SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
ระบบบริหารราชการไทย


บทที่ 6
ทิศทาง หรือ แนวโน้มของการบริหารราชการไทย

           ในการพิจารณาถึงทิศทางของการบริหารราชการไทย
โดยทั่วไปจะยึดเป็นแนวทางแห่งรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นหลัก ในส่วนของรัฐธรรมนูญนั้น ได้
มีการบัญญัติถึงแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐไว้ในหมวดหนึ่งของ
รัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยบทบัญญัติที่กำาหนดภารกิจของรัฐไว้อย่าง
ชัดเจน เช่น การบัญญัติว่ารัฐจะต้องให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น
ตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนใน
ท้องถิ่น เป็นต้น(สุโขทัยธรรมาธิราช,2548,351)

         สำาหรับประเทศไทยแล้วระบบราชการเป็นสถาบันที่มีความ
สำาคัญต่อการดำารงอยู่ของรัฐช่วยพัฒนาประเทศให้มความเจริญ
                                              ี
ก้าวหน้า ระบบราชการจึงเป็นกลไกการบริหารงานที่ทุกรัฐบาลที่เข้า
มาบริหารราชการแผ่นดินให้ความสำาคัญ โดยกำาหนดไว้ในนโยบาย
การปรับปรุงระบบการบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพจะเอื้อ
อำานวยต่อการพัฒนาประเทศ ช่วยให้ประเทศมีความเข้มแข็ง มีศักย์
ภาพในการแข่งขัน สามารถที่จะต้องสู้กับสภาวะแวดล้อมทางการ
เมืองเศรษฐกิจ และสังคม ทั้งนีแนวทางในการปรับการการบริหาร
                               ้
ราชการแผ่นดินให้มีประสิทธิภาพ ดังนี้

         1.           ปฏิรูประบบราชการให้มีประสิทธิภาพและมี
                      โครงสร้างที่กระชับ เหมาะสมกับ
                      สถานการณ์ในปัจจุบันและสามารถตอบ
                      สนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                      ของประเทศพร้อมทั้งเร่งตรากฎหมายเพื่อ
                      ปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เพื่อ
                      ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในกระแสโลก


                              70
ระบบบริหารราชการไทย


     และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง
     เศรษฐกิจและสังคม
2.   ปรับปรุงบทบาทของภาครัฐจากผู้ปฏิบัติ
     และควบคุมเป็นผู้สนับสนุนและอำานวยความ
     สะดวก และให้การสนับสนุนการดำาเนินงาน
     ของภาคเอกชนและประชาชน โดยส่งเสริม
     ให้เอกชนและประชาชนสามารถมีส่วนร่วม
     อย่างสำาคัญในการปฏิรูประบบราชการ เพื่อ
     วางแนวทางดำาเนินการให้ชดเจนและต่อ
                               ั
     เนื่อง
3.   ปรับกระบวนการบริหารราชการโดยใช้
     เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ประชาชน
     ได้รับบริการข้อมูลข่าวสารอย่างกว้างขวาง
     รวดเร็ว และเท่าเทียมกัน พร้อมกันนี้จะ
     ปรับปรุงพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสาร
     ของทางราชการให้สอดคล้องกับความ
     ต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง
4.   เร่งพัฒนาคุณภาพของข้าราชการ ให้มี
     ทัศนคติที่เอื้อต่องานการบริการประชาชน
     รวมทั้ง ทบทวนกฎหมาย ระเบียบ ขั้น
     ตอน และวิธีปฏิบัติงาน เพื่อให้การบริการ
     ราชการมีความยึดหยุ่นมี ประสิทธิผล
     โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีการประเมิน
     ผลที่เป็นระบบและเป็นธรรม
5.   เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนจัดทำาและ
     จัดสรรงบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการ
     จัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ
     สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ใน
     การพัฒนาประเทศส่งเสริมให้กระทรวง


            71
ระบบบริหารราชการไทย


                        ทบวง กรมมีบทบาทในการตัดสินใจมาก
                        ขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มีระบบควบคุมตรวจสอบ
                        ที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส

กรอบทิศทางและจุดเน้นในการปฏิรูประบบราชการ
           จากกรอบความคิดในแผนแม่บทการปฏิรูประบบราชการ
และแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐตลอดจนหลักวิชาการที่เป็นสากล
จะเห็นว่า การปฏิรูประบบราชการเป็นงานที่ต้องกระทำาอย่างเป็น
ระบบ จึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรมและทันการณ์ ซึ่ง
สำาหรับประเทศไทยมีเรื่องใหญ่ๆ ทีต้องการดำาเนินงานในชั้นแรกเพื่อ
                                     ่
เป็นตัวเร่งหรือขับเคลื่อนสำาคัญที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น
ลูกโซ่ มี 5 เรื่องนั่นคือ
           1.ขจัดภารกิจที่ไม่จำาเป็นให้ความสำาคัญต่อการกำาหนด
บทบาทภารกิจหลักให้ชัดเจนเพื่อปรับระบบและโครงสร้างราชการให้
มีเอกภาพ ชัดเจน มีขนาดที่เหมาะสม แต่มีประสิทธิภาพสูง
           2. ปรับปรุงระบบการบริหารงานของหน่วยงานในระดับ
ต่างๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรมและสามารถตรวจสอบได้
           3.ปรับแนวทางและวิธีการบริหารงบประมาณโดยให้เน้น
นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาของรัฐเป็นตัวกำาหนดเพื่อใช้ระบบ
งบประมาณแนวใหม่เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ
           4.จัดระบบการบริหารบุคคลและเงินเดือนค่าตอบแทนของ
ระบบราชการใหม่เพื่อสร้าง               ข้าราชการมืออาชีพและเป็นก
ลางทางการเมืองสร้างกลไกการส่งเสริมให้คนมีคุณภาพสูงมารับ
ราชการเป็นอาชีพ การบำารุงขวัญกำาลังใจเพื่อให้ราชการปฏิบัติหน้าที่
ด้วยความซื่อสัตย์และสร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม
           5.ปรับระบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนและเปิดโอกาสให้           ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการกระบวน
การตัดสินใจและการตรวจสอบงานภาครัฐมากขึ้น



                               72
ระบบบริหารราชการไทย


          6. ปรับระบบราชการให้เป็น (Net Govenment) คือมี
โครงสร้าง บทบาทภาระหน้าที่และระบบการบริหารราชการที่เหมาะ
สมกับความต้องการของประเทศและประชาชนโดยใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาขับเคลื่อนทรัพยากรและความรู้ความ
สามารถของทุกหน่วยงานรัฐให้ทำางานร่วมกันในการแก้ปัญหา การให้
บริการประชาชนและให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสาร        (People
& User Frindly) ทังนี้การแก้ไขปัญหาจะมองปัญหาในมุมมองของ
                    ้
ประชาชน ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะทำาให้ประชาชนได้รับบริการของรัฐใน
แบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว (One Stop Service) ประชาชนเข้ามาใช้
บริการได้ง่ายสะดวก
          7. สร้างพันธกิจขอระบบบริหารภาครัฐแนวใหม่โดยทำาลาย
ลด ละ เลิกสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ล้าสมัยหมดความจำาเป็น หรือซำ้า
ซ้อนกับงานที่ของหน่วยงานทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาค
ประชาชนและรักษาสิ่งดีของภาครัฐที่มีอยู่ไว้รวมทั้งนำาส่วนดีของภาค
เอกชนมาเพิ่มเติมในการปรับปรุงงานภาครัฐ
          8. มุงเน้นการทำางานแบบ (Network) เปลี่ยนระบบการ
               ่
ทำางานจากตาม (Function) มาเป็นการทำางานตาม (Objective)
และ (Result -Out) ตลอดจนปรับระบบการทำางานให้สั้น กะทัดรัด
รวดเร็ว และโปร่งใส
          9. พัฒนาข้าราชการให้เป็นมืออาชีพรวมทั้งปรับกระบวน
ทัศน์ราชการให้คิดแบบ      (Outside - In) คือการคิดโดยเอาเองผล
ประโยชน์ของประเทศชาติ ประชาชนเป็นที่ตงก่อนประโยชน์ของ
                                           ั้
หน่วยงาน มิใช่เป็นการคิดแบบ (Inside - Out) อย่างเดียว
          10. ปรับโครงสร้างและบทบาทของรัฐใหม่ รวมปรับปรุง
สังคายนากฎหมายกฎระเบียบให้ทันสมัยมีน้อยแต่ชัดเจน นอกจาก
นั้นแล้วจะปรับระบบการบริหารบุคคลให้ทันโลกปรับเงินเดือน
ข้าราชการให้ทันตลาดเพื่อให้ได้มืออาชีพเข้ามาบริหารราชการ
          11. สร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบราชการให้เกิดขึ้นอย่าง
กว้างขวางการปฏิรูประบบราชการจำาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วม


                               73
ระบบบริหารราชการไทย


แรง ร่วมใจจากกลุ่มบุคคลหลายฝ่ายการปฏิรูประบบราชการจะไม่มี
โอกาสสอดพบกับความสำาเร็จได้อย่างแท้จริง หากการปฏิรูปดำาเนิน
การโดยกลุ่มคนเพียงบางกลุ่ม การสร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบ
ราชการจะต้องสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมลงไปถึงระดับรากหญ้าของ
สังคม
            12. สร้างกระแสการยอมรับในระบบราชการ เพื่อให้
ข้าราชการมีทัศนคติที่ยอมรับต่อความเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับ
แนวทางและวิธีการกระตุ้นเร่งเร้าเพื่อให้เกิดการยอมรับการปฏิรูป
ระบบราชการ โดยจะต้องสร้างระบบให้เห็นผลกระทบในเชิงลบ และ
เสนอข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา เพื่อให้เกิดความตระหนักร่วม
กันในการปฏิรูประบบราชการ
            13. มีกฎหมายการปฏิรูประบบราชการไว้เป็นการเฉพาะ
เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างแท้จริง กฎหมายดังกล่าวจะมีความ
สำาคัญต่อการปฏิรูประบบราชการเป็นอย่างยิ่งและเป็นเครื่องมือที่จะ
นำามาใช้ในแง่มุมของการบังคับเพื่อให้เกิดการปฏิรูป โดยสามารถนำา
มาใช้เป็นเครื่องมือของการบริหารจัดการ เป็นกลไกในการสร้างพลัง
ขับเคลื่อน รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือการตรวจสอบผลการดำาเนินงาน
ของฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำา ตลอดจนเป็นเครื่องมือของ
ประชาชนในการกำาหนดเป้าหมาย การติดตามและการสนับสนุนการ
ดำาเนินงานได้อีกทางหนึง  ่
            14. มีการนำาเสนอปัญหาและความจำาเป็นในการปฏิรูป
อย่างรุนแรง เพื่อกระตุ้นให้สังคมมองเห็นความสำาคัญและความ
จำาเป็นที่จะต้องปฏิรูประบบราชการอย่างจริงจัง พร้อมทั้งมีการจัด
ลำาดับความสำาคัญของปัญหาเร่งด่วนที่จะต้องดำาเนินการให้เห็นอย่าง
ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการระดมสรรพกำาลังและทรัพยากรการ
บริหารทุกด้านเข้าไปดำาเนินการ
            15. การทำางานในเชิงรุก (Pro - Active) ให้มากขึ้น
และเน้นการสร้างความร่วมระหว่างผู้กำาหนดนโยบายกับกลุ่มเป้า
หมายที่ต้องการผลักดันให้การเปลี่ยนแปลงรวมทั้งการพัฒนาและการ


                              74
ระบบบริหารราชการไทย


เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะให้เกิดผลในการปฏิรูประบบราชการควรจะ
ต้องมีการศึกษา (Research) เพื่อเป็น รากฐานสนับสนุนความคิด
ในการเปลี่ยนแปลงนั้นด้วย

กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
           ยุทธศาสตร์ในการปฏิรูประบบราชการ 4 ประการ คือ
           1. จัดโครงสร้างหน่วยงานภาคราชการให้มีขนาดกะทัดรัด
คล่องตัวมีผู้รับผิดชอบการบริหารงานและผลงานตามแบบบทบาท
ภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน
           2. จัดระบบงบประมาณและวิธีการงบประมาณให้เป็นงบ
ประมาณเชิงยุทธศาสตร์
           3. สร้างระบบการทำางานที่สั้น รวดเร็ว และมีผู้รับผิดชอบ
ที่ชัดเจนวัดผลงานได้ โดยใช้เงินเดือนค่าตอบแทนตามผลงาน
(Performance Based Incentive) สร้างระบบสรรหาแต่งตังบุคลากร
                                                         ้
ของราชการได้ โปร่งใสและเป็นธรรม
           4. ปรับปรุงกลไกการทำางานของหน่วยราชการให้มี
ประสิทธิภาพและสามารถแข่งขันกับ หน่วยงานประเภทเดียวกันได้
และข้าราชการจะต้องปรับทัศนคติและกรอบความคิดใหม่ให้เป็นผู้ที่
ทำางานที่มีมาตรฐานในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม




                                75
ระบบบริหารราชการไทย




กิจกรรมท้ายบท




                76

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง Taraya Srivilas
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการSaiiew
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการอ๊อฟแอ๊บ รปศ
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดีหลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดีDr.Choen Krainara
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงTanterm Thebest
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองTaraya Srivilas
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 

What's hot (20)

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดีหลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 

Similar to บริหารราชการไทย 6

เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราguest4439f1
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園honan4108
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติLink Standalone
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยwanna2728
 
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40Pattie Pattie
 

Similar to บริหารราชการไทย 6 (20)

เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
Administrative reform
Administrative reformAdministrative reform
Administrative reform
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทท่ี 1
บทท่ี 1บทท่ี 1
บทท่ี 1
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
 
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจPlan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
 
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจPlan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
 
Research pathway
Research pathwayResearch pathway
Research pathway
 
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40
 

More from Saiiew

บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai BureaucracySaiiew
 

More from Saiiew (7)

บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 

บริหารราชการไทย 6

  • 1. ระบบบริหารราชการไทย บทที่ 6 ทิศทาง หรือ แนวโน้มของการบริหารราชการไทย ในการพิจารณาถึงทิศทางของการบริหารราชการไทย โดยทั่วไปจะยึดเป็นแนวทางแห่งรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นหลัก ในส่วนของรัฐธรรมนูญนั้น ได้ มีการบัญญัติถึงแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐไว้ในหมวดหนึ่งของ รัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยบทบัญญัติที่กำาหนดภารกิจของรัฐไว้อย่าง ชัดเจน เช่น การบัญญัติว่ารัฐจะต้องให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น ตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนใน ท้องถิ่น เป็นต้น(สุโขทัยธรรมาธิราช,2548,351) สำาหรับประเทศไทยแล้วระบบราชการเป็นสถาบันที่มีความ สำาคัญต่อการดำารงอยู่ของรัฐช่วยพัฒนาประเทศให้มความเจริญ ี ก้าวหน้า ระบบราชการจึงเป็นกลไกการบริหารงานที่ทุกรัฐบาลที่เข้า มาบริหารราชการแผ่นดินให้ความสำาคัญ โดยกำาหนดไว้ในนโยบาย การปรับปรุงระบบการบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพจะเอื้อ อำานวยต่อการพัฒนาประเทศ ช่วยให้ประเทศมีความเข้มแข็ง มีศักย์ ภาพในการแข่งขัน สามารถที่จะต้องสู้กับสภาวะแวดล้อมทางการ เมืองเศรษฐกิจ และสังคม ทั้งนีแนวทางในการปรับการการบริหาร ้ ราชการแผ่นดินให้มีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. ปฏิรูประบบราชการให้มีประสิทธิภาพและมี โครงสร้างที่กระชับ เหมาะสมกับ สถานการณ์ในปัจจุบันและสามารถตอบ สนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศพร้อมทั้งเร่งตรากฎหมายเพื่อ ปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เพื่อ ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในกระแสโลก 70
  • 2. ระบบบริหารราชการไทย และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจและสังคม 2. ปรับปรุงบทบาทของภาครัฐจากผู้ปฏิบัติ และควบคุมเป็นผู้สนับสนุนและอำานวยความ สะดวก และให้การสนับสนุนการดำาเนินงาน ของภาคเอกชนและประชาชน โดยส่งเสริม ให้เอกชนและประชาชนสามารถมีส่วนร่วม อย่างสำาคัญในการปฏิรูประบบราชการ เพื่อ วางแนวทางดำาเนินการให้ชดเจนและต่อ ั เนื่อง 3. ปรับกระบวนการบริหารราชการโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ประชาชน ได้รับบริการข้อมูลข่าวสารอย่างกว้างขวาง รวดเร็ว และเท่าเทียมกัน พร้อมกันนี้จะ ปรับปรุงพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสาร ของทางราชการให้สอดคล้องกับความ ต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง 4. เร่งพัฒนาคุณภาพของข้าราชการ ให้มี ทัศนคติที่เอื้อต่องานการบริการประชาชน รวมทั้ง ทบทวนกฎหมาย ระเบียบ ขั้น ตอน และวิธีปฏิบัติงาน เพื่อให้การบริการ ราชการมีความยึดหยุ่นมี ประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีการประเมิน ผลที่เป็นระบบและเป็นธรรม 5. เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนจัดทำาและ จัดสรรงบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการ จัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ใน การพัฒนาประเทศส่งเสริมให้กระทรวง 71
  • 3. ระบบบริหารราชการไทย ทบวง กรมมีบทบาทในการตัดสินใจมาก ขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มีระบบควบคุมตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส กรอบทิศทางและจุดเน้นในการปฏิรูประบบราชการ จากกรอบความคิดในแผนแม่บทการปฏิรูประบบราชการ และแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐตลอดจนหลักวิชาการที่เป็นสากล จะเห็นว่า การปฏิรูประบบราชการเป็นงานที่ต้องกระทำาอย่างเป็น ระบบ จึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรมและทันการณ์ ซึ่ง สำาหรับประเทศไทยมีเรื่องใหญ่ๆ ทีต้องการดำาเนินงานในชั้นแรกเพื่อ ่ เป็นตัวเร่งหรือขับเคลื่อนสำาคัญที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น ลูกโซ่ มี 5 เรื่องนั่นคือ 1.ขจัดภารกิจที่ไม่จำาเป็นให้ความสำาคัญต่อการกำาหนด บทบาทภารกิจหลักให้ชัดเจนเพื่อปรับระบบและโครงสร้างราชการให้ มีเอกภาพ ชัดเจน มีขนาดที่เหมาะสม แต่มีประสิทธิภาพสูง 2. ปรับปรุงระบบการบริหารงานของหน่วยงานในระดับ ต่างๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรมและสามารถตรวจสอบได้ 3.ปรับแนวทางและวิธีการบริหารงบประมาณโดยให้เน้น นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาของรัฐเป็นตัวกำาหนดเพื่อใช้ระบบ งบประมาณแนวใหม่เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ 4.จัดระบบการบริหารบุคคลและเงินเดือนค่าตอบแทนของ ระบบราชการใหม่เพื่อสร้าง ข้าราชการมืออาชีพและเป็นก ลางทางการเมืองสร้างกลไกการส่งเสริมให้คนมีคุณภาพสูงมารับ ราชการเป็นอาชีพ การบำารุงขวัญกำาลังใจเพื่อให้ราชการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซื่อสัตย์และสร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม 5.ปรับระบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและเปิดโอกาสให้ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการกระบวน การตัดสินใจและการตรวจสอบงานภาครัฐมากขึ้น 72
  • 4. ระบบบริหารราชการไทย 6. ปรับระบบราชการให้เป็น (Net Govenment) คือมี โครงสร้าง บทบาทภาระหน้าที่และระบบการบริหารราชการที่เหมาะ สมกับความต้องการของประเทศและประชาชนโดยใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาขับเคลื่อนทรัพยากรและความรู้ความ สามารถของทุกหน่วยงานรัฐให้ทำางานร่วมกันในการแก้ปัญหา การให้ บริการประชาชนและให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสาร (People & User Frindly) ทังนี้การแก้ไขปัญหาจะมองปัญหาในมุมมองของ ้ ประชาชน ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะทำาให้ประชาชนได้รับบริการของรัฐใน แบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว (One Stop Service) ประชาชนเข้ามาใช้ บริการได้ง่ายสะดวก 7. สร้างพันธกิจขอระบบบริหารภาครัฐแนวใหม่โดยทำาลาย ลด ละ เลิกสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ล้าสมัยหมดความจำาเป็น หรือซำ้า ซ้อนกับงานที่ของหน่วยงานทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาค ประชาชนและรักษาสิ่งดีของภาครัฐที่มีอยู่ไว้รวมทั้งนำาส่วนดีของภาค เอกชนมาเพิ่มเติมในการปรับปรุงงานภาครัฐ 8. มุงเน้นการทำางานแบบ (Network) เปลี่ยนระบบการ ่ ทำางานจากตาม (Function) มาเป็นการทำางานตาม (Objective) และ (Result -Out) ตลอดจนปรับระบบการทำางานให้สั้น กะทัดรัด รวดเร็ว และโปร่งใส 9. พัฒนาข้าราชการให้เป็นมืออาชีพรวมทั้งปรับกระบวน ทัศน์ราชการให้คิดแบบ (Outside - In) คือการคิดโดยเอาเองผล ประโยชน์ของประเทศชาติ ประชาชนเป็นที่ตงก่อนประโยชน์ของ ั้ หน่วยงาน มิใช่เป็นการคิดแบบ (Inside - Out) อย่างเดียว 10. ปรับโครงสร้างและบทบาทของรัฐใหม่ รวมปรับปรุง สังคายนากฎหมายกฎระเบียบให้ทันสมัยมีน้อยแต่ชัดเจน นอกจาก นั้นแล้วจะปรับระบบการบริหารบุคคลให้ทันโลกปรับเงินเดือน ข้าราชการให้ทันตลาดเพื่อให้ได้มืออาชีพเข้ามาบริหารราชการ 11. สร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบราชการให้เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางการปฏิรูประบบราชการจำาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วม 73
  • 5. ระบบบริหารราชการไทย แรง ร่วมใจจากกลุ่มบุคคลหลายฝ่ายการปฏิรูประบบราชการจะไม่มี โอกาสสอดพบกับความสำาเร็จได้อย่างแท้จริง หากการปฏิรูปดำาเนิน การโดยกลุ่มคนเพียงบางกลุ่ม การสร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบ ราชการจะต้องสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมลงไปถึงระดับรากหญ้าของ สังคม 12. สร้างกระแสการยอมรับในระบบราชการ เพื่อให้ ข้าราชการมีทัศนคติที่ยอมรับต่อความเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับ แนวทางและวิธีการกระตุ้นเร่งเร้าเพื่อให้เกิดการยอมรับการปฏิรูป ระบบราชการ โดยจะต้องสร้างระบบให้เห็นผลกระทบในเชิงลบ และ เสนอข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา เพื่อให้เกิดความตระหนักร่วม กันในการปฏิรูประบบราชการ 13. มีกฎหมายการปฏิรูประบบราชการไว้เป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างแท้จริง กฎหมายดังกล่าวจะมีความ สำาคัญต่อการปฏิรูประบบราชการเป็นอย่างยิ่งและเป็นเครื่องมือที่จะ นำามาใช้ในแง่มุมของการบังคับเพื่อให้เกิดการปฏิรูป โดยสามารถนำา มาใช้เป็นเครื่องมือของการบริหารจัดการ เป็นกลไกในการสร้างพลัง ขับเคลื่อน รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือการตรวจสอบผลการดำาเนินงาน ของฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำา ตลอดจนเป็นเครื่องมือของ ประชาชนในการกำาหนดเป้าหมาย การติดตามและการสนับสนุนการ ดำาเนินงานได้อีกทางหนึง ่ 14. มีการนำาเสนอปัญหาและความจำาเป็นในการปฏิรูป อย่างรุนแรง เพื่อกระตุ้นให้สังคมมองเห็นความสำาคัญและความ จำาเป็นที่จะต้องปฏิรูประบบราชการอย่างจริงจัง พร้อมทั้งมีการจัด ลำาดับความสำาคัญของปัญหาเร่งด่วนที่จะต้องดำาเนินการให้เห็นอย่าง ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการระดมสรรพกำาลังและทรัพยากรการ บริหารทุกด้านเข้าไปดำาเนินการ 15. การทำางานในเชิงรุก (Pro - Active) ให้มากขึ้น และเน้นการสร้างความร่วมระหว่างผู้กำาหนดนโยบายกับกลุ่มเป้า หมายที่ต้องการผลักดันให้การเปลี่ยนแปลงรวมทั้งการพัฒนาและการ 74
  • 6. ระบบบริหารราชการไทย เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะให้เกิดผลในการปฏิรูประบบราชการควรจะ ต้องมีการศึกษา (Research) เพื่อเป็น รากฐานสนับสนุนความคิด ในการเปลี่ยนแปลงนั้นด้วย กระบวนการปฏิรูประบบราชการ ยุทธศาสตร์ในการปฏิรูประบบราชการ 4 ประการ คือ 1. จัดโครงสร้างหน่วยงานภาคราชการให้มีขนาดกะทัดรัด คล่องตัวมีผู้รับผิดชอบการบริหารงานและผลงานตามแบบบทบาท ภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน 2. จัดระบบงบประมาณและวิธีการงบประมาณให้เป็นงบ ประมาณเชิงยุทธศาสตร์ 3. สร้างระบบการทำางานที่สั้น รวดเร็ว และมีผู้รับผิดชอบ ที่ชัดเจนวัดผลงานได้ โดยใช้เงินเดือนค่าตอบแทนตามผลงาน (Performance Based Incentive) สร้างระบบสรรหาแต่งตังบุคลากร ้ ของราชการได้ โปร่งใสและเป็นธรรม 4. ปรับปรุงกลไกการทำางานของหน่วยราชการให้มี ประสิทธิภาพและสามารถแข่งขันกับ หน่วยงานประเภทเดียวกันได้ และข้าราชการจะต้องปรับทัศนคติและกรอบความคิดใหม่ให้เป็นผู้ที่ ทำางานที่มีมาตรฐานในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม 75