทียบกับ ( ) 2f a =
จะไดวา……..
3)
1
(2) 4f −
=
7. กําหนดฟงกชัน f และ g ดังนี้
3
( ) ,
2
x
f x x R
+
= ∈ และ ( ) ,g x x x R= ∈
เมื่อ 3x = คาของ
1 1
[( )( ) ( )(2)]
2
f g x f g
x
− −
−
−
เทากับเทาใด
วิธีทํา
1) หาคาของ
1 1
1 1[( )(3) ( )(2)]
( )(3) ( )(2)
3 2
f g f g
f g f g
− −
− −−
= −
−
2) หาคาของ
1
( )(3)f g−
1 1
( )(3) ( (3))f g f g− −
=
1
1
(3)
(3)
f
f
−
−
=
=
สมมติให
1
1 2
2
1
3
2
6
x
x
x
− =
=
=
1
1
2
1
(6) 1
2
3 1
4
x a
a
a
a
+ =
+ =
+ =
∴ =
1
(2)f a−
= ( ) 2f a =
1
(3)f a−
= ( ) 3f a =
97
นํา ( ) 3f a = มาเทียบกับ
3
( )
2
x
f x
+
=
1
( )(3) 3f g−
∴ =
3) หาคาของ
1
( )(2)f g−
1 1
( )(2) ( (2))f g f g− −
=
1
1
( 2 )
(2)
f
f
−
−
=
=
สมมติให
นํา ( ) 2f a = มาเทียบกับ
3
( )
2
x
f x
+
=
1
( )(2) 1f g−
∴ =
4) หาคา
1 1
( )(3) ( )(2)f g f g− −
−
1 1
( )(3) ( )(2) 3 1 2f g f g− −
− = − =
∴เมื่อ 3x = คาของ
1 1
[( )( ) ( )(2)]
2
2
f g x f g
x
− −
−
=
−
3
3
2
3 6
3
x
x
x
+
=
+ =
=
3
3
x a
a
a
=
=
∴ =
1
(2)f a−
= ( ) 2f a =
3
2
2
3 4
1
x
x
x
+
=
+ =
=
1
1
x a
a
a
=
=
∴ =
98
แบบฝกหัด
1. จงเขียนกราฟของความสัมพันธหรือฟงกชันตอไปนี้
1) 1 {(1,2),(3,4),(5,6)}r =
2) 2 {( , ) | 1}r x y I I y x+ +
= ∈ × = +
99
3) 3 {( , ) | 1}r x y y x= = +
4) 4 {( , ) | 1}r x y y x= > +
100
5) 5 {( , ) | }r x y y x= =
6) 6 {( , ) | 2}r x y y x= + =
101
7) 7 {( , ) |r x y y x= ≥ และ 10 0}x y− ≤
8)
2
8 {( , ) | 2 3}r x y y x x= = − +
102
9)
2
9 {( , ) | 2 3,0 3}r x y y x x x= = − + ≤ ≤
10)
2
10 {( , ) | 2 3}r x y y x x= = − +
103
11) ( )f x =
12) ( ) 4f x x= −
4 ; 2x x− ≥
; 2x x− <
104
13) ( ) 3 4f x x= − +
14) ( )f x =
2
; 0x x >
2 ; 0x x− ≤
105
15)
2 2
11 {( , ) | 4}r x y R R x y= ∈ × + ≥
16)
2
12 {( , ) | ( 1) }r x y R R x y= ∈ × ≥ +
106
17)
2
13 {( , ) | ( 1) }r x y R R x y= ∈ × < − −
18)
2
14 {( , ) | 1 2 }r x y R R x y y= ∈ × − ≥ +
107
19) 15 {( , ) | 3}r x y R R x y= ∈ × ≥ −
20) 16 {( , ) | 1 1}r x y R R y x= ∈ × < − + +
108
2. ให {(0,2),(2,3),(3,4),(4,5)}f = และ {(0,1),(1,2),(2,0)}g = จงหา
1) f g+
2) f g−
3) f g⋅
4)
f
g
109
3. ให {(1,3),(2,7),(3,9),(5,10)}f = และ {(1,3),(2,5),(3,0),(4,2)}g =
จงหา
1) f g+
2) f g−
3) f g⋅
4)
f
g
110
4. ให ( ) 3 , ( ) 4 2f x x g x x= = + จงหาพีชคณิตของฟงกชันตอไปนี้
1) f g+
2) f g−
3) f g⋅
4)
f
g
111
5. ถา ( ) (3 )(2 )f x x x= + − และ
1
( )
3
g x
x
=
+
แลวจงหาโดเมนของ
f g−
112
6. ให
2
( ) 1f x x= − เมื่อ 2 2x− ≤ ≤ และ ( ) 2 2g x x= − เมื่อ
1 5x− ≤ ≤
จงหา ,f g f gD R− − และ f g−
113
7. ให
2
( ) 5 2, ( )f x x g x x= + = จงหาพีชคณิตของฟงกชันตอไปนี้
1) f g+
2) f g−
3) f g⋅
4)
f
g
114
8. ให
2
6 1
( ) , ( )
2
x x
f x g x
x x
− −
= =
−
จงหาพีชคณิตของฟงกชันตอไปนี้
1) f g+
2) f g−
3) f g⋅
4)
f
g
115
9. ให {(1,2),(3,4),(5,6)}f =
{(2,10),(4,20),(6,30)}g =
จงหา g f
10. ให {(1,7),(2,8),(3,9),(7,1),(8,2),(9,3)}f =
{(1,1),(2,2),(3,3),(7,7),(8,8),(9,9)}g =
จงหา , ,g f f g g g
116
11. ให ( ) 6, ( ) 2 3f x x g x x= + = − ใหหา ( )(2)g f และ
( )(3)f g
12. ให
2
( ) 2 , ( ) 5f x x x g x x= − = − ใหหา ( )(3)g f และ
( )(9)f g
117
13. กําหนด ( ) 3f x x= และ ( )g x =
จงหา
1
( )( )
5
g f −
14. กําหนดให ( ) 3f x x=
( )h x =
2
( ) 1g x x= +
จงหาวา ( )(1)f h g มีคาเทากับเทาใด
2
; 1x x ≥ −
2
; 1
3
x
x
−
≤ −
2 2 ; 0x x− <
2 3 ; 0x x− ≥
118
15.กําหนด ( ) 2 1f x x= + และ ( )( ) 2 4g f x x= + จงหา ( )g x
16.กําหนด ( ) 2f x x= − และ
2
( )( ) 4 4g f x x x= − − จงหา ( 1)g −
119
17. จงหา ( )f x จาก ( )g x และ ( )( )g f x ที่กําหนดใหตอไปนี้
17.1) ( )g x x= และ
2
( )( ) 1g f x x= −
17.2) ( ) 2g x x= + และ
3
( )( ) 2g f x x= +
120
18. กําหนด ( )( ) 4 5g f x x= − และ ( ) 2 1g x x= + จงหา ( )f x
19. กําหนด ( ) 5f x x= − และ
2
( )g x x= จงหา ,g fD g f
121
20. กําหนด
2
( )
x
f x
x
−
= และ
1
( )g x
x
= จงหา ,g fD g f
21. กําหนด
2
( )f x x= และ ( ) 5g x x= + จงหา ,g fD g f
122
22. กําหนด
1
( )
x
f x
x
+
= และ ( ) 2 3g x x= − จงหา , ,g f f g f f
พรอมหาโดเมนของทุกฟงกชัน
123
23. กําหนด
1
( )f x
x
= และ
2
( ) 4g x x x= + จงหา ,g f f g พรอมหา
โดเมนของทุกฟงกชัน
Relation and function
Relation and function
Relation and function
Relation and function
Relation and function
Relation and function
Relation and function
Relation and function
Relation and function
Relation and function
Relation and function

More Related Content

What's hot

Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Thanuphong Ngoapm
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)Thanuphong Ngoapm
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจชัชชญา ช่างเจริญ
 

What's hot (20)

Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Pat1 54-10+key
Pat1 54-10+keyPat1 54-10+key
Pat1 54-10+key
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
Cal 3
Cal 3Cal 3
Cal 3
 
Cal 8
Cal 8Cal 8
Cal 8
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
60 real
60 real60 real
60 real
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Cal 7
Cal 7Cal 7
Cal 7
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
สรุปสถิติ
สรุปสถิติสรุปสถิติ
สรุปสถิติ
 
Pat1 59-03+key.
Pat1 59-03+key.Pat1 59-03+key.
Pat1 59-03+key.
 
P2a
P2aP2a
P2a
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 

Viewers also liked

ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)Thanuphong Ngoapm
 
Fire Starter Part 2
Fire Starter Part 2Fire Starter Part 2
Fire Starter Part 2AESnider
 
“La relación entre las tasas de divorcio y el aumento de Delincuentes."
“La relación entre las tasas de divorcio y el aumento de Delincuentes."“La relación entre las tasas de divorcio y el aumento de Delincuentes."
“La relación entre las tasas de divorcio y el aumento de Delincuentes."RossaMartin
 
Contencioso Tributario
Contencioso TributarioContencioso Tributario
Contencioso Tributarioswatwlly
 
Guia 5 multiplicación de enteros
Guia 5 multiplicación de enterosGuia 5 multiplicación de enteros
Guia 5 multiplicación de enterosJenny Garcia
 
โจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิตโจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิตThanuphong Ngoapm
 
TV Advert: Pre-production Paperwork
TV Advert: Pre-production PaperworkTV Advert: Pre-production Paperwork
TV Advert: Pre-production PaperworkRuth Ann
 
El contencioso tributario UFT
El contencioso tributario UFTEl contencioso tributario UFT
El contencioso tributario UFTRossaMartin
 
UNC Center for Heart & Vascular Care 'Go Red For Women' 2015
UNC Center for Heart & Vascular Care 'Go Red For Women' 2015UNC Center for Heart & Vascular Care 'Go Red For Women' 2015
UNC Center for Heart & Vascular Care 'Go Red For Women' 2015UNCHeartandVascular
 
Kimjiiii
KimjiiiiKimjiiii
KimjiiiiKJ TLL
 
Atividade de história - O começo da história humana
Atividade de história - O começo da história humanaAtividade de história - O começo da história humana
Atividade de história - O começo da história humanaMary Alvarenga
 

Viewers also liked (18)

Logic
LogicLogic
Logic
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
 
Statistic1
Statistic1Statistic1
Statistic1
 
Fire Starter Part 2
Fire Starter Part 2Fire Starter Part 2
Fire Starter Part 2
 
“La relación entre las tasas de divorcio y el aumento de Delincuentes."
“La relación entre las tasas de divorcio y el aumento de Delincuentes."“La relación entre las tasas de divorcio y el aumento de Delincuentes."
“La relación entre las tasas de divorcio y el aumento de Delincuentes."
 
Contencioso Tributario
Contencioso TributarioContencioso Tributario
Contencioso Tributario
 
Guia 5 multiplicación de enteros
Guia 5 multiplicación de enterosGuia 5 multiplicación de enteros
Guia 5 multiplicación de enteros
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
Font Ideas
Font IdeasFont Ideas
Font Ideas
 
โจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิตโจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิต
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
TV Advert: Pre-production Paperwork
TV Advert: Pre-production PaperworkTV Advert: Pre-production Paperwork
TV Advert: Pre-production Paperwork
 
El contencioso tributario UFT
El contencioso tributario UFTEl contencioso tributario UFT
El contencioso tributario UFT
 
UNC Center for Heart & Vascular Care 'Go Red For Women' 2015
UNC Center for Heart & Vascular Care 'Go Red For Women' 2015UNC Center for Heart & Vascular Care 'Go Red For Women' 2015
UNC Center for Heart & Vascular Care 'Go Red For Women' 2015
 
Kimjiiii
KimjiiiiKimjiiii
Kimjiiii
 
BREATHING APPARATUS
BREATHING APPARATUSBREATHING APPARATUS
BREATHING APPARATUS
 
From zero to hero with Docker
From zero to hero with DockerFrom zero to hero with Docker
From zero to hero with Docker
 
Atividade de história - O começo da história humana
Atividade de história - O começo da história humanaAtividade de história - O começo da história humana
Atividade de história - O começo da história humana
 

Similar to Relation and function

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนkroojaja
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEFocusjung Suchat
 

Similar to Relation and function (20)

Relations
RelationsRelations
Relations
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
Relafuncadd1
Relafuncadd1Relafuncadd1
Relafuncadd1
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
Function
FunctionFunction
Function
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 

More from Thanuphong Ngoapm

เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565Thanuphong Ngoapm
 
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfการประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfThanuphong Ngoapm
 
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์Thanuphong Ngoapm
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfThanuphong Ngoapm
 
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfmath_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfเฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfThanuphong Ngoapm
 
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfสถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfThanuphong Ngoapm
 
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfการให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfจำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfเซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
analyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfanalyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfThanuphong Ngoapm
 

More from Thanuphong Ngoapm (20)

เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
 
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
 
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfการประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
 
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
 
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfmath_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfเฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
 
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
 
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
 
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
 
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfสถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
 
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfการให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
 
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfจำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
 
เซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfเซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdf
 
analyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfanalyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdf
 
4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf
 

Relation and function

  • 1. 1 คูลําดับผลคูณคารทีเซียน ความสัมพันธ ฟงกชัน โจทยเกี่ยวกับความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ พีชคณิตของฟงกชัน •f+g •f-g •f • g •f/g ฟงกชันประกอบ •fg •gf กราฟของฟงกชันและความสัมพันธ •ฟงกชันเชิงเสน,ฟงกชันกําลังสอง •ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล •ฟงกชันคาสมบูรณ,ฟงกชันขั้นบันได •กราฟภาคตัดกรายเชนวงกลม พาราโบลา,ไฮเปอรโบลา,วงรี เปนตน •ฟงกชันจากAไปBinto •ฟงกชันจากAไปBonto •ฟงกชันจากAไปBonto แบบทั่วถึง •ฟงกชันจากAไปB1-1 •ฟงกชันจากAไปB1-1 แบบทั่วถึง อินเวอรสของความสัมพันธและฟงกชัน
  • 2. 2 ความสัมพันธและฟงกชัน 1. คูลําดับหรือคูอันดับ คูอันดับ คือสัญลักษณที่แสดงการจับคูกันระหวางสิ่ง 2 สิ่ง แลวแทนสัญลักษณดวย (a,b) เมื่อ a แทนสมาชิกตัวที่หนึ่งหรือสมาชิกตัวหนา และ b แทนสมาชิกตัวที่สองหรือสมาชิกตัวหลัง เชน การจับคูระหวางจํานวนเกาอี้และจํานวนโตะในหองหองหนึ่ง ถาในหองนั้นมีจํานวนเกาอี้อยู 14 ตัว และมีจํานวนโตะอยู 2 ตัว จะเขียนแทนดวยคูอันดับ (14,2) เปนตน 1.1 ความเทากันของคูอันดับ คูอันดับ (a,b) = (c,d) ก็ตอเมื่อ a = c และ b = d เมื่อ a,bc,d เปนจํานวนจริงใดๆ ตัวอยางเชน จงหาคาตัวแปรจากคูอันดับตอไปนี้ 1. จงหาคาตัวแปรจากคูอันดับตอไปนี้ (4,a) = (b,7) จะสรุปไดวา 4=b และ a=7 2. คูอันดับ (3,4)≠ (2,1) , (2,0) ≠ (0,2) 3. จงหาคาของ x และ y ที่ทําให (2x + y, 24) = (6, 3x – y) จะสรุปไดวา 2x + y = 6 ………. และ 3x – y = 24………… + ………………..(2x+y+3x-y) = 6+24 5x = 30 x = 6 1 2 1 2
  • 3. 3 แทนคา x=6 ลงในสมการ 2(6) + y = 6 12 + y = 6 y = 6-12 y = -6 4. กําหนดให (2x,y-2) = (x+3,1) จงหา (x+y,x-y) จะสรุปไดวา 2x = x+3 และ y-2 = 1 2x-x = 3 y = 1+2 x = 3 y = 3 ∴(x+y,x-y) = (3+3,3-3) = (6,0) 2. ผลคูณคารทีเชียน ผลคูณคารทีเชียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนาเปนสมาชิกใน เซต A และมีสมาชิกตัวหลังเปนสมาชิกในเซต B เขียนแทนดวย AxB อานวา เอคูณบี หรือ เอครอสบี { }( , ) / ,AxB a b a A b B= ∈ ∈ ตัวอยางเชน 1. กําหนด A={ }1,2,3 , B={ }4,5 จงหา AxB วิธีทํา เปนการจับคูคูอันดับระหวางสมาชิกตัวหนาที่อยูในเซต A และสมาชิกตัวหลังที่อยูในเซต B 4 4 4 1 2 3 5 5 5 ∴AxB ={ }(1,4),(1,5),(2,4),(2,5),(3,4),(3,5) 1
  • 4. 4 ขอสังเกต – จํานวนสมาชิกของ AxB เทากับ จํานวนสมาชิกของ A คูณดวยจํานวนสมาชิก ของ B ( ) ( ) ( )n AxB n A x n B= 2. กําหนดให A={ }1,2,3 , B={ }, ,a b c และ C={ },a b จงหา 2.1) ( )Ax B C∩ 2.2) ( ) ( )AxB AxC∩ 2.3) ( )Ax B C∪ 2.4) ( ) ( )AxB AxC∪ 2.5) ( )Ax B C− 2.6) ( ) ( )AxB AxC− วิธีทํา 2.1) หา { },B C a b∩ = , { }1,2,3A = ∴ { }( ) (1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, )Ax B C a b a b a b∩ = 2.2) หา { }(1, ),(1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, ),(3, )AxB a b c a b c a b c= { }(1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, )AxC a b a b a b= ∴ { }( ) ( ) (1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, )AxB AxC a b a b a b∩ = 2.3) หา { }, ,B C a b c∪ = ∴ { }( ) (1, ),(1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, ),(3, )Ax B C a b c a b c a b c∪ = 2.4) หา { }( ) ( ) (1, ),(1, ),(1, ),(2, ),(2, ),(2, ),(3, ),(3, ),(3, )AxB AxC a b c a b c a b c∪ =
  • 5. 5 2.5) หา { }B C c− = ∴ { }( ) (1, ),(2, ),(3, )Ax B C c c c− = 2.6) { }( ) ( ) (1, ),(2, ),(3, )AxB AxC c c c− = ขอสังเกต- ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) Ax B C AxB AxC Ax B C AxB AxC Ax B C AxB AxC ∩ = ∩ ∪ = ∪ − = − ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) B C xA BxA CxA B C xA BxA CxA B C xA BxA CxA ∩ = ∩ ∪ = ∪ − = − 3. ให A={ }2,4,8 และ B={ },a c จงหา AxB , BxA วิธีทํา a a a 2 4 8 c c c ∴AxB = { }(2, ),(2, ),(4, ),(4, ),(8, ),(8, )a c a c a c 2 2 a 4 c 4 8 8
  • 6. 6 ∴BxA = { }( ,2),( ,4),( ,8),( ,2),( ,4),( ,8)a a a c c c ขอสังเกต- โดยทั่วไป AxB ≠ BxA Ax∅ = xA∅ = ∅ 4. กําหนดให A={ }3,5,7 และ n(AxB)=15 จงหา n(B) วิธีทํา จาก n(AxB) = n(A) x n(B) จากโจทย n(A) = 3 แทนคา 15 3 ( )n B= × 15 ( ) 3 n B = ( ) 5n B∴ = 5. กําหนดให A={ }5,7 จงหา AxA วิธีทํา 5 5 5 7 7 7 ∴AxA = { }(5,5),(5,7),(7,5),(7,7) 3. ความสัมพันธ ความสัมพันธ คือ เซตของคูอันดับที่เปนตามเงื่อนไขของความสัมพันธ โดยที่เปนสับเซตของ ผลคูณคารทีเซียน คือ ให A และ B เปนเซต ความสัมพันธจาก A ไป B คือ สับเซตของ AxB r เปนความสัมพันธจาก A ไป B ก็ตอเมื่อ r AxB⊂ r เปนความสัมพันธจาก A ไป A หรือใน A ก็ตอเมื่อ r AxA⊂
  • 7. 7 ขอสังเกต- เนื่องจาก AxB∅ ⊂ , ∅ จึงเปนความสัมพันธจาก A ไป B เนื่องจาก AxB AxB⊂ , AxB จึงเปนความสัมพันธจาก A ไป B เนื่องจาก r AxB⊂ , จํานวนความสัมพันธทั้งหมดจาก A ไป B เทากับ จํานวนสับเซตทั้งหมดของเซต AxB = ( ) 2n AxB ตัวอยางเชน 1. กําหนดให A={ }1,2,3 และ B={ }1,3,4 จงหาความสัมพันธ r “นอยกวา” จาก A ไป B และ ความสัมพันธ r “เทากัน” จาก A ไป A วิธีทํา -หาความสัมพันธจาก A ไป B ที่มีเงื่อนไข สมาชิกตัวหนานอยกวาสมาชิกตัวหลัง { }(1,1),(1,3),(1,4),(2,1),(2,3),(2,4),(3,1),(3,3),(3,4)AxB = -จากเซต AxB เลือกคูอันดับที่มีความสัมพันธสมาชิกตัวหนานอยกวาสมาชิกตัวหลัง ∴r = { }(1,3),(1,4),(2,3),(2,4),(3,4) ‐หาความสัมพันธจาก A ไป A ที่มีเงื่อนไข สมาชิกตัวหนาเทากับสมาชิกตัวหลัง  { }(1,1),(1,2),(1,3),(2,1),(2,2),(2,3),(3,1),(3,2),(3,3)AxA = ∴r = { }(1,1),(2,2),(3,3) 2. กําหนดให A={ }2,3,25 , B={ }4,5,7 จงหาความสัมพันธแบบแจกแจง สมาชิกและแบบบอกเงื่อนไข 2.1 1r เปนความสัมพันธ “กําลังสอง” จาก A ไป B 2.2 2r เปนความสัมพันธ “รากที่สอง” จาก A ไป B 2.3 3r เปนความสัมพันธ “กําลังสอง” จาก B ไป A 2.4 4r เปนความสัมพันธ “รากที่สอง” จาก B ไป A วิธีทํา
  • 8. 8 2.1 หา { }(2,4),(2,5),(2,7),(3,4),(3,5),(3,7),(25,4),(25,5),(25,7)AxB = จาก AxB หาคูอันดับที่สมาชิกตัวหนาเปนกําลังสองของสมาชิกตัวหลัง ∴ { }1 (25,5)r = หรือเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ { }2 1 ( , ) /r x y AxB x y= ∈ = 2.2 จาก AxB หาคูอันดับที่สมาชิกตัวหนาเปนรากที่สองของสมาชิกตัวหลัง ∴ { }2 (2,4)r = หรือเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ { }2 ( , ) /r x y AxB x y= ∈ = ± 2.3 หา { }(4,2),(4,3),(4,25),(5,2),(5,3),(5,25),(7,2),(7,3),(7,25)BxA = จาก BxA หาคูอันดับที่สมาชิกตัวหนาเปนกําลังสองสองของสมาชิกตัวหลัง ∴ { }3 (4,2)r = หรือเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ { }2 3 ( , ) /r x y BxA x y= ∈ = 2.4 จาก BxA หาคูอันดับที่สมาชิกตัวหนาเปนรากที่สองของสมาชิกตัวหลัง ∴ { }4 (5,25)r = หรือเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ { }4 ( , ) /r x y BxA x y= ∈ = ±
  • 9. 9 แบบฝกหัด 1. คูอันดับนี้ 2 2 ( , )x y กับ ( , )x y เมื่อ x,y เปนจํานวนจริง เปนคูอันดับที่ เทากันหรือไม เพราะเหตุใด 2. จงหาคา x และ y จากคูอันดับที่เทากันตอไปนี้ 2.1) (2x-6,2y+x) = (3y+2,-3) 2.2) (3x,3y+x) = (2y+1,4y+3) 2.3) (x-1,y+2) = (y-2,2x+1) 2.4) (3x-y,0) = (0,3x+y)
  • 10. 10 3. กําหนดให ={ }1,2,3,4,5 , { }1,2A = และ { }2,3,4B = จงหา 3.1) AxA′ 3.2) ( )B A xB′− 3.3) ( ) ( )A B x A B∪ ∩ 3.4) ( ) ( )A B x A B′ ′− −
  • 11. 11 4. กําหนดใหเซต A มีสมาชิก 5 ตัว เซต B มีสมาชิก 6 ตัว เซต A และเซต B มีสมาชิก รวมกัน 3 ตัว จงหาจํานวนสมาชิกของเซต ( )A B xB∪ 5. กําหนดให ={ }1,2,3,4 และ { }1,2A = 5.1) ถา n(AxB) = 4 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด 5.2) ถา n(AxB) = 6 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด 6. กําหนดให ={ }, , , ,a b c d e และ { },A a b= เซต B เปนเซตที่ไมมีสมาชิก รวมกับเซต A เลย 6.1) ถา n(AxB) = 4 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด
  • 12. 12 6.2) ถา n(AxB) = 6 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด 6.3) ถา n(AxB) = 8 จงหาเซต B ที่เปนไปไดทั้งหมด 7. กําหนดให { }1,2,3A = และ { }2,3,4B = จงเขียนความสัมพันธในรูปแบบแจก แจงสมาชิก 7.1) { }1 ( , ) / 0r x y AxB x y= ∈ − > 7.2) { }2 2 ( , ) /r x y AxB x y= ∈ > 7.3) { }3 ( , ) / 0r x y BxA x y= ∈ − > 7.4) { }2 4 ( , ) /r x y BxA x y= ∈ >
  • 13. 13 8. กําหนดให { }1,2,3A = และ { }2,3,4B = ความสัมพันธใดเปนความสัมพันธ จาก A ไป B , จาก B ไป A , ภายใน A หรือ ภายใน B 8.1) { }1 (1,2),(2,3),(3,4)r = 8.2) { }2 (2,2),(3,1)r = 8.3) { }3 (4,1),(4,2),(4,3)r = 8.4) { }4 (2,2),(3,3)r = 8.5) { }5 (1,4),(2,3),(3,3)r = 9. กําหนดให { }2,4,6M = และ { }1,3,5,7P = จงเขียนความสัมพันธตอไปนี้ใน รูปแจกแจงสมาชิก 9.1) { }1 ( , ) / 2 1 0r x y MxP x y= ∈ + − = 9.2) { }2 2 ( , ) / 1r x y MxP y x= ∈ = − 9.3) { }3 ( , ) / 2 1 0r x y PxM x y= ∈ + − =
  • 14. 14 9.4) { }4 ( , ) / 2 1r x y PxM y x= ∈ ≤ + 4. โดเมนและเรนจของความสัมพันธ โดเมนของความสัมพันธ คือ เซตของสมาชิกตัวหนาของคูอันดับทั้งหมดในความสัมพันธนั้น เขียนแทนดวยสัญลักษณ rD { }/ ( , )rD x x y r= ∈ เรนจของความสัมพันธ คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคูอันดับทั้งหมดในความสัมพันธนั้น เขียนแทนดวยสัญลักษณ rR { }/ ( , )rR y x y r= ∈ ตัวอยางเชน 1. กําหนดความสัมพันธ { }(1, ),(2, ),(3, ),(4, )r p q r s= จงหาโดเมนและเรนจ ของความสัมพันธ r วิธีทํา โดเมน คือสมาชิกตัวหนาทั้งหมด ∴ { }1,2,3,4rD = และ
  • 15. 15 เรนจ คือสมาชิกตัวหลังทั้งหมด ∴ { }, , ,rR p q r s= อาจเขียนเปนแผนภาพความสัมพันธไดดังนี้ โดเมน เรนจ 2. จงหาโดเมนและเรนจจากความสัมพันธ { }( , ) / 2 5r x y IxI y x= ∈ = + วิธีทํา 1. หา rD จากการพิจารณาคา x I∈ จากสมการ วา x เปนจํานวนเต็มที่มีคาใดไดบาง ซึ่งจะเห็นวา x เปนจํานวนเต็มไดทุกคา เพราะสามารถแทนคา x เปนจํานวนเต็มใดก็ได เชน …,-3,-2,-1,0,1,2,3,… ลงในสมการ 2 5y x= + แลวสามารถหาคา y ได ∴ { }/rD x x I= ∈ 2. หา rR จากการแทนคา x เปนจํานวนเต็มลงในสมการ 2 5y x= + แลวหาคา y ดังนี้ ……….…….. x = -2 y = 2(-2)+5 y = 1 x = -1 y = 2(-1)+5 y = 3 x = 0 y = 2(0)+5 y = 5 x = 1 y = 2(1)+5 y = 7 x = 2 y = 2(2)+5 y = 9…………. ∴ { }...,1,3,5,7,9,...rR = หรือสามารถเขียนแผนภาพของความสัมพันธไดดังนี้
  • 16. 16 x y โดเมน เรนจ 4.1 การหาโดเมนและเรนจจากความสัมพันธของตัวแปร x และ y ในกรณีที่ใหความสัมพันธเปนสมการระหวาง x และ y มา แลวใหหาโดเมนและเรนจของ ความสัมพันธนั้น ใหทําการจัดกลุมตัวแปรดังนี้ คือ ถาจะหาโดเมนใหจัดกลุมตัวแปรจากสมการที่ โจทยใหมาใหอยูในรูปดังนี้ rD ---------- y = กลุมของตัวแปร x และถาจะหาเรนจใหจัดกลุมตัวแปรจากสมการใหอยูในรูปดังนี้ rR ---------- x = กลุมของตัวแปร y แลวพิจารณาวากลุมของตัวแปรนั้นมีขอหาม หรือขอกําหนดเปนเงื่อนไขใดบาง เชนในการหา โดเมนและเรนจ ถากลุมของตัวแปร x หรือกลุมของตัวแปร y อยูในรูป 4.1.1 เศษสวน ……… มีขอหามหรือเงื่อนไข คือ ตัวหาร ≠ 0 -2 -1 0 1 2 1 3 5 7 9 ตัวตั้ง ตัวหาร
  • 17. 17 4.1.2 รากที่สองหรือรากที่เปนจํานวนคู …………… ( ), ( )f x f y เมื่อ f(x) และ f(y) แทนกลุมของตัวแปร x และ y ตามลําดับ มีขอหามหรือเงื่อนไข คือ ตัวแปรภายในรากที่ 2 หรือรากที่เปนจํานวนคู ≥ 0 หรือ ( ) 0, ( ) 0f x f y≥ ≥ 4.1.3 กําลังสองหรือกําลังที่เปนจํานวนคู ………… 2 2 ( ), ( )y f x x f y= = เมื่อ f(x) และ f(y) แทนกลุมของตัวแปร x และ y ตามลําดับ มีขอหามหรือเงื่อนไข คือ ( ) 0, ( ) 0f x f y≥ ≥ 4.1.4 คาสมบูรณ …………… ( ), ( )y f x x f y= = เมื่อ f(x) และ f(y) แทนกลุมของตัวแปร x และ y ตามลําดับ มีขอหามหรือเงื่อนไข คือ ( ) 0, ( ) 0f x f y≥ ≥ สรุปแผนผังการหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ 
  • 18. 18 ตัวอยางการหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธแบบตางๆเชน ตัวอยาง 1 กําหนดให { }1,2,3,4,5S = กําหนดความสัมพันธ 1r , 2r และ 3r ใน S ดังตอไปนี้ { }1 ( , ) / 6r x y SxS x y= ∈ + = { }2 ( , ) / 2 3r x y SxS x and y= ∈ > = { }3 ( , ) / 6r x y SxS x y= ∈ − = จงหาโดเมนและเรนจของแตละความสัมพันธ การหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ ความสัมพันธที่สามารถแจกแจงเปนคูอันดับ (x,y) ความสัมพันธที่เปนสมการระหวาง xและy -โดเมนคือสมาชิกตัวหนา -เรนจคือสมาชิกตัวหลัง เศษสวน รากที่เปนจํานวนคู กําลังที่เปนจํานวนคู ตัวหาร ≠ 0 จัดกลุมตัวแปร y=f(x) จัดกลุมตัวแปร x=f(y) หาโดเมน หาเรนจ ภายในรากหามติดลบ กําลังคูมากกวาหรือ เทากับศูนยเสมอ แกอสมการหาเซตคําตอบของโดเมนและเรนจตามเงื่อนไขในแตละกรณี คาสมบูรณ คาสมบูรณตองมากกวา หรือเทากับศูนยเสมอ
  • 19. 19 วิธีทํา หาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ { }1 ( , ) / 6r x y SxS x y= ∈ + = 1) สามารถแจกแจงสมาชิกของความสัมพันธ 1r เปนคูลําดับได ทําการแจกแจงสมาชิกของ ความสัมพันธ 1r 2) ตรวจสอบคาของ x และ y ตามสมการ x+y = 6 , เพราะวา x S∈ แทนคา x =1,2,3,4,5 แลวหาคา y โดย y = 6-x x = 1…..... y = 6-1 = 5 ….. 5 S∈ …. 1(1,5) r∈ x = 2…..... y = 6-2 = 4 ….. 4 S∈ …. 1(2,4) r∈ x = 3…..... y = 6-3 = 3 ….. 3 S∈ …. 1(3,3) r∈ x = 4…..... y = 6-4 = 2 ….. 2 S∈ …. 1(4,2) r∈ x = 5…..... y = 6-5 = 1 ….. 1 S∈ …. 1(5,1) r∈ 3) ∴ { }1 (1,5),(2,4),(3,3),(4,2),(5,1)r = 4) ∴ { }1 1,2,3,4,5rD = และ { }1 1,2,3,4,5rR = หาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ { }2 ( , ) / 2 3r x y SxS x and y= ∈ > = 1) สามารถแจกแจงสมาชิกของความสัมพันธ 2r เปนคูลําดับได ทําการแจกแจงสมาชิกของ ความสัมพันธ 2r 2) ตรวจสอบคาของ x และ y เพราะวา x S∈ และ x>2 ∴ 3,4,5x = เพราะวา y S∈ และ y=3 ∴ 3y = 3) จับคูคา x และ y หาคูอันดับ 2( , )x y r∈ โดเมน เรนจ 3 4 5 3
  • 20. 20 4) ∴ { }2 (3,3),(4,3),(5,3)r = 5) ∴ { }2 3,4,5rD = และ { }2 3rR = หาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ { }3 ( , ) / 6r x y SxS x y= ∈ − = 1) สามารถแจกแจงสมาชิกของความสัมพันธ 3r เปนคูลําดับได ทําการแจกแจงสมาชิกของ ความสัมพันธ 3r 2) ตรวจสอบคาของ x และ y ตามสมการ x-y = 6 , เพราะวา x S∈ แทนคา x =1,2,3,4,5 แลวหาคา y โดย y = x-6 x = 1…..... y = 1-6 = -5 ….. 5 S− ∉ …. 3(1, 5) r− ∉ x = 2…..... y = 2-6 = -4 ….. 4 S− ∉ …. 3(2, 4) r− ∉ x = 3…..... y = 3-6 = -3 ….. 3 S− ∉ …. 3(3, 3) r− ∉ x = 4…..... y = 4-6 = -2 ….. 2 S− ∉ …. 3(4, 2) r− ∉ x = 5…..... y = 5-6 = -1 ….. 1 S− ∉ …. 3(5, 1) r− ∉ 3) ∴ { }3r = = ∅ 4) ∴ 3rD = ∅ และ 3rR = ∅ ตัวอยาง 2 จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ 1 ( , ) / 2 r x y RxR y x ⎧ ⎫ = ∈ =⎨ ⎬ −⎩ ⎭ วิธีทํา หาโดเมน rD 1) เลือกวิธีการหาโดเมนจากการพิจารณาความสัมพันธระหวาง x และ y จากสมการ 1 2 y x = − 2) หาโดเมนจากการจัดกลุมตัวแปรจากสมการใหอยูในรูป y=f(x) เมื่อ f(x) คือกลุม ของตัวแปร x ซึ่งได 1 2 y x = − 3) จาก y=f(x) อยูในรูปของ เศษสวน ซึ่งมีขอหามคือ ตัวสวน ≠ 0
  • 21. 21 ∴ 2 0x − ≠ 2x ≠ 4) { }/ 2rD x R x∴ = ∈ ≠ หาเรนจ rR 1) หาเรนจจากการจัดกลุมตัวแปรจากสมการ 1 2 y x = − ใหอยูในรูป x=f(y) เมื่อ f(y) คือกลุมของตัวแปร y ดังนี้ 1 2 y x = − 2) จาก x=f(y) ที่ได………… อยูในรูป เศษสวน …………ตัวสวน ≠ 0 ∴ 0y ≠ 3) { }/ 0rR y R y∴ = ∈ ≠ ตัวอยาง 3  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ      3 1 ( , ) / 2 5 x r x y RxR y x −⎧ ⎫ = ∈ =⎨ ⎬ +⎩ ⎭ วิธีทํา 1 2 1 2 1 2 x y x y y x y − = = + + = *
  • 22. 22 จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x) ……… 3 1 2 5 x y x − = + 3 1 2 5 x y x − = + ….. เศษสวน ตัวสวน ≠ 0 2 5 0 5 2 x x ∴ + ≠ − ≠ 5 / 2 rD x R x −⎧ ⎫ ∴ = ∈ ≠⎨ ⎬ ⎩ ⎭ 3 1 ( , ) / 2 5 x r x y RxR y x −⎧ ⎫ = ∈ =⎨ ⎬ +⎩ ⎭ rD rR จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) 3 1 ...... 2 5 (2 5) 3 1 2 5 3 1 5 1 3 2 5 1 (3 2 ) 5 1 3 2 x y x y x x yx y x y x yx y x y y x y − = + + = − + = − + = − + = − + ∴ = − 5 1 3 2 y x y + = − ….. เศษสวน ตัวสวน ≠ 0 3 2 0 2 3 3 2 y y y ∴ − ≠ ≠ ≠ 3 / 2 rR y R y ⎧ ⎫ ∴ = ∈ ≠⎨ ⎬ ⎩ ⎭
  • 23. 23 ขอสังเกต- ความสัมพันธที่มีสมการอยูในรูป เศษสวน Ax C y Bx D + = + โดยที่ A,B,C และ D เปนจํานวนจริงใดๆและ 0B ≠ สามารถสรุปโดเมนและเรนจของความสัมพันธไดดังนี้ /r D D x R x B −⎧ ⎫ = ∈ ≠⎨ ⎬ ⎩ ⎭ /r A R y R y B ⎧ ⎫ = ∈ ≠⎨ ⎬ ⎩ ⎭ ตัวอยาง 4  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ     { }( , ) / 3 4r x y RxR y x= ∈ = − วิธีทํา { }( , ) / 3 4r x y RxR y x= ∈ = − rD rR จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x) ……… 3 4y x= − 3 4y x= − ….. ภายใน รากที่2 ≥0 3 4 0 4 3 x x ∴ − ≥ ≥ 4 / 3 rD x R x ⎧ ⎫ ∴ = ∈ ≥⎨ ⎬ ⎩ ⎭ จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) …….. 3 4y x= − 2 2 2 3 4 4 3 ( 4) 3 y x y x y x = − + = + ∴ = 0y ≥ y R∈ 0y R y∈ ∩ ≥ 0y ≥ { }/ 0rR y R y∴ = ∈ ≥
  • 24. 24 ตัวอยาง 5  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ     { }2 ( , ) / 9r x y RxR y x= ∈ = − วิธีทํา { }2 ( , ) / 9r x y RxR y x= ∈ = − rD rR จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x) ……… 2 9y x= − 2 9y x= − ….. ภายใน รากที่2 ≥0 2 9 0 ( 3)( 3) 0 3 3 x x x x x ∴ − ≥ − + ≥ ≤ − ∪ ≥ { }/ 3 3rD x R x x∴ = ∈ ≤ − ∪ ≥ จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) …….. 2 9y x= − 2 2 2 2 2 9 9 9 y x y x x y = − + = ∴ = ± + 0y ≥ 2 2 9 0 9 y y + ≥ ≥ − ซึ่งเปนจริงเสมอไมวา y จะเปนจํานวนใดๆ 0y R y∈ ∩ ≥ 0y ≥ { }/ 0rR y R y∴ = ∈ ≥ y R∈
  • 25. 25 ตัวอยาง 6  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ     { }( , ) / 3 1r x y RxR y x= ∈ = + + วิธีทํา { }( , ) / 3 1r x y RxR y x= ∈ = + + rD rR จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x) ……… 3 1y x= + + 3 1y x= + + ….. ภายในรากที่2 ≥0 1 0 1 x x ∴ + ≥ ≥ − { }/ 1rD x R x∴ = ∈ ≥ − จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) …….. 3 1y x= + + 3 1y x− = + 2 2 ( 3) 1 ( 3) 1 y x x y − = + ∴ = − − 3 0 3 y y − ≥ ∴ ≥ แทนคา y เปนจํานวนใดๆก็ได หาคา x ได เสมอ 3y R y∈ ∩ ≥ 3y ≥ { }/ 3rR y R y∴ = ∈ ≥ y R∈
  • 26. 26 ตัวอยาง 7  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ     { }2 ( , ) / 16r x y RxR y x= ∈ = − วิธีทํา { }2 ( , ) / 16r x y RxR y x= ∈ = − rD rR จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x) ……… 2 16y x= − 2 16y x= − ….. ภายในรากที่2 ≥0 2 2 16 0 16 0 ( 4)( 4) 0 4 4 x x x x x ∴ − ≥ − ≤ − + ≤ − ≤ ≤ { }/ 4 4rD x R x∴ = ∈ − ≤ ≤ จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) …….. 2 16y x= − 2 2 2 2 2 16 16 16 y x x y x y = − = − ∴ = ± − 0y ≥ 4 4 0y y− ≤ ≤ ∩ ≥ 0 4y≤ ≤ { }/ 0 4rR y R y∴ = ∈ ≤ ≤ 4 4y− ≤ ≤ 2 16x y= ± − ….. ภายในรากที่2 ≥0 2 2 16 0 16 0 ( 4)( 4) 0 4 4 y y y y y ∴ − ≥ − ≤ − + ≤ ∴− ≤ ≤
  • 27. 27 ตัวอยาง 8  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ     { }2 ( , ) / 2 3r x y RxR y x x= ∈ = − − วิธีทํา { }2 ( , ) / 2 3r x y RxR y x x= ∈ = − − rD rR จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x) ……… 2 2 3y x x= − − ……. 2 2 3y x x= − − แทนคา x เปนจํานวนจริงใดๆก็ ไดสามารถหาคา y ไดเสมอ { }rD x R∴ = ∈ x R∈ จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) …….. 2 2 3y x x= − − 2 2 2 ( 2 1) 3 1 ( 1) 4 4 ( 1) 4 1 4 1 y x x y x y x y x x y = − + − − = − − + = − ± + = − ∴ = ± + + 4 1x y= ± + + ….. ภายในรากที่2 ≥0 4 0 4 y y ∴ + ≥ ≥ − 4y ≥ − { }/ 4rR y R y∴ = ∈ ≥ −
  • 28. 28 ขอสังเกต- ความสัมพันธที่มีสมการอยูในรูปพหุนามกําลัง 2….. 2 y ax bx c= + + …. โดยที่ a,b และ c เปนจํานวนจริงใดๆและ 0a ≠ สามารถสรุปคําตอบของโดเมนและเรนจของ ความสัมพันธไดดังนี้ { }rD x R= ∈ 2 4 / 4 r ac b R y R y a ⎧ ⎫− = ∈ ≥⎨ ⎬ ⎩ ⎭ เมื่อ 0a > 2 4 / 4 r ac b R y R y a ⎧ ⎫− = ∈ ≤⎨ ⎬ ⎩ ⎭ เมื่อ 0a < เชนจากตัวอยางที่แลว 2 2 3y x x= − − …… 1, 2, 3a b c= = − = − { }rD x R∴ = ∈ และเนื่องจาก 0a > …….. 2 2 4 4 4(1)( 3) ( 2) 4(1) 12 4 4 4 ac b y a y y y − ≥ − − − ≥ − − ≥ ≥ − ………. { }/ 4rR y R y∴ = ∈ ≥ −
  • 29. 29 ตัวอยาง 9  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ     { }2 2 ( , ) / 2 1 0r x y RxR y xy x= ∈ − − + = วิธีทํา { }2 2 ( , ) / 2 1 0r x y RxR y xy x= ∈ − − + = rD rR จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x) 2 2 2 2 2 1 0 (1 2 ) 1 1 1 2 y xy x y x x x y x − − + = − = − − ∴ = − ……. 2 1 1 2 x y x − = − เนื่องจาก 2 0y ≥ เสมอ 1 0 1 2 ( 1)(1 2 ) 0 , 1 2 0 ( 1)(2 1) 0 , 2 1 1 1 1 , 2 2 x x x x x x x x x x − ∴ ≥ − − − ≥ − ≠ − − ≤ ≠ ≤ ≤ ≠ 1 / 1 2 rD x R x ⎧ ⎫ ∴ = ∈ < ≤⎨ ⎬ ⎩ ⎭ 1 1 2 x< ≤ ตรวจสอบวา 1 2 x = ไมไดจริง โดยการแทนคา x ลงใน 2 2 2 2 2 2 2 1 0 1 1 2( ) 1 0 2 2 1 0 2 1 1 0...... .... 2 2 y xy x y y y y false x − − + = − − + = − + = = ≠ จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) 2 2 2 2 2 2 2 2 2 1 0 1 2 1 (2 1) 1 2 1 y xy x y xy x y x y y x y − − + = + = + + = + + ∴ = + ……. 2 2 1 2 1 y x y + = + เปน เศษสวน….ตัวหาร≠ 0 2 2 2 1 0 1 2 y y + ≠ − ≠ ซึ่ง 2 2 1 0 2 y y − ≥ ∴ ≠ จริงเสมอ ไมวา y จะเปนจํานวนใดๆ y R∈ { }rR y R∴ = ∈
  • 30. 30 ตัวอยาง 10  จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ     { }( , ) / 3 7r x y RxR y x= ∈ = − + วิธีทํา { }( , ) / 3 7r x y RxR y x= ∈ = − + rD rR จัดกลุมตัวแปรในรูป...y=f(x) 3 7y x= − + ……. 3 7y x= − + แทนคา x เปนจํานวนจริงใดๆก็ได สามารถหาคา y ไดเสมอ { }rD x R∴ = ∈ x R∈ จัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) 3 7 3 7 y x x y = − + ∴ − = − ……. 3 7x y− = − เพราะวาคา 3 0x − ≥ เสมอ 7 0 7 y y ∴ − ≥ ≥ { }/ 7rR y R y∴ = ∈ ≥ 7y ≥
  • 31. 31 แบบฝกหัด 1. จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธตอไปนี้ 1.1) { }1 ( 1,2),(3,4),( 5, 1),(4,0)r = − − − 1.2) { }2 (1,2),(2,1),(3,1),(4,1),(5,2)r = 1.3) { }3 ( , ) / 3r x y IxI y x= ∈ = − 1.4) { }2 4 ( , ) /r x y NxN y x= ∈ =
  • 32. 32 1.5) { }2 2 5 ( , ) / 4r x y IxI x y+ = ∈ + = 2. กําหนด { }0,1,9A = , { }0,1,3B = และ { }2,7,10C = หาโดเมนและเรนจ ของความสัมพันธตอไปนี้ 2.1) { }1 ( , ) / ,r x y x A y B and x y= ∈ ∈ > 2.2) { }2 ( , ) / , 5r x y x B y C and x y= ∈ ∈ + ≥ 2.3) { }3 ( , ) / ,r x y x A y B and y x= ∈ ∈ =
  • 33. 33 2.4) { }2 4 ( , ) / ,r x y x C y A and y x= ∈ ∈ = 3. จงหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธตอไปนี้ 3.1) 2 1 2 ( , ) / 1 x r x y RxR y x +⎧ ⎫ = ∈ =⎨ ⎬ +⎩ ⎭ 3.2) { }2 ( , ) / 1r x y RxR x y= ∈ + =
  • 34. 34 3.3) 3 2 1 ( , ) / 9 r x y RxR y x ⎧ ⎫ = ∈ =⎨ ⎬ −⎩ ⎭ 3.4) 4 2 5 ( , ) / x r x y RxR y x ⎧ ⎫+⎪ ⎪ = ∈ =⎨ ⎬ ⎪ ⎪⎩ ⎭
  • 35. 35 3.5) { }2 5 ( , ) / 3 8r x y RxR y x x= ∈ = + + 3.6) 6 2 1 ( , ) / 2 3 r x y RxR y x x ⎧ ⎫ = ∈ =⎨ ⎬ − −⎩ ⎭
  • 36. 36 3.7) 7 3 ( , ) / 3 4 r x y RxR y x ⎧ ⎫⎪ ⎪ = ∈ =⎨ ⎬ + −⎪ ⎪⎩ ⎭ 3.8) { }2 8 ( , ) / 4r x y RxR y x= ∈ = −
  • 37. 37 3.9) { }2 2 9 ( , ) / 2 2 1 0r x y RxR x y xy x= ∈ + − + + = 3.10) { }2 10 ( , ) / 4 5 2r x y RxR y x and x= ∈ = − − < <
  • 38. 38 3.11) { }2 2 11 ( , ) / 2 3r x y RxR y x x= ∈ = + − 3.12) 12 2 4 ( , ) / 2 ( 1) 4 r x y RxR y x ⎧ ⎫ = ∈ = −⎨ ⎬ − −⎩ ⎭
  • 39. 39 3.13) 2 2 13 ( 1) ( 2) ( , ) / 1 25 16 x y r x y RxR ⎧ ⎫− − = ∈ + =⎨ ⎬ ⎩ ⎭ 3.14) 2 14 2 1 ( , ) / 1 x r x y RxR y x ⎧ ⎫−⎪ ⎪ = ∈ =⎨ ⎬ +⎪ ⎪⎩ ⎭
  • 40. 40 3.15) 15 2 3 ( , ) / 2 1 x r x y RxR y x x −⎧ ⎫ = ∈ =⎨ ⎬ − +⎩ ⎭ 3.16) 16 2 ( , ) / 4 r x y RxR y x ⎧ ⎫⎪ ⎪ = ∈ =⎨ ⎬ −⎪ ⎪⎩ ⎭
  • 41. 41 5. ฟงกชัน 5.1 ลักษณะของฟงกชัน ฟงกชัน คือ ความสัมพันธที่สมาชิกในโดเมนแตละตัวจับคูกับสมาชิกในเรนจของ ความสัมพันธเพียงตัวเดียวเทานั้น ความสัมพันธที่เปนฟงกชันเราเขียนแทนความสัมพันธนั้นวา f และเขียน ( )y f x= แทน ( , )x y f∈ และเรียก ( )f x วาคาของฟงกชัน f ที่ x โดยอานวา “เอฟของเอ็กซ” หรือ “เอฟเอ็กซ” { }1 1 1 2 1 2( , ) / ( , ) ( , )f x y if x y f and x y f then y y= ∈ ∈ = ตัวอยางเชน 1. จงพิจารณาวาความสัมพันธใดตอไปนี้เปนฟงกชัน 1.1) { }1 (1,2),(2,3),(3,4),(4,5)r = วิธีทํา พิจารณาคูอันดับ (x,y) ทุกคูอันดับในความสัมพันธ 1r วามีคูอันดับใดที่มีสมาชิกตัว หนาซ้ํากันบาง -----ถาไมมีคูอันดับใดที่มีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันเลย หรือ -----ถามีคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันแลว สมาชิกตัวหลังตองเหมือนกันดวย จะถือวาความสัมพันธนั้นเปน f 1r∴ เปน f เพราะไมมีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันเลย  1.2) { }2 (1,2),(1,3),(3,4),(4,5)r = วิธีทํา 2r ไมเปน f เพราะวามีคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันแลวสมาชิกตัวหลังไมเหมือนกัน คือ (1,2) กับ (1,3)
  • 42. 42 1.3) { }3 (1,2),(3,4),(4,5),(1,2)r = วิธีทํา 3r เปน f เพราะวามีคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนาซ้ํากันแลวสมาชิกตัวหลังเหมือนกันคือ (1,2) ขอสังเกต สามารถสรุปเปนแผนภาพการพิจารณาวาความสัมพันธทีมีลักษณะแจกแจงเปนคู อันดับ ความสัมพันธใดเปนฟงกชันดังนี้ { }( , )r x y= มีคูอันดับที่มีสมาชิกตัวหนา ซ้ํากันหรือไม ไมซ้ํา r f= ซ้ํา คูอันดับนั้นสมาชิกตัวหลัง เหมือนกันหรือไม r f≠ ไมเหมือน เหมือน
  • 43. 43 หรืออาจพิจารณาเปนตัวอยางแผนภาพการจับคูระหวาง x และ y ในความสัมพันธตางๆไดดังนี้  -------------ไมเปน f เพราะ 3 จับคูกับ a และ b (คา x ซ้ํากันไมได) ------------ เปน f เพราะ คา x ไมซ้ํากัน (คา y ซ้ํากันได) 5.2 การพิจารณาความสัมพันธในรูปสมการ x และ y วาเปนฟงกชัน จากลักษณะของฟงกชัน คา x 1 คาตองจับคูกับคา y เพียงคาเดียวเทานั้น เพราะฉะนั้นถาเรา สามารถแทนคา x เทากับจํานวนจริงใดๆในสมการระหวาง x และ y แลวใหคา y มากกวาตั้งแต 2 คาขึ้นไป ก็จะสรุปไดวาความสัมพันธนั้นไมเปนฟงกชัน โดยมีขอสังเกตวาถาสมการระหวาง x และ y นั้นสามารถจัดกลุมใหอยูในรูปของ y = (กลุมของตัวแปร x) , 2 y = (กลุม ของตัวแปร x) หรือ y = (กลุมของตัวแปร x) ได ความสัมพันธนั้น จะไมเปนฟงกชัน เพราะวาเทอม y , 2 y หรือ y สามารถแทนคา y ไดถึง 2 คาคือคา y ที่เปน + 1 คา และคา y ที่เปน – อีก 1 คา แลวใหคาออกมาเทาเดิม แตถาสมการสามารถจัดกลุมใหอยูในรูป y = (กลุมของตัวแปร x) แลวความสัมพันธ ดังกลาวจะเปนฟงกชันเพราะคา x 1 คาสามารถหาคา y ได 1 คาเทานั้น y = (กลุมของตัวแปร x) f 2 , ,y y y = (กลุมของตัวแปร x) ไมใช f 3 5 a b c 3 5 a b c (กําลังคู) (กําลังคู) (กําลังคู)
  • 44. 44 ตัวอยางเชน 1. พิจารณาความสัมพันธ { }2 2 ( , ) / 4r x y RxR x y= ∈ + = วาเปนฟงกชันหรือไม วิธีทํา ใหพิจารณาที่คา y วาให y ออกมามากกวาตั้งแต 2 คาหรือไม…… จากสมการ 2 2 4x y+ = มีเทอม 2 y ซึ่งใหคา y ออกมา 2 คา { }2 2 ( , ) / 4r x y RxR x y∴ = ∈ + = ……………. ไมเปน f   2. พิจารณาความสัมพันธ { }2 ( , ) / ; 0r x y RxR x y y= ∈ = ≥ วาเปนฟงกชัน หรือไม วิธีทํา ใหพิจารณาที่คา y วาให y ออกมามากกวาตั้งแต 2 คาหรือไม…… จากสมการ 2 ; 0x y y= ≥ มีเทอม 2 y ซึ่งจะใหคา y ออกมา 2 คาคือคา +และคา - แตเงื่อนไขที่วา 0y ≥ ทําใหจํากัดคา y เปน + หรือ 0 ไดคาเดียว { }2 ( , ) / ; 0r x y RxR x y y∴ = ∈ = ≥ คา x 1 คา ใหคา y เพียงคาเดียว เทานั้น………เปน f 3. พิจารณาความสัมพันธ { }2 ( , ) / 3 1r x y RxR y x= ∈ + = − วาเปนฟงกชัน หรือไม วิธีทํา ใหพิจารณาที่คา y วาให y ออกมามากกวาตั้งแต 2 คาหรือไม…… จากสมการ 2 3 1y x+ = − มีเทอม 3y + ซึ่งจะมีคา y 2 คาที่แทนลงใน 3y + แลวใหคา ออกมาเทากัน เชน ถาคา y=1 แทนคาลงใน 3 1 3 4y + = + = คา  y=‐7 แทนคาลงใน 3 7 3 4y + = − + = { }2 ( , ) / 3 1r x y RxR y x∴ = ∈ + = − …………… ไมเปน f 5.3 การใชกราฟมาพิจารณาวาความสัมพันธนั้นเปนฟงกชัน ถาเราสามารถวาดกราฟของความสัมพันธใดๆได เราสามารถทดสอบไดวาความสัมพันธนั้น เปน f หรือไม ไดโดยการวาดเสนตรงใดๆที่ขนานกับแกน ( , )y c c R= ∈ แลวถา คา y 2คาใหคา ออกมาเทากัน
  • 45. 45 เสนตรงนั้นตัดกราฟของความสัมพันธมากกวาตั้งแต 2 จุดขึ้นไป แสดงวาความสัมพันธนั้นไมเปน f ตัวอยาง เชน 1. พิจารณากราฟของความสัมพันธ { }2 ( , ) /r x y RxR y x∴ = ∈ = 2 y x= 2. พิจารณากราฟของความสัมพันธ { }( , ) /r x y RxR y x∴ = ∈ = 3. พิจารณากราฟของความสัมพันธ { }2 ( , ) /r x y RxR y x∴ = ∈ = • • 1 1( , )x y 1 2( , )x y y x เสนตรง y c= ตัดกับกราฟของ ความสัมพันธ r 2 จุด……ไมเปน f y c= y x y x= • • 1 1( , )x y 1 2( , )x y เสนตรง y c= ตัดกับกราฟของ ความสัมพันธ r 2 จุด……ไมเปน f y x y c= • 1 1( , )x y y c= เสนตรง y c= ตัดกับกราฟของ ความสัมพันธ r เพียง 1 จุด……เปน f 2 y x=
  • 46. 46 4. พิจารณากราฟของความสัมพันธ { }2 2 ( , ) / 9r x y RxR x y∴ = ∈ + = 5.4 ฟงกชันจาก A ไป B ฟงกชัน f เปนฟงกชันจาก A ไป B ก็ตอเมื่อ โดเมนของ f เทากับเซต A และเรนจของ f เปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย :f A B→ ( : ) ( )f ff A B D A R B→ ↔ = ∧ ⊂ ตัวอยาง เชน 1. กําหนด { } { }1,2,3,4 , , ,A B a b c= = ฟงกชัน { }1 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a b c= , { }2 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a a c= และ { }3 (1, ),(2, ),(4, )f a a c= เปนฟงกชันจาก A B→ หรือไม วิธีทํา { }1 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a b c= 1) 1f เปนฟงกชัน หา 1fD และ 1fR จาก { }1 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a b c= y x 1 1( , )x y y c= 2 2 9x y+ = • • 1 2( , )x y เสนตรง y c= ตัดกับกราฟของ ความสัมพันธ r 2 จุด……ไมเปน f
  • 47. 47 { }1 1,2,3,4fD = { }1 , ,fR a b c= 2) จาก { }1,2,3,4A = และ { }1 1,2,3,4fD = 1fD A∴ = และ { }, ,B a b c= , { }1 , ,fR a b c= 1fR B∴ ⊂ 3) 1 :f A B→ สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ A B 1f 1 :f A B→ 1fD A= 1fR B⊂ { }2 (1, ),(2, ),(3, ),(4, )f a a a c= สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  1 2 3 4 a b c
  • 48. 48 A B { } { } 2 2 1,2,3,4 , f f D R a c = = 2 2 f f D A R B = ⊂ { }3 (1, ),(2, ),(4, )f a a c= สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  1 2 3 4 a b c 2f 2 :f A B→
  • 49. 49 A B { } { } 3 3 1,2,4 , f f D R a c = = 3fD A≠ 5.5 ฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B ฟงกชัน f เปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B ก็ตอเมื่อ โดเมนของ f เทากับเซต A   และเรนจของ f เทากับเซต B เขียนแทนดวย : onto f A B⎯⎯⎯→ ( : ) ( )onto f ff A B D A R B⎯⎯⎯→ ↔ = ∧ = ตัวอยาง เชน 1. กําหนด { } { }, , , , 1,2,3A a b c d B= = ฟงกชัน { }1 ( ,1),( ,2),( ,3),( ,1)f a b c d= , { }2 ( ,1),( ,1),( ,1),( ,1)f a b c d= และ { }3 ( ,1),( ,2),( ,3)f a b d= เปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B หรือไม 1 2 3 4 a b c 3f 3f ไมเปนฟงกชันจาก A ไป B
  • 50. 50 วิธีทํา { }1 ( ,1),( ,2),( ,3),( ,1)f a b c d= สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  A B 1 1 f f D A R B = = 1 : onto f A B⎯⎯⎯→ { }2 ( ,1),( ,1),( ,1),( ,1)f a b c d= สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  a b c d 1 2 3 1f { } { } 1 1 , , , 1,2,3 f f D a b c d R = =
  • 51. 51 A B { } { } 2 2 , , , 1 f f D a b c d R = = 2 2 f f D A R B = ≠ { }3 ( ,1),( ,2),( ,3)f a b d= สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  a b c d 1 2 3 2f 2f ไมเปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B
  • 52. 52 A B { } { } 3 3 , , 1,2,3 f f D a b d R = = 3fD A≠ 5.6 ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B ฟงกชัน f เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B ก็ตอเมื่อ f เปนฟงกชันจาก A ไป B โดยที่ถา 1 1( , )x y f∈ และ 2 1( , )x y f∈ แลว 1 2x x= เขียนแทน ดวย 1:1 :f A B⎯⎯→ [ ]1:1 1 2 1 2( : ) ( : ) [( ) ( )]f A B f A B y y x x⎯⎯→ ↔ → ∧ = → = ตัวอยาง เชน 1. กําหนด { } { }, , , , 1,2,3,4A a b c d B= = ฟงกชัน { }1 ( ,1),( ,3),( ,2),( ,4)f a b c d= , { }2 ( ,1),( ,1),( ,2),( ,4)f a b c d= และ { }3 ( ,1),( ,2),( ,3)f a b d= เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B หรือไม a b c d 1 2 3 3f 3f ไมเปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B
  • 53. 53 วิธีทํา { }1 ( ,1),( ,3),( ,2),( ,4)f a b c d= สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  A B { }2 ( ,1),( ,1),( ,2),( ,4)f a b c d= สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  1 2 3 4 a b c d 1f 1 :f A B→ 1f ไมมีการจับคูที่สมาชิกตัวหลังซ้ํากัน 1:1 1 :f A B⎯⎯→
  • 54. 54 A B { }3 ( ,1),( ,2),( ,3)f a b d= สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  A B 1 2 3 4 a b c d 2f 2 :f A B→ 2f มีการจับคูที่สมาชิกตัวหลังซ้ํากัน คือ (a,1) กับ (b,1) ไมเปน 1:1 2 :f A B⎯⎯→ 1 2 3 4 a b c d 3f ไมเปน 3 :f A B→ เพราะ 3fD A≠ ไมเปน 1:1 3 :f A B⎯⎯→
  • 55. 55 5.7 ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B ฟงกชัน f เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B ก็ตอเมื่อ f เปนฟงกชันหนึ่ง ตอหนึ่งจาก A ไป B และ f เปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนดวย 1:1 : onto f A B⎯⎯⎯→ 1:1 1:1 ( : ) ( : ) ( : )onto onto f A B f A B f A B⎡ ⎤⎯⎯⎯→ ↔ ⎯⎯→ ∧ ⎯⎯⎯→⎣ ⎦ ตัวอยาง เชน 1. กําหนด { } { }, , , , , 1,2,3,4,5A a b c d e B= = ฟงกชัน { }( ,1),( ,3),( ,2),( ,4),( ,5)f a b c d e= เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B หรือไม วิธีทํา สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  A B 1 2 3 4 5 a b c d e f 1:1 :f A B⎯⎯→ เพราะ ไมมีสมาชิกตัวหลังซ้ํากัน 1:1 2 : onto f A B⎯⎯⎯→ : onto f A B⎯⎯⎯→ เพราะ fR B=
  • 56. 56 2. กําหนด { } { }, , , , 1,2,3,4,5A a b c d B= = ฟงกชัน { }( ,1),( ,2),( ,3),( ,5)f a b c d= เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B หรือไม วิธีทํา สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้  A B สามารถสรุปความสัมพันธของฟงกชันชนิดตางๆ เปนแผนภาพของเซตไดดังนี้  1 2 3 4 5 a b c d f 1:1 :f A B⎯⎯→ เพราะ ไมมีสมาชิกตัวหลังซ้ํากัน ไมเปน 1:1 : onto f A B⎯⎯⎯→ ไมเปน : onto f A B⎯⎯⎯→ เพราะ fR B≠ M=เซตของ :f A B⎯⎯→ N=เซตของ 1:1 :f A B⎯⎯→ Q=เซตของ : onto f A B⎯⎯⎯→ =เซตของความสัมพันธที่เปนฟงกชัน P=เซตของฟงกชันที่ไมใช ฟงกชันจาก Aไป B S=เซตของ 1:1 : onto f A B⎯⎯⎯→ M N Q S P
  • 57. 57 ตอไปนี้เปนตัวอยางเกี่ยวกับความสัมพันธที่เปนฟงกชัน และฟงกชันในรูปแบบตางๆดังนี้ ตัวอยางที่ 1 ความสัมพันธตอไปนี้เปน :f R R⎯⎯→ หรือไม ถาใชเปนฟงกชันประเภท ใดบาง 1.1) { }3 1 ( , ) /r x y y x= = 1.2) { }2 2 ( , ) / 1r x y y x= = − 1.3) 3 1 ( , ) / 8 x r x y y x −⎧ ⎫ = =⎨ ⎬ +⎩ ⎭ 1.4) { }4 ( , ) / 1 1r x y y x x= = + − − 1.5) { }5 ( , ) /r x y x y x y= + ≥ + วิธีทํา 1.1) 1r f= เพราะวาสามารถเขียนใหอยูในรูป y = (กลุมของตัวแปร x) 1 1,r rD R R R= = 3 y x= , สามารถแทนคา x เปนจํานวนใดๆก็ได 1rx R D R∈ →∴ = 1 3 x y= , สามารถแทนคา y เปนจํานวนใดๆก็ได 1ry R R R∈ →∴ = 1r เปน :f R R→ เพราะวา 1 1r rD R R R= ∧ ⊂ 1r เปน : onto f R R⎯⎯⎯→ 1r เปน 1:1 :f R R⎯⎯→ 1r เปน 1:1 : onto f R R⎯⎯⎯→ เพราะวา 1rR R= เพราะวาสามารถเขียนสมการใหอยูในรูป x=(กลุมของตัวแปร y) คือ 1 3 x y= ได { }3 1 ( , ) /r x y y x= = เพราะวา 1r เปนทั้ง : onto f R R⎯⎯⎯→ และ 1r เปน 1:1 :f R R⎯⎯→
  • 58. 58 1.2) 1.3) 2r f= [ ] [ ]2 21,1 , 0,1r rD R= − = หา 2rD ; 2 1y x= − , ในรากหามติดลบ [ ] 2 2 2 1 0; 1 0; ( 1)( 1) 0; 1 1 1,1r x x x x x D ∴ − ≥ − ≤ − + ≤ − ≤ ≤ → ∴ = − หา 2rR ; 2 1 ; 0y x y= − ≥ [ ] 2 2 2 2 2 2 2 1 ; 1 ; 1 1 0 0 0 1 0,1r y x x y x y y y y R = − = − = ± − − ≥ ∧ ≥ → ≤ ≤ ∴ = 2r ไมเปน :f R R→ เพราะวา 2rD R≠ { }2 2 ( , ) / 1r x y y x= = − 3r f= เพราะวาสามารถเขียนใหอยูในรูป y = (กลุมของตัวแปร x) { } { }3 38 , 1r rD R R R= − − = − หา 2rD ; 1 8 x y x − = + , ตัวสวนหาม=0 { }3 8 0; 8 8r x x D R ∴ + ≠ ≠ − ∴ = − − หา 3rR ; จัดรูป x = (กลุมของตัวแปร y) { }3 1 ; ( 8) ( 1); 8 1; 8 8 1 8 1; (1 ) 8 1; 1 1 0; 1 1r x y y x x yx y x x y x yx y x y y x y y y R R − = + = − + = − + + − = + − = + = − − ≠ ≠ →∴ = − 3r ไมเปน :f R R→ เพราะวา 3rD R≠ 3 1 ( , ) / 8 x r x y y x −⎧ ⎫ = =⎨ ⎬ +⎩ ⎭ เพราะวาสามารถเขียนใหอยูในรูป y = (กลุมของตัวแปร x)
  • 59. 59 1.4) –พิจารณาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ -จัดกลุมตัวแปรในรูป..y=f(x) …… 1 1y x x= + − − -จากสมการสามารถแทนคา x เปน จํานวนใดๆก็ไดแลวสามารถหาคา y ไดเสมอ x R∴ ∈ { }4 ( , ) / 1 1r x y y x x= = + − − rD rR -จากสมการไมสามารถจัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) ได -ใหทําการถอดคาสัมบูรณออกกอน โดยการกําหนด ชวงของคา x แลวคอยจัดกลุมตัวแปรในรูป...x=f(y) { }4rD x R∴ = ∈ -จากสมการ… 1 1y x x= + − − … คาวิกฤติของคา x มี 2 คาคือ -1 และ 1 จากการจับ 1 0x + = และ 1 0x − = แกสมการหาคา x = -1,1 -แบงคา x เปน 3 ชวง ดังนี้ • • 1− 1 2 3 1x < − 1 1x− ≤ < 1x ≥ 1 1 ( 1) ( ( 1)) 1 1 2 y x x y x x y x x y = + − − = − + − − − = − − + − ∴ = − ∵ 1 1 ( 1) ( ( 1)) 1 1 2 ........ 2 1 1 1 1 2 2 2 y x x y x x y x x y y x x y x y = + − − = + − − − = + + − ∴ = = − ≤ < →∴− ≤ < ∴− ≤ < ∵ ∵ 1 1 1 ( 1) ( 1) 1 1 2 y x x y x x y x x y = + − − = + − − = + − + ∴ = ∵ { }4 / 2 2rR y R y∴ = ∈ − ≤ ≤
  • 60. 60 • พิจารณาวาเปนฟงกชันอะไรบาง 4r f= เพราะวาสามารถเขียนใหอยูในรูป y = (กลุมของตัวแปร x) { }4 ( , ) / 1 1r x y y x x= = + − − [ ]4 4, 2,2r rD R R= = − 4r เปน :f R R→ เพราะวา 4 4r rD R R R= ∧ ⊂ 4r ไมเปน : onto f R R⎯⎯⎯→ 4r ไมเปน 1:1 :f R R⎯⎯→ 4r ไมเปน 1:1 : onto f R R⎯⎯⎯→ เพราะวา 4rR R≠ เพราะวาสามารถหาคา x อยางนอย 2 คา แทนในสมการ 1 1y x x= + − − แลว ไดคา y เทากัน เชน ที่ x=-3 แทนคาได y=-2 และที่ x=-2 ก็แทนคาได y=-2 เชนกัน เพราะวา 4r ไมเปน : onto f R R⎯⎯⎯→
  • 61. 61 1.5) พิจารณาวา { }5 ( , ) /r x y x y x y= + ≥ + เปนฟงกชันหรือไม • โดยการหาคา x จํานวน 1 คา แทนลงไปในสมการ แลวไดคา y ออกมาอยางนอย 2 คาจะ ทําใหความสัมพันธนั้นไมเปนฟงกชัน เชนที่ x=2 , y=1 และที่ x=2 , y=2 แทนลง ในสมการ x y x y+ ≥ + ทําใหสมการเปนจริงทั้งคู 5...r not function∴ 5.8 การหาคาของฟงกชัน ในกรณีที่ f เปนฟงกชันเราสามารถแทน ( , )x y f∈ ดวย ( )y f x= การหา คาของฟงกชันเปนการหาคาของ ( )f x ที่ x เปนคาใดๆนั้นเอง ตัวอยางเชน 1. ให { }(1,2),(3,4),(2,7),(8,5)f = จงหาคาของ 1.1) (3)f 1.2) (8)f 1.3) ( (1))f f 1.4) (4)f 1.5) ถา ( ) 5f x = จงหาคา x วิธีทํา 1.1) (3) ?f = …….พิจารณาคูอันดับของฟงกชัน f ที่มีคา x=3……..(3,4) (3) 4f∴ = .... 2, 1 2 1 2 1 3 3 3 3.......... at x y x y x y true = = + ≥ + + ≥ + ≥ ≥ ..... 2, 2 2 2 2 2 4 4 4 4.......... at x y x y x y true = = + ≥ + + ≥ + ≥ ≥
  • 62. 62 1.2) (8) ?f = …….พิจารณาคูอันดับของฟงกชัน f ที่มีคา x=8……..(8,5) (8) 5f∴ = 1.3) ( (1)) ?f f = ………หาคาของ (1)f กอน ได (1) 2f = ( (1)) (2) 7f f f∴ = = 1.4) (4) ?f = ………..เนื่องจากคูอันดับของฟงกชัน f ไมมีคูอันดับใดที่มีคา x=4 (4)f∴   หาคาไมได  1.5) ( ) 5f x =∵ ………พิจารณาคูอันดับที่มีคา y=5 ซึ่งก็คือคูอันดับ (8,5) 8x∴ = 2. ให ( ) 3 1f x x= − จงหาคาของ 2.1) (2)f 2.2) 2 ( 1)f x − วิธีทํา 2.1) (2) ?f = ………ทําการแทนคา x=2 ( ) 3 1 (2) 3(2) 1 (2) 6 1 (2) 5 f x x f f f = − = − = − ∴ = 2.2) 2 ( 1) ?f x − = ……….ทําการแทนคา x ดวย 2 ( 1)x − 2 2 2 2 2 2 ( ) 3 1 ( 1) 3( 1) 1 ( 1) 3 3 1 ( 1) 3 4 f x x f x x f x x f x x = − − = − − − = − − ∴ − = −
  • 63. 63 3. กําหนดให (3 4) 4 3f x x− = + จงหาคาของ (8), (2)f f วิธีทํา 3.1) (8) ?f = ……….หาคา x ที่แทนใน 3x-4 แลวทําใหมีคาเทากับ 8 3 4 8 3 12 4 x x x − = = ∴ = …….แทนคา x=4 ลงใน (3 4) 4 3f x x− = + (3 4) 4 3 (3(4) 4) 4(4) 3 (8) 16 3 (8) 19 f x x f f f − = + − = + = + ∴ = 3.2) (2) ?f = ……….หาคา x ที่แทนใน 3x-4 แลวทําใหมีคาเทากับ 2 3 4 2 3 6 2 x x x − = = ∴ = …….แทนคา x=2 ลงใน (3 4) 4 3f x x− = + (3 4) 4 3 (3(2) 4) 4(2) 3 (2) 8 3 (2) 11 f x x f f f − = + − = + = + ∴ =
  • 64. 64 แบบฝกหัด 1. ความสัมพันธตอไปนี้เปนฟงกชันหรือไม 1.1) { }1 (2,0),(3,1),(7,6)r = 1.2) { }2 (2,4),(2,6),(5,6),(9,6)r = 1.3) { }3 (3,2),(3,4),(3,5)r = 1.4) { }4 (0,4),( 3,5),(1,8)r = − 2. พิจารณาความเปนฟงกชันจากความสัมพันธตอไปนี้ 2.1) { }1 ( , ) / 3 9r x y RxR y x= ∈ = + 2.2) { }2 2 ( , ) /r x y RxR y x= ∈ =
  • 65. 65 2.3) { }2 3 ( , ) /r x y RxR x y= ∈ = 2.4) { }2 4 ( , ) / , 0r x y RxR x y y= ∈ = ≤ 2.5) { }2 2 5 ( , ) / 4r x y RxR x y= ∈ + = 2.6) { }2 2 6 ( , ) / 4,0 2r x y RxR x y y= ∈ + = ≤ ≤ 2.7) { }2 2 7 ( , ) / 4,0 2 0 2r x y RxR x y x and y= ∈ + = ≤ ≤ ≤ ≤ 2.8) { }2 8 ( , ) / 2 8r x y RxR y x x= ∈ = − − 2.9) { }2 9 ( , ) / 2 8r x y RxR x y y= ∈ = − −
  • 66. 66 2.10) { }2 10 ( , ) / 2 8, 1r x y RxR x y y y= ∈ = − − ≥ 3. กราฟจากความสัมพันธดังตอไปนี้ความสัมพันธใดเปนฟงกชัน 3.1) 3.2) 3.3) y x y x y x
  • 68. 68 3.8) 3.9) 3.10) 4. กําหนด { }1,2A = และ { }3,4B = จงหา 4.1) ฟงกชันจาก A ไป B ไดแก y x y x y x
  • 69. 69 4.2) ฟงกชันจาก B ไป A ไดแก 5. กําหนด { }1,2,3A = และ { },B a b= จงหา 5.1) ฟงกชันจาก A ไป B ไดแก 5.2) ฟงกชันจาก B ไป A ไดแก 6. กําหนด { }1,2,3A = และ { }, ,B a b c= จงหา 6.1) ฟงกชัน 1-1 จาก A ไป B ไดแก 6.2) ฟงกชัน 1-1 จาก B ไป A ไดแก
  • 70. 70 6.3) ฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B ไดแก 7. ให { }2,6,9A = และ { }4,0,1,7B = − บอกชนิดของฟงกชันตอไปนี้ 7.1) { }1( ) (2, 4),(6,1),(2,1)f x = − 7.2) { }2 ( ) ( 4,2),(0,2),(1,2),(7,2)f x = − 7.3) { }3 ( ) ( 4,0),(0,0),(1,7),(7,7)f x = − 7.4) { }4 ( ) ( 4,2),(0,6),(1,6),(7,9)f x = − 7.5) { }5 ( ) (2,0),(6,1),(9, 4)f x = − 8. จงพิจารณาหาฟงกชัน 1-1 จากกราฟตอไปนี้ 8.1) y x
  • 73. 73 10. กําหนด ( ) 3 2f x x= − และ 2 2x− ≤ ≤ จงหา fR 11. กําหนด 2 ( ) 1f x x= + และ 4 2x− ≤ ≤ จงหา fR 12. กําหนด 2 ( ) 2 8f x x x= − − และ 2 2x− ≤ ≤ จงหา fR 13. กําหนดให 2 ( ) 2 5 2f x x x= − + เมื่อ 2 2x− ≤ ≤ จงหา 13.1) (0)f 13.2) ( 1)f − 13.3) (1)f 13.4) ( 2)f −
  • 74. 74 13.5) ( 3)f − 13.6) (3)f 14. กําหนด 2 ( ) 2 f x x − = จงหา 14.1) ( 2)f − 14.2) (0)f 14.3) (1)f 14.4) ( 3)f 14.5) (2)f 14.6) (3)f เมื่อ 0x < เมื่อ 0 2x≤ ≤ เมื่อ 2x >
  • 75. 75 15. กําหนด { }2 ( , ) / 4 5f x y RxR y x x= ∈ = − + จงหา fD และ fR 16. กําหนด 1 ( , ) / 2 f x y RxR y x ⎧ ⎫⎪ ⎪ = ∈ =⎨ ⎬ +⎪ ⎪⎩ ⎭ จงหา fD และ fR
  • 76. 76 6. กราฟของความสัมพันธและฟงกชัน ในระบบแกนมุมฉากเราสามารถกําหนดจุดพิกัด (x,y) แทนคูอันดับของจํานวนจริงของ  ความสัมพันธ r ใดๆได และจากการกําหนดพิกัดแทนคูอันดับนี้เอง เราจะไดกราฟของ ความสัมพันธ r ซึ่งจากกราฟนี้เองทําใหเราสามารถระบุโดเมนและเรนจของความสัมพันธได แทน การพิจารณาโดเมนและเรนจจากสมการของตัวแปร x และ y รวมทั้งการพิจารณาวาความสัมพันธ ใดเปนฟงกชัน และฟงกชันใดเปนฟงกชัน 1-1 บาง เปนตน ให R เปนเซตของจํานวนจริง และ r RxR⊂ กราฟของความสัมพันธ r คือ เซตของจุดบนระนาบ โดยที่แตละจุดแทนสมาชิกของความสัมพันธ r อาจสรุปประเภทของกราฟไดดังแผนภาพตอไปนี้  กราฟของความสัมพันธและฟงกชัน กราฟของจุด กราฟเสนตรง กราฟพาราโบลา กราฟวงกลม กราฟฟงกชันเอกโปเนนเชียล กราฟฟงกชันคาบันได กราฟฟงกชันกําลังสอง กราฟฟงกชันเชิงเสน กราฟฟงกชันคาสมบูรณ กราฟของอสมการ
  • 77. 77 6.1 กราฟของจุด เปนกราฟของความสัมพันธหรือฟงกชันที่ประกอบไปดวยจุดที่ไมมีความตอเนื่องกันเปนเสน ตัวอยางเชน 1. จงเขียนกราฟของความสัมพันธ { }(0,2),( 1, 1),(3,1),(2,2)r = − − 2. จงเขียนกราฟของความสัมพันธ { }( , ) / 4r x y AxA x y= ∈ + = โดยที่ { }0,1,2,3,4A = วิธีทํา แจกแจงสมาชิกของ r ไดดังนี้ { }(0,4),(1,3),(2,2),(3,1),(4,0)r = 1 2 31− 1− 1 2 • • • • (2,2) (3,1) ( 1, 1)− − (0,2) y x y x 1 2 3 4 1 2 3 4 0 • • • • • (0,4) (1,3) (2,2) (3,1) (4,0)
  • 78. 78 6.2 กราฟเสนตรง ความสัมพันธที่สมการ x และ y มีกําลังเปน 1 และมีรูปแบบของสมการอยูในรูป y mx c= + โดยที่ m เปนคาความชันหรือความลาดเอียงของกราฟเสนตรง และ c คือระยะ ตัดแกน y ตัวอยางเชน กราฟของสมการ y=2x+1 จะเปนกราฟเสนตรงที่มีความลาดเอียงของ กราฟเทากับ 2 และมีระยะตัดแกน y เปน 1 ซึ่งสามารถวาดเปนกราฟไดดังนี้ ถาความลาดเอียงของกราฟเปน + จะไดกราฟเสนตรงที่เอียงทํามุมแหลมกับแกน x แตถา ความลาดเอียงเปน – จะไดกราฟเสนตรงที่เอียงทํามุมปานกับแกน x และถาความลาดเอียงมีคา เปน 0 กราฟจะเปนเสนตรงที่วางตัวตามแนวนอน สวนกราฟเสนตรงที่ทํามุมฉากกับแกน x คา ความชันของกราฟจะหาคาไมได โดยอาจสรุปลักษณะความลาดเอียงของกราฟไดดังนี้ y x 1 2 3 1 2 3 •(0,1) y x y x y x y x ความลาดเอียงเปน + ความลาดเอียงเปน - ความลาดเอียงเปน 0 ความลาดเอียงหาคาไมได
  • 79. 79 ตัวอยางที่ 1 จงวาดกราฟของความสัมพันธ { }( , ) / 3 1r x y y x= = + วิธีทํา จากสมการ y=3x+1 เมื่อเทียบกับรูปแบบสมการ y=mx+c จะไดคาความชันหรือ ความลาดเอียงเทากับ 3 และระยะตัดแกน y เทากับ 1 เพราะฉะนั้นจะไดวากราฟผานจุด (0,1) ในการวาดกราฟเสนตรงตองทราบจุด 2 จุด จุดที่ 1 คือ (0,1) ซึ่งเปนจุดตัดแกน y ทําการหาจุด ที่ 2 โดยการแทนคา y=0 แลวหาคา x จากสมการ y=3x+1 และ ตัวอยางที่ 2 จงวาดกราฟของความสัมพันธ { }( , ) / 3 4 2r x y x y= + = วิธีทํา หาจุดตัดแกน x และ y โดย 1) จุดตัดแกน x หาไดโดยแทนคา y=0 แลวหาคา x 3 4 2 3 4(0) 2 3 2 2 3 x y x x x + = + = = ∴ = จุดตัดแกน x เปน 1 ( ,0) 3 − จุดตัดแกน y เปน (0,1) y x• • 1 ( ,0) 3 − (0,1) จุดตัดแกน x เปน 2 ( ,0) 3 3 1 3(0) 1 1 y x y y = + = + ∴ = 3 1 0 3 1 3 1 1 3 y x x x x = + = + = − −⎛ ⎞ ∴ = ⎜ ⎟ ⎝ ⎠
  • 80. 80 2) จุดตัดแกน y หาไดโดยแทนคา x=0 แลวหาคา y 3 4 2 3(0) 4 2 4 2 1 2 x y y y x + = + = = ∴ = 3) สามารถวาดกราฟไดดังนี้ 6.3 กราฟพาราโบลา ความสัมพันธที่มีสมการ x,y อยูในรูปกําลังสอง โดยมีรูปแบบอยูในรูป 2 y ax bx c= + + หรือ 2 x ay by c= + + โดยที่ a,b และ c คือคาคงที่ที่เปนจํานวนจริงใดๆ โดยแบงประเภท และชนิดของพาราโบลาไดดังนี้                                            ถา a >0 เปนกราฟพาราโบลาหงาย  2 y ax bx c= + + ถา a <0 เปนกราฟพาราโบลาคว่ํา จุดตัดแกน y เปน 1 (0, ) 2 y x• • 2 ( ,0) 3 1 (0, ) 2
  • 81. 81 ถา a >0 เปนกราฟพาราโบลาตะแคงขวา 2 x ay by c= + + ถา a <0 เปนกราฟพาราโบลาตะแคงซาย จากกราฟ 2 y ax bx c= + + พาราโบลาจะมีจุดยอดที่ จากกราฟ 2 x ay by c= + + พาราโบลาจะมีจุดยอดที่ 2 4 ( , ) 4 2 ac b b a a − − y x y x 2 y ax bx c= + + 0a < 0a > y x y x 2 x ay by c= + + 0a < 0a > 2 4 ( , ) 2 4 b ac b a a − −
  • 82. 82 ตัวอยางที่ 1 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2 3 5 10y x x= + +   วิธีทํา หาคา a ,b และ c จากการเทียบสมการ 2 3 5 10y x x= + + กับ 2 y ax bx c= + + จะไดคา 3, 5, 10a b c= = = พิจารณาที่คา a=3 มีคาเปนบวก และกําลัง 2 อยูที่ x กราฟจะ เปนพาราโบลาหงาย มีจุดยอดอยูที่ 2 4 ( , ) 2 4 b ac b a a − − = 2 5 4(3)(10) 5 ( , ) 2(3) 4(3) 5 120 25 ( , ) 6 12 5 95 ( , ) 6 12 − − = − − = − = ตัวอยางที่ 2 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2 3 5 10x y y= + +   วิธีทํา จากสมการเทียบส.ป.ส.หาคา a,b,c ได a=3,b=5,c=10 คา a เปนบวกและกําลัง สองอยูที่ y จะไดกราฟพาราโบลาตะแคงขวา มีจุดยอดอยูที่ 5 95 ( , ) 6 12 − เหมือนตัวอยางที่แลว เพราะคา a,b,c เหมือนกัน y x • 5 95 ( , ) 6 12 − y x • 5 95 ( , ) 6 12 −
  • 83. 83 ตัวอยางที่ 3 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2 3 8 10x y y= − + + วิธีทํา จากสมการเทียบส.ป.ส.หาคา a,b,c ได a=-3,b=8,c=10 คา a เปนลบและกําลัง สองอยูที่ y จะไดกราฟพาราโบลาตะแคงซาย มีจุดยอดอยูที่ 2 2 4 ( , ) 4 2 4( 3)(10) 8 8 ( , ) 4( 3) 2( 3) 120 64 8 ( , ) 12 6 184 4 ( , ) 12 3 46 4 ( , ) 3 3 ac b b a a − − = − − − = − − − − − = − − = = ตัวอยางที่ 4 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2 8 10y x x= − + + วิธีทํา จากสมการเทียบส.ป.ส. หาคา a,b,c ได a=-1 , b=8 และ c=10 คา a เปนลบและ กําลังสองอยูที่ x จะไดกราฟพาราโบลาคว่ํา มีจุดยอดอยูที่ 2 4 ( , ) 2 4 b ac b a a − − = 2 8 4( 1)(10) 8 ( , ) 2( 1) 4( 1) 40 64 (4, ) 4 104 (4, ) 4 (4,26) − − − = − − − − = − − = − = y x • 46 4 ( , ) 3 3
  • 84. 84 6.4 กราฟของวงกลม ความสัมพันธที่มีสมการทั่วไปอยูในรูป 2 2 2 ( ) ( )x h y k r− + − = โดยที่ ( , )h k คือจุด ศูนยกลางของวงกลม และ r คือรัศมีของวงกลม ตัวอยางที่ 1 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2 2 ( 3) ( 1) 9x y− + − = วิธีทํา จัดสมการใหอยูในรูปแบบ 2 2 2 ( ) ( )x h y k r− + − = ได 2 2 2 ( 3) ( 1) 3x y− + − = เทียบคา h,k และ r ไดคา h=3,k=1 และ r=3 ไดกราฟวงกลมที่มีจุดศูนยกลางที่ (3,1) และมีรัศมีเทากับ 3 สามารถวาดกราฟไดดังนี้ y x (4,26) x ( , )h k • • r y • 3r = y x (3,1)
  • 85. 85 ตัวอยางที่ 2 จงวาดกราฟของความสัมพันธ 2 2 ( 2) ( 1) 4x y− + + = วิธีทํา จัดสมการใหอยูในรูปทั่วไป คือ 2 2 2 ( 2) ( 1) 2x y− + + = จะไดคา h=2,k=-1 และ r=2 สามารถวาดกราฟไดดังนี้ 6.4 กราฟของอสมการ เมื่อเราเรียนรูกราฟเสนตรง กราฟพาราโบลา และกราฟวงกลม แลว กราฟของอสมการก็จะ กลาวถึงกราฟอสมการของกราฟเสนตรง พาราโบลา และวงกลม ดังจะยกตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยางที่ 1 จงเขียนกราฟของ 3 4y x≤ + วิธีทํา วาดกราฟของ 3 4y x= + กอน ซึ่งเปนกราฟเสนตรง แลวเลือกคา y ที่นอยกวาหรือ เทากับเสนกราฟ ดังรูป y x (2, 1)− • 2r = y x 3 4y x≤ +
  • 86. 86 ตัวอยางที่ 2 จงเขียนกราฟของ 3 4y x> + วิธีทํา วาดกราฟของ 3 4y x= + กอน แลวเลือกคา y ที่มากกวาเสนกราฟ ดังรูป ตัวอยางที่ 3 จงเขียนกราฟของ 2 2 1y x x> + + วิธีทํา วาดกราฟของ 2 2 1y x x= + + กอน ซึ่งเปนกราฟพาราโบลาแลวเลือกคา y ที่ มากกวาเสนกราฟ ดังรูป ตัวอยางที่ 4 จงเขียนกราฟของ 2 2 1x y+ > วิธีทํา วาดกราฟของ 2 2 1x y+ = กอน ซึ่งเปนกราฟวงกลมแลวเลือกพื้นที่ของกราฟอยู ในชวงนอกวงกลม ดังรูป x 3 4y x> + y y x 2 2 1y x x> + +
  • 87. 87 7. พีชคณิตของฟงกชัน คือการดําเนินการของฟงกชัน เชน การนําฟงกชันมาบก ลบ คูณ หรือหารกัน โดยมีลักษณะ ดังนี้ กําหนดให f และ g เปนฟงกชัน 1) การนําฟงกชันมาบวกกัน-ฟงกชัน f บวกฟงกชัน g เขียนแทนดวย f+g โดยมี ความหมายดังนี้ ( )( ) ( ) ( ) f g f gf g x f x g x D D D++ = + ⇒ = ∩ 2) การนําฟงกชันมาลบกัน-ฟงกชัน f ลบฟงกชัน g เขียนแทนดวย f-g โดยมีความหมาย ดังนี้ ( )( ) ( ) ( ) f g f gf g x f x g x D D D+− = − ⇒ = ∩ 3) การนําฟงกชันมาคูณกัน-ฟงกชัน f คูณฟงกชัน g เขียนแทนดวย f g⋅ โดยมี ความหมายดังนี้ ( )( ) ( ) ( ) f g f gf g x f x g x D D D+⋅ = ⋅ ⇒ = ∩ y x 2 2 1x y+ >
  • 88. 88 4) การนําฟงกชันมาหารกัน-ฟงกชัน f หารฟงกชัน g เขียนแทนดวย f g โดยมีความหมาย ดังนี้ ( ) ( )( ) , ( ) 0 ( ) { | ( ) 0} ( ) f g f g f f x x g x D D D x g x g g x += ≠ ⇒ = ∩ − = ตัวอยาง เชน 1. ถา 2 ( ) 3 2 1f x x x= − + และ ( ) 2 1g x x= − จงหา ( )( ) , ( )( ) , ( )( )f g x f g x f g x+ − ⋅ และ ( ) f x g ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ วิธีทํา 1) หา ( )( )f g x+ จาก ( )( ) ( ) ( ) , f g f gf g x f x g x D D D++ = + = ∩ 2 2 2 ( )( ) (3 2 1) (2 1) , ( )( ) 3 2 1 2 1 , ( )( ) 3 , f g f g f g x x x x D R R f g x x x x D R f g x x x R + + + = − + + − = ∩ + = − + + − = + = ∈ 2) หา ( )( )f g x− จาก ( )( ) ( ) ( ) , f g f gf g x f x g x D D D−− = − = ∩ 2 2 2 ( )( ) (3 2 1) (2 1) , ( )( ) 3 2 1 2 1 , ( )( ) 3 2 , f g f g f g x x x x D R R f g x x x x D R f g x x x x R − − − = − + − − = ∩ − = − + − + = − = − 4 + ∈
  • 89. 89 3) หา ( )( )f g x⋅ จาก ( )( ) ( ) ( ) , f g f gf g x f x g x D D D⋅⋅ = ⋅ = ∩ 2 2 2 ( )( ) (3 2 1)(2 1) , ( )( ) (3 2 1)(2 ) (3 2 1) , f g f g f g x x x x D R R f g x x x x x x D R ⋅ ⋅ ⋅ = − + − = ∩ ⋅ = − + − − + = 3 2 2 3 2 ( )( ) (6 2 ) (3 2 1) , ( )( ) 6 7 4 1 , f gf g x x x x x x D R f g x x x x x R ⋅⋅ = − 4 + − − + = ⋅ = − + − ∈ 4) หา ( )( ) f x g จาก ( ) ( )( ) , ( ) { | ( ) 0} ( ) f f g g f f x x D D D x g x g g x = = ∩ − = 2 2 2 3 2 1 1 ( )( ) , ( ) { | } 2 1 2 3 2 1 1 ( )( ) , { | } 2 1 2 3 2 1 1 ( )( ) , 2 1 2 f g f g f x x x D R R x x g x f x x x D R x x g x f x x x x g x + − + = = ∩ − = − − + = = − = − − + = ≠ − 2. ถา 2 ( ) 3 2 1f x x x= − + โดยที่ 3 3x− ≤ ≤ และ ( ) 2 1g x x= − โดยที่ 0 5x≤ ≤ จงหา ( )( )f g x+ และ ( )( ) f x g วิธีทํา 1) หา ( )( )f g x+ จาก ( )( ) ( ) ( ) , f g f gf g x f x g x D D D++ = + = ∩ 2 2 2 ( )( ) (3 2 1) (2 1) , [3, 3] [0,5] ( )( ) 3 2 1 2 1 , [0,3] ( )( ) 3 , 3 f g f g f g x x x x D f g x x x x D f g x x x + + + = − + + − = − ∩ + = − + + − = + = 0 ≤ ≤
  • 90. 90 2) หา ( )( ) f x g จาก ( ) ( )( ) , ( ) { | ( ) 0} ( ) f f g g f f x x D D D x g x g g x = = ∩ − = 2 2 2 2 3 2 1 1 ( )( ) , ([ 3,3] [0,5]) { | } 2 1 2 3 2 1 1 ( )( ) , [0,3] { | } 2 1 2 3 2 1 1 1 ( )( ) , [0, ) ( ,3] 2 1 2 2 3 2 1 1 ( )( ) , 0 2 1 2 f g f g f g f x x x D x x g x f x x x D x x g x f x x x D g x f x x x x g x − + = = − ∩ − = − − + = = − = − − + = = ∪ − − + = ≤ < − 8. ฟงกชันประกอบ คือ การซอนหรือเชื่อมโยงกันของฟงกชันอยางนอย 2 ฟงกชัน อาจอธิบายโดยภาพการ เชื่อมโยงไดดังตัวอยางตอไปนี้ หรือ 1 3 2 x< ≤ 1 2 4 3 6 5 0 2 8 A B f g C ฟงกชัน f และ g เชื่อมโยงกันโดยเซต B เราสามารถหาคาของฟงกชันประกอบ f และ g ได เชน ( )(1)g f ⇒ มีคาหรือความหมายเปน ( (1)) (3) 0g f g= =
  • 91. 91 ตัวอยาง เชน 1. ให ( ) 2 1f x x= + และ 2 ( ) 4g x x= + จงหา g f และ f g วิธีทํา 1) ( )( ) ( ( ))g f x g f x= 2 2 2 (2 1) (2 1) 4 (4 4 1) 4 4 4 5 g x x x x x x = + = + + = + + + = + + 2) ( )( ) ( ( ))f g x f g x= 2 2 2 2 2 ( 4) 2( 4) 1 2 8 1 2 9 f x x x x = + = + + = + + = + ขอสังเกต 1) ถา f gR D∩ ≠ ∅ แสดงวาสามารถหา g f ได ถา g fR D∩ ≠ ∅ แสดงวาสามารถหา f g ได 2) ( )( )f g x ไมจําเปนตองเทากับ ( )( )g f x 2. ให ( ) 4f x x= + และ ( ) 3 9g x x= + จงหา ( )( )g f x และ ( )( )f g x วิธีทํา 1) ตรวจสอบวาสามารถหา ( )( )g f x และ ( )( )f g x ไดหรือไม ⇒ถา ( )( )g f x หาได แลว [f g fR D R R∩ ≠ ∅ = และ ]gD R= R R∩ ≠ ∅ R ≠ ∅ จริง ( )( )g f x∴ สามารถหาคาได
  • 92. 92 ⇒ถา ( )( )f g x หาได แลว [g f gR D R R∩ ≠ ∅ = และ ]fD R= R R∩ ≠ ∅ R ≠ ∅ จริง ( )( )f g x∴ สามารถหาคาได 2) หาคาของ ( )( )g f x และ ( )( )f g x ( )( ) ( ( ))g f x g f x⇒ = ( 4) 3( 4) 9 3 12 9 3 21 g x x x x = + = + + = + + = + ( )( ) 3 21g f x x∴ = + ( )( ) ( ( ))f g x f g x⇒ = (3 9) (3 9) 4 3 13 f x x x = + = + + = + ( )( ) 3 13f g x x∴ = + 3. กําหนดให ( )f x = และ ( ) 2 5g x x= + จงหาคาของ ( )(3)f g และ ( )( 2)g f − วิธีทํา 1) หาคา ( )(3)f g ( )(3) ( (3))f g f g= (2(3) 5) (11) f f = + = จาก ( )f x = 2x 7x − เมื่อ 1x ≥ เมื่อ 1x < 2x 7x − เมื่อ 1x ≥ เมื่อ 1x < 11x = (11)f
  • 93. 93 (11) 2(11) 22f⇒ = = ( )(3) 22f g∴ = 2) หาคา ( )( 2)g f − ( )( 2) ( ( 2))g f g f− = − จาก ( )f x = ( ( 2)) ( 2 7)g f g⇒ − = − − ( 9) 2( 9) 5 18 5 13 g= − = − + = − + = − ( )( 2) 13g f∴ − = − 9. ความสัมพันธผกผันและฟงกชันผกผัน เมื่อกําหนดให r เปนความสัมพันธใดๆจาก A ไป B {( , ) }r x y A B= ∈ × ความสัมพันธผกผันของ r เราเขียนแทนดวย 1 r− มีความหมายดังนี้ 1 {( , ) | ( , ) }r y x x y r− = ∈ ในกรณีของฟงกชันผกผันก็เชนเดียวกันกับความสัมพันธผกผันคือ ถาให f เปนฟงกชันจาก A ไป B แลว ฟงกชันผกผันของ f เขียนแทนดวย 1 f − มีความหมายคือ 1 {( , ) | ( , ) }f y x x y f− = ∈ ตัวอยาง เชน 2x 7x − เมื่อ 1x ≥ 2x = − ( 2)f − เมื่อ 1x <
  • 94. 94 1. ให {1,2,3,4}A = และ { , , , }B a b c d= และ {(1, ),(2, ),(3, )}r a c d= จงหา 1 r− วิธีทํา หา 1 r− ไดโดยการสลับ (x,y) เปน (y,x) ดังนี้ 1 {( ,1),( ,2),( ,3)}r a c d− = 2. กําหนด 2 {( , ) | 2 1}r x y A B y x= ∈ × = + จงหา 1 r− วิธีทํา หา 1 r− ไดโดยการสลับ (x,y) เปน (y,x) 3. กําหนดให 3 1 {( , ) | } 2 1 x r x y R R y x + = ∈ × = + จงหา 1 r− วิธีทํา 1 3 1 {( , ) | } 2 1 y r x y R R x y − + = ∈ × = + พิจารณา 3 1 2 1 y x y + = + (2 1) 3 1 2 3 1 1 3 2 1 (3 2 ) x y y xy x y x y xy x y x + = + + = + − = − − = − 2 {( , ) | 2 1}r x y A B y x= ∈ × = + 1 2 {( , ) | 2 1}r y x B A y x− = ∈ × = + 1 2 {( , ) | 2 1}r x y B A x y− = ∈ × = +
  • 95. 95 1 3 2 x y x − = − 1 1 {( , ) | } 3 2 x r x y R R y x − − ∴ = ∈ × = − 4. ให {( , ) | ( ) 2 5}f x y R R f x x= ∈ × = + จงหา 1 f − วิธีทํา พิจารณา………. 2 5x y= + ………คา 0x ≥ 2 2 5x y= + ………คา 0x ≥ 2 5 2x y− = ………คา 0x ≥ 2 5 2 x y − = ………คา 0x ≥ 2 1 5 {( , ) | , 0} 2 x f x y R R y x− − ∴ = ∈ × = ≥ 5. กําหนดให (3 1) 2 8f x x− = + แลว 1 (10)f − เทากับเทาใด วิธีทํา 1) สมมติให …….. 2) จาก (3 1) 2 8f x x− = + นํามาเทียบกับ ( ) 10f a = จะไดวา…….. 3) 1 (10) 2f − = {( , ) | 2 5}f x y R R y x= ∈ × = + 1 {( , ) | 2 5}f x y R R x y− = ∈ × = + 1 (10)f a− = ( ) 10f a = 2 8 10 2 2 1 x x x + = = = 3 1 3(1) 1 3 1 2 x a a a a − = − = − = ∴ =
  • 96. 96 6. กําหนดให 1 1 ( 1) 1 2 2 f x x+ = − แลว 1 (2)f − เทากับเทาใด วิธีทํา 1) สมมติให …….. 2) จาก 1 1 ( 1) 1 2 2 f x x+ = − นํามาเทียบกับ ( ) 2f a = จะไดวา…….. 3) 1 (2) 4f − = 7. กําหนดฟงกชัน f และ g ดังนี้ 3 ( ) , 2 x f x x R + = ∈ และ ( ) ,g x x x R= ∈ เมื่อ 3x = คาของ 1 1 [( )( ) ( )(2)] 2 f g x f g x − − − − เทากับเทาใด วิธีทํา 1) หาคาของ 1 1 1 1[( )(3) ( )(2)] ( )(3) ( )(2) 3 2 f g f g f g f g − − − −− = − − 2) หาคาของ 1 ( )(3)f g− 1 1 ( )(3) ( (3))f g f g− − = 1 1 (3) (3) f f − − = = สมมติให 1 1 2 2 1 3 2 6 x x x − = = = 1 1 2 1 (6) 1 2 3 1 4 x a a a a + = + = + = ∴ = 1 (2)f a− = ( ) 2f a = 1 (3)f a− = ( ) 3f a =
  • 97. 97 นํา ( ) 3f a = มาเทียบกับ 3 ( ) 2 x f x + = 1 ( )(3) 3f g− ∴ = 3) หาคาของ 1 ( )(2)f g− 1 1 ( )(2) ( (2))f g f g− − = 1 1 ( 2 ) (2) f f − − = = สมมติให นํา ( ) 2f a = มาเทียบกับ 3 ( ) 2 x f x + = 1 ( )(2) 1f g− ∴ = 4) หาคา 1 1 ( )(3) ( )(2)f g f g− − − 1 1 ( )(3) ( )(2) 3 1 2f g f g− − − = − = ∴เมื่อ 3x = คาของ 1 1 [( )( ) ( )(2)] 2 2 f g x f g x − − − = − 3 3 2 3 6 3 x x x + = + = = 3 3 x a a a = = ∴ = 1 (2)f a− = ( ) 2f a = 3 2 2 3 4 1 x x x + = + = = 1 1 x a a a = = ∴ =
  • 99. 99 3) 3 {( , ) | 1}r x y y x= = + 4) 4 {( , ) | 1}r x y y x= > +
  • 100. 100 5) 5 {( , ) | }r x y y x= = 6) 6 {( , ) | 2}r x y y x= + =
  • 101. 101 7) 7 {( , ) |r x y y x= ≥ และ 10 0}x y− ≤ 8) 2 8 {( , ) | 2 3}r x y y x x= = − +
  • 102. 102 9) 2 9 {( , ) | 2 3,0 3}r x y y x x x= = − + ≤ ≤ 10) 2 10 {( , ) | 2 3}r x y y x x= = − +
  • 103. 103 11) ( )f x = 12) ( ) 4f x x= − 4 ; 2x x− ≥ ; 2x x− <
  • 104. 104 13) ( ) 3 4f x x= − + 14) ( )f x = 2 ; 0x x > 2 ; 0x x− ≤
  • 105. 105 15) 2 2 11 {( , ) | 4}r x y R R x y= ∈ × + ≥ 16) 2 12 {( , ) | ( 1) }r x y R R x y= ∈ × ≥ +
  • 106. 106 17) 2 13 {( , ) | ( 1) }r x y R R x y= ∈ × < − − 18) 2 14 {( , ) | 1 2 }r x y R R x y y= ∈ × − ≥ +
  • 107. 107 19) 15 {( , ) | 3}r x y R R x y= ∈ × ≥ − 20) 16 {( , ) | 1 1}r x y R R y x= ∈ × < − + +
  • 108. 108 2. ให {(0,2),(2,3),(3,4),(4,5)}f = และ {(0,1),(1,2),(2,0)}g = จงหา 1) f g+ 2) f g− 3) f g⋅ 4) f g
  • 109. 109 3. ให {(1,3),(2,7),(3,9),(5,10)}f = และ {(1,3),(2,5),(3,0),(4,2)}g = จงหา 1) f g+ 2) f g− 3) f g⋅ 4) f g
  • 110. 110 4. ให ( ) 3 , ( ) 4 2f x x g x x= = + จงหาพีชคณิตของฟงกชันตอไปนี้ 1) f g+ 2) f g− 3) f g⋅ 4) f g
  • 111. 111 5. ถา ( ) (3 )(2 )f x x x= + − และ 1 ( ) 3 g x x = + แลวจงหาโดเมนของ f g−
  • 112. 112 6. ให 2 ( ) 1f x x= − เมื่อ 2 2x− ≤ ≤ และ ( ) 2 2g x x= − เมื่อ 1 5x− ≤ ≤ จงหา ,f g f gD R− − และ f g−
  • 113. 113 7. ให 2 ( ) 5 2, ( )f x x g x x= + = จงหาพีชคณิตของฟงกชันตอไปนี้ 1) f g+ 2) f g− 3) f g⋅ 4) f g
  • 114. 114 8. ให 2 6 1 ( ) , ( ) 2 x x f x g x x x − − = = − จงหาพีชคณิตของฟงกชันตอไปนี้ 1) f g+ 2) f g− 3) f g⋅ 4) f g
  • 115. 115 9. ให {(1,2),(3,4),(5,6)}f = {(2,10),(4,20),(6,30)}g = จงหา g f 10. ให {(1,7),(2,8),(3,9),(7,1),(8,2),(9,3)}f = {(1,1),(2,2),(3,3),(7,7),(8,8),(9,9)}g = จงหา , ,g f f g g g
  • 116. 116 11. ให ( ) 6, ( ) 2 3f x x g x x= + = − ใหหา ( )(2)g f และ ( )(3)f g 12. ให 2 ( ) 2 , ( ) 5f x x x g x x= − = − ใหหา ( )(3)g f และ ( )(9)f g
  • 117. 117 13. กําหนด ( ) 3f x x= และ ( )g x = จงหา 1 ( )( ) 5 g f − 14. กําหนดให ( ) 3f x x= ( )h x = 2 ( ) 1g x x= + จงหาวา ( )(1)f h g มีคาเทากับเทาใด 2 ; 1x x ≥ − 2 ; 1 3 x x − ≤ − 2 2 ; 0x x− < 2 3 ; 0x x− ≥
  • 118. 118 15.กําหนด ( ) 2 1f x x= + และ ( )( ) 2 4g f x x= + จงหา ( )g x 16.กําหนด ( ) 2f x x= − และ 2 ( )( ) 4 4g f x x x= − − จงหา ( 1)g −
  • 119. 119 17. จงหา ( )f x จาก ( )g x และ ( )( )g f x ที่กําหนดใหตอไปนี้ 17.1) ( )g x x= และ 2 ( )( ) 1g f x x= − 17.2) ( ) 2g x x= + และ 3 ( )( ) 2g f x x= +
  • 120. 120 18. กําหนด ( )( ) 4 5g f x x= − และ ( ) 2 1g x x= + จงหา ( )f x 19. กําหนด ( ) 5f x x= − และ 2 ( )g x x= จงหา ,g fD g f
  • 121. 121 20. กําหนด 2 ( ) x f x x − = และ 1 ( )g x x = จงหา ,g fD g f 21. กําหนด 2 ( )f x x= และ ( ) 5g x x= + จงหา ,g fD g f
  • 122. 122 22. กําหนด 1 ( ) x f x x + = และ ( ) 2 3g x x= − จงหา , ,g f f g f f พรอมหาโดเมนของทุกฟงกชัน
  • 123. 123 23. กําหนด 1 ( )f x x = และ 2 ( ) 4g x x x= + จงหา ,g f f g พรอมหา โดเมนของทุกฟงกชัน