SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ระบบบริหารราชการไทย


บทที่ 4
การปฏิรูประบบราชการ

        ระบบราชการไทยเป็นระบบที่มีการสืบทอดกันมายาวนานหลาย
ร้อยปีเป็นกลไกหลักในการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งภารกิจที่สำาคัญ
ยิ่ ง ในการบริ ห ารประเทศ คื อ การก่ อ ตั้ ง และปฏิ รู ป           การจั ด
ระเบียบการปกครองภายในประเทศ ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นต่อระบบ
บริห ารราชการของไทย          ซึ่ ง เป็ น ระบบที่ มี อ ายุ ย าวนานและมี ก าร
เปลี่ยนแปลงแบบช้าๆ ระบบราชการไทยจึงมีปัญหาที่สั่ง สมไว้มาก
ปั      ญ   ห      า   ที่   สำา           คั     ญ        มี  ดั  ง      นี้

ปั   ญ    ห า ข อ ง ร ะ บ บ ร า ช ก า ร
          1. ปัญหาเรื่องการทุจริตและพฤติมิชอบในวงราชการ เป็น
ปัญหาหลักและเรื้อรังที่สะสมมานาน ไม่อาจแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว
และเบ็ดเสร็จ ทำาให้ภาพลักษณ์ของระบบราชการไทยติดอยู่กับ
ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นอย่างแยกไม่ออก การปฏิรูประบบราชการ
จึงเป็นมาตรการสำาคัญที่จะช่วยแก้ไขปัญหานี้ให้น้อยลงหรือหมดไป
ในที่สุด
          2.    ปัญหาเรื่องขนาดของระบบราชการไทย ระบบ
ราชการไทยมีโครงสร้างของส่วนราชการที่มีขนาดใหญ่ ซับซ้อน มี
อัตรากำาลังข้าราชการเป็นจำานวนมากทำาให้ระบบราชการมีระบบการ
บริหารงานที่ไม่คล่องตัว ประสบกับปัญหาด้านค่าใช้จ่ายบุคลากรที่มี
แนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ก่อให้เกิดภาระด้านงบประมาณอย่างไม่สิ้นสุด
และมีผลกระทบต่องบประมาณในการพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ อย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความจำาเป็นของรัฐในการปฏิรูประบบราชการเพื่อ
แก้ไขปัญหานี้ จึงเป็นปัญหาที่ต้องเร่งรัดดำาเนินการ
          3. ปัญหาเรื่องประสิทธิภาพในการบริหารราชการ ระบบ
ราชการไทยถูกวิพากษ์วิจารณ์ถึงประสิทธิภาพการบริหารงานอยู่เสมอ
เมื่อเทียบกับการบริหารงานในภาคเอกชนการบริหารงานราชการที่


                                     55
ระบบบริหารราชการไทย


ผ่านมาส่วนใหญ่ไม่มีการประเมินผลการปฏิบัติงานว่างานนั้นมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพียงใด ขาดตัว ชี้วัดในการดำาเนิน
งาน ทำาให้ไม่สามารถวิเคราะห์ถึงความคุ้มทุนและผลสัมฤทธิ์ของ
การดำาเนินงานของส่วน        ราชการได้อย่างชัดเจน แต่โดยที่
ประชาชนต้องการได้รับบริการสาธารณะจากรัฐที่มีประสิทธิภาพ     มี
คุณภาพ รวดเร็ว ความคาดหวังของประชาชนโดยทั่วไปจึงต้องการ
เห็นภาพลักษณ์ใหม่ของระบบราชการไทยในแนวทางดังกล่าว จึง
นับเป็นปัจจัยสำาคัญประการหนึ่งที่แสดงเห็นถึงเหตุผล และความ
จำาเป็นของการปฏิรูประบบราชการเพื่อแก้ปัญหาในด้านประสิทธิภาพ
ของการให้บริการประชาชน
           4. ปัญหาการบริงานแบบรวมศูนย์อำานาจ กล่าวคือ
ราชการบริหารสาวนกลาง ซึงได้แก่กระทรวง ทบวง กรม มีความ
                             ่
เข้มแข็ง การบริหารงานและการตัดสินใจมีลักษณะรวมศูนย์ไว้ที่ส่วน
กลางทั้งหมด แม้ว่าจะมีการมอบอำานาจการบริหารงานให้กับราชการ
ส่วนภูมิภาคก็ตาม แต่การบริหารงานของราชการส่วนภูมิภาคก็ยังไม่
สามารถใช้อำานาจเด็ดขาดหรือมีความอิสระในการตัดสินใจได้มากนัก
ยังต้องยึดนโยบายจากส่วนกลางเป็นหลัก ทรัพยากรการบริหารส่วน
ใหญ่จึงขึ้นอยู่กับการจัดสรรจากส่วนกลาง
           5. ปัญหาโครงสร้างส่วนราชการที่ไม่คล่องตัว โครงสร้าง
การบริหารงานภาครัฐในปัจจุบันมีลักษณะที่ไม่ยึดหยุ่น ขาดความ
คล่องตัว การบริหารยึดติดกับกรอบตามอำานาจหน้าที่ที่กฎหมาย
กำาหนดเป็นหลัก ทำาให้การบริหารไม่สอดคล้องกับกระแสความ
เปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
องค์กรทำาได้ไม่คล่องตัว และเนื่องจากโครงสร้างองค์กรมีขนาดใหญ่
ทำาให้การปรับรื้อต้องใช้ระยะเวลาพอสมควรในการดำาเนินการ
           6. ปัญหากฎระเบียบ เทคโนโลยีและวิธีงานไม่ทันสมัย
การบริหารงานภาครัฐเป็น         บริหารงานโดยยึดโยงกับกฎหมายและ
ระเบียบต่างๆ เป็นจำานวนมาก กฎระเบียบบางเรื่องเป็นอุปสรรคต่อ
การบริหารงานภาครัฐและไม่ทันสมัย นอกจากนั้นเทคโนโลยีต่างๆ


                              56
ระบบบริหารราชการไทย


ที่นำามาใช้ในระบบราชการยังขาด ความทันสมัย เมื่อเทียบกับการ
ดำาเนินงานของภาคเอกชนตลอดจนการบริหารงานภายใต้ระบบ
ราชการเป็นการบริหารที่ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด
การบริหารงานให้ความสำาคัญกับกระบวนการมากกว่า เป้าหมายทำาให้
การบริหารงานขาดความคล่องตัว
             7. ปัญหากำาลังคนภาครัฐไม่มีคณภาพ กำาลังคนภาครัฐ
                                          ุ
ที่มีอยู่ในระบบราชการปัจจุบันส่วนใหญ่ยังขาดคุณภาพและมีความ
จำาเป็นต้องได้รับการพัฒนาในหลายๆ ด้านอย่างเร่งด่วน กำาลังส่วน
ใหญ่ยังขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และยึดติดกับการทำางานระบบ
เดิม ทั้งนี้อาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากความ มั่นคงในระบบราชการ
ทำาให้กำาลังคนภาครัฐขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน
เนื่องจากอยู่ในสถานะของตำาแหน่งที่มีเสถียรภาพและมั่นคงค่อนข้าง
สูง
             8. ปัญหาค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ไม่เหมาะสม
ข้าราชการเป็นกลุ่มบุคคลที่มีรายได้และ       ค่าตอบแทนค่อนข้างตำ่า
เมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลกลุ่มอื่นๆ  ที่ปฏิบัติงานในภาคต่างๆ
ทั้งนี้ เนื่องจากภาคราชการเป็นองค์กรขนาดใหญ่ ทำาให้การปรับปรุง
ค่าตอบแทนและสวัสดิการทำาได้ค่อนข้างลำาบาก เนื่องจากภาครัฐ
ต้องใช้งบประมาณดำาเนินการเป็นจำานวนมากรวมถึงค่าตอบแทนที่ได้
รับไม่สอดคล้องกับกลไกตลาด ทำาให้รายได้ของข้าราชการอยู่ใน
ระดับตำ่าและไม่สัมพันธ์กับภาวะค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้นอยู่ตลอดเวลา
             9.  ปัญหาทัศนคติและค่านิยมดั้งเดิม ระบบราชการเป็น
ระบบที่ให้ความสำาคัญกับลำาดับชั้นของการบังคับบัญชา ทำาให้
ราชการไม่กล้าแสดงความคิดเห็นเท่าที่ควร รวมทั้งการต้องเคารพใน
ระบบอาวุโสของการทำางานทำาให้ราชการรุ่นใหม่ไม่สามารถแสดง
ศักยภาพในการทำางานได้อย่างเต็มที่      ทัศนคติและค่านิยมดั้งเดิม
ในภาคราชการดังกล่าวจึงไม่เปิดโอกาสให้มีการส่งเสริมคนเก่ง คนดี
คนมีความรู้และความสามารถ ได้ใช้โอกาสในการแสดงศักยภาพการ
ทำางานได้อย่างเต็มทีเท่าที่ควร ตลอดจนข้าราชการมักจะเคยชินกับ
                     ่


                                57
ระบบบริหารราชการไทย


ระบบรัยคำาสั่งและนำามาปฏิบัติมากกว่าที่จะคิดริเริ่มและสร้างสรรค์
รวมทั้งขาดความกล้าหาญที่จะโต้แย้งเมื่อเห็นว่าคำาสั่งนั้นไม่ถูกต้อง
หรือการปฏิบัติงานนั้นไม่เหมาะสมที่จะปฏิบัติ
          ปัญหาที่กล่าวมานั้นอาจกล่าวได้ว่าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อ
ระบบราชการไทยนับแต่อดีต จวบจนกระทั่งปัจจุบัน ซึ่ง พระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เล็งเห็นและดำาเนินการปฏิรูป
การบริหารราชการแผ่นดิน ในยุคแรกซึ่งเป็นแนวทางของการปฏิรูป
ระบบราชการในปัจจุบันด้วย

ก า ร ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ใ น ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ
จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว
มี ก า ร ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ใ น รู ป แ บ บ ดั ง นี้ คื อ
           1. การปฏิรูปการบังคับบัญชางานภายในกระทรวง ให้มีรูป
แบบเป็ น ระบบราชการชั ด เจนขึ้ น มี ลำา ดั บ ขั้ น การบั ง คั บ บั ญ ชามี ก าร
แบ่งงานและเลือกสรรผู้มีความรู้ความสามารถเข้ารับราชการ โดยการ
จัดสอบคัดเลือกตลอดจนออกระเบียบวินัยต่าง ๆ เช่น เลิกประเพณีให้
ข้าราชการทำางานอยู่         ที่บ้าน กำาหนดให้มีการประชุมข้าราชการทุก
วัน กำาหนดเวลาการทำางาน ตลอดจนจัดระเบียบ                       ส่งร่าง เขียน
แ ล ะ เ ก็ บ ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร                      เ ป็ น ต้ น

            2. การปฏิรูประบบการปกครองส่วนภูมิภาค
     ซึ่งเรียกว่า"ระบบเทศาภิบาล"ได้เป็นผลสำาเร็จและนับว่าเป็นผล
งานสำา คัญที่สุดของพระองค์โ ดยทรงรวมหัวเมืองต่าง ๆ จัดเข้าเป็น
"มณฑล" และมี "ข้าหลวงเทศาภิบาล" เป็นผู้บังคับบัญชาแต่อยู่ใน
อำานาจของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย                      อีกชั้นหนึ่งสำาหรับ
การแบ่ ง เขตย่ อ ยลงไปเป็ น จั ง หวั ด อำา เภอ ตำา บลและหมู่ บ้ า นนั้ น
ในร.ศ.116               (พ.ศ. 2440) ได้ออก"พระราชบัญญัติลักษณะ
การปกครองท้องที่บังคับใช้ทั่ว พระราชอาณาจักร พระกรณียกิจที่



                                      58
ระบบบริหารราชการไทย


ล้ วนเป็ นคุ ณประโยชน์แ ก่ป ระเทศชาติ แ ละประชาชนยั่ ง ยื น มาจนถึ ง
ปั         จ       จุ         บั      น

การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
           ในการพิจารณาถึงทิศทางของการบริหารราชการไทย
โดยทั่วไปจะยึดเป็นแนวทางแห่งรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นหลัก ในส่วนของรัฐธรรมนูญนัน ได้
มีการบัญญัติถึงแนวนโบายพื้นฐานแห่งรัฐไว้ในหมวดหนึ่งของ
รัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยบทบัญญัติที่กำาหนดภารกิจของรัฐไว้อย่าง
ชัดเจน เช่น การบัญญัติว่ารัฐจะต้องให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น
ตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนใน
ท้องถิ่น เป็นต้น(สุโขทัยธรรมาธิราช,2548,351)
           สำาหรับประเทศไทยแล้วระบบราชการเป็นสถาบันที่มีความ
สำาคัญต่อการดำารงอยู่ของรัฐช่วยพัฒนาประเทศให้มความเจริญ
                                               ี
ก้าวหน้า ระบบราชการจึงเป็นกลไกการบริหารงานที่ทุกรัฐบาลที่เข้า
มาบริหารราชการแผ่นดินให้ความสำาคัญ โดยกำาหนดไว้ในนโยบาย
การปรับปรุงระบบการบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพจะเอื้อ
อำานวยต่อการพัฒนาประเทศ ช่วยให้ประเทศมีความเข้มแข็ง มีศักย์
ภาพในการแข่งขัน สามารถที่จะต้องสู้กับสภาวะแวดล้อมทางการ
เมืองเศรษฐกิจ และสังคม ทั้งนีแนวทางในการปรับการการบริหาร
                                ้
ราชการแผ่นดินให้มีประสิทธิภาพ ดังนี้

          1.             ปฏิรูประบบราชการให้มีประสิทธิภาพและมี
                         โครงสร้างที่กระชับ เหมาะสมกับ
                         สถานการณ์ในปัจจุบันและสามารถตอบ
                         สนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                         ของประเทศพร้อมทั้งเร่งตรากฎหมายเพื่อ
                         ปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เพื่อ
                         ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในกระแสโลก


                                 59
ระบบบริหารราชการไทย


     และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง
     เศรษฐกิจและสังคม
2.   ปรับปรุงบทบาทของภาครัฐจากผู้ปฏิบัติ
     และควบคุมเป็นผู้สนับสนุนและอำานวยความ
     สะดวก และให้การสนับสนุนการดำาเนินงาน
     ของภาคเอกชนและประชาชน โดยส่งเสริม
     ให้เอกชนและประชาชนสามารถมีส่วนร่วม
     อย่างสำาคัญในการปฏิรูประบบราชการ เพื่อ
     วางแนวทางดำาเนินการให้ชดเจนและต่อ
                               ั
     เนื่อง
3.   ปรับกระบวนการบริหารราชการโดยใช้
     เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ประชาชน
     ได้รับบริการข้อมูลข่าวสารอย่างกว้างขวาง
     รวดเร็ว และเท่าเทียมกัน พร้อมกันนี้จะ
     ปรับปรุงพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสาร
     ของทางราชการให้สอดคล้องกับความ
     ต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง
4.   เร่งพัฒนาคุณภาพของข้าราชการ ให้มี
     ทัศนคติที่เอื้อต่องานการบริการประชาชน
     รวมทั้ง ทบทวนกฎหมาย ระเบียบ ขั้น
     ตอน และวิธีปฏิบัติงาน เพื่อให้การบริการ
     ราชการมีความยึดหยุ่นมี ประสิทธิผล
     โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีการประเมิน
     ผลที่เป็นระบบและเป็นธรรม
5.   เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนจัดทำาและ
     จัดสรรงบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการ
     จัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ
     สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ใน
     การพัฒนาประเทศส่งเสริมให้กระทรวง


            60
ระบบบริหารราชการไทย


                                ทบวง กรมมีบทบาทในการตัดสินใจมาก
                                ขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มีระบบควบคุมตรวจสอบ
                                ที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส

       แนวทางการปฏิรูประบบราชการคือ การให้บริการสาธารณะแก่
ประชาชนได้อย่างมี                    ประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการ
ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน และให้ประชาชนมี
ทางเลื อ กในการจั ด การเกี่ ย วกั บ บริ ก ารสาธารณะเพิ่ ม มากขึ้ น เพื่ อ
ให้การบริหารราชการเป็นกลไกของสังคมที่สามารถจัดองค์ประกอบ
ของสั ง คมให้ อ ยู่ ร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข สอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด
Good Governance ที่ เ ห็ น ว่ า การบริ ห ารราชการต้ อ งสามารถนำา พา
สังคมส่วนรวมให้มีการพัฒนาได้แบบยั่งยืน คือ ประชาชนมีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีมีโอกาสในการศึกษาที่ถูกต้องอย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกัน
โดยคนในสังคมจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมสร้างสรรค์และนำาพาสังคมให้
สันติสุข ภายใต้การแบ่งปันทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและไม่ทำา ลาย
ธ     ร      ร   ม        ช        า       ติ     แ    ว  ด     ล้     อ     ม

รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์
       การจั ด ระบบราชการให้ มี ค วามเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ
บริ บ ทของสั ง คมนั้ น เพื่ อ สามารถนำา พาสั ง คมให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายที่
วางแผนไว้ ซึ่งอาจไม่ มี ค วามจำา เป็ น ที่ ร ะบบราชการของทุ ก ประเทศ
ห รื อ ทุ ก ๆ สั ง ค ม ต้ อ ง มี รู ป แ บ บ ห รื อ ลั ก ษ ณ ะ เ ดี ย ว กั น ดั ง นี้

       1.ส ร้ า ง ค ว า ม เ ปิ ด เ ผ ย แ ล ะ โ ป ร่ ง ใ ส ใ ห้ กั บ ร ะ บ บ ร า ช ก า ร
         1.1 พัฒนากลไกการตรวจสอบให้มีประสิทธิภาพ เพื่อลด
ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นในวงราชการและเสริมสร้างจริยธรรมให้กับ
ข้าราชการและประชาชน อีกทังยังส่งเสริมให้ ประชาชนได้เข้ามามี
                                     ้
ส่วนร่วมในการตรวจสอบการทำางานของส่วนราชการอีกด้วย โดย
หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับ


                                          61
ระบบบริหารราชการไทย


ประชาชน เพื่อประชาชนจะได้รับทราบข้อมูล (data) ข่าวสาร
(message) และขั้นตอนการดำาเนินงานต่างๆ ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับ
การบริหารราชการและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้เพื่อสร้างความ
เข้าใจและสนใจแก่ประชาชนที่จะเข้ามาปกป้องพิทักษ์รักษาผล
ประโยชน์ของส่วนรวม
              ประชาชนจะเป็นกลไกที่สำาคัญและจะต้องอาศัยเครื่องมือที่มี
ประสิทธิภาพอันได้แก่ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ
ข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารป้ อ งกั น และปราบ
ปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ สื่ อ มวลชน องค์ ก รอิ ส ระ (NGO) ศาล
ปกครองและกระบวนการยุติธรรมเหล่านี้เป็นต้น
              1.2 การปรั บ ปรุ ง ระบบงบประมาณของแผ่ น ดิ น ให้ มี ค วาม
โปร่งใส ระบบงบประมาณถือเป็นส่วนสำาคัญในการพัฒนาประเทศและ
สั ง คม เพื่ อให้ การใ ช้ ง บประม าณ เป็ น ไ ปอย่ าง มี ประ สิ ท ธิ ภ า พ
(efficiency) ประสิทธิผล (effectiveness) ควรปรับเปลี่ยนวิธีการจัด
ทำางบประมาณและขั้นตอนการประมูลงานของส่วนราชการในแบบเดิม
มาเป็ น ระบบงบประมาณแบบใหม่ ที่ มุ่ ง เน้ น ผลงานแทนเพราะจะ
สามารถประเมินผลงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น และยังสามารถป้องกัน
การนำา เอางบประมาณของแผ่นดินไปแสวงหาประโยชน์ส่วนตนของ
ข้ า ร า ช ก า ร แ ล ะ นั ก ก า ร เ มื อ ง ไ ด้ อี ก ด้ ว ย
              1.3ความโปร่งใสในการกำา หนดนโยบายและการปฏิบัติตาม
                กฎหมายเป็ น ปั จ จั ย สำา คั ญ ในการสร้ า งความเป็ น ธรรมใน
                การให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนทุกคน ซึ่งจะส่งผล
                ให้เกิดความสงบเรียบร้อยและขจัดปัญหาความขัดแย้งใน
                สั ง ค ม ค ว า ม เ ป็ น ธ ร ร ม นี้ จ ะ ต้ อ ง เ ริ่ ม กั น ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ
                ปั จ เ จ ก บุ ค ค ล ร ะ ดั บ น โ ย บ า ย จ น ถึ ง ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ

        2. เพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมาก
          ขึ้                                               น



                                              62
ระบบบริหารราชการไทย


        พลเมื อ งของประเทศมี ค วามแตกต่ า งกั น ทั้ ง ด้ า นการศึ ก ษา
ฐานะทางเศรษฐกิจและ                             วัฒนธรรมของชุมชน การเพิ่มทาง
เลือกในการจัดการบริการสาธารณะให้กับประชาชนจึงมีความเหมาะ
สมกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ซึ่งสามารถกระทำา ได้ในหลาย
วิ              ธี                                        คื            อ
             2.1ส นั บ ส นุ น ใ ห้ มี ก า ร ก ร ะ จ า ย อำา น า จ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น
                สาธารณะให้กับท้องถิ่น                   เพื่อให้ประชาชนในแต่ละ
                ท้องถิ่นสามารถกำาหนดและเลือกวิถีชีวิตของตนเองได้อีก
                ทั้ง ยังเป็น              การปรั บ ลดขนาดของระบบราชการ
                ส่วนกลางอีกแบบหนึ่งเพราะการบริหารราชการในปัจจุบัน
                มีการผูกขาดอำานาจการให้บริหารสาธารณะไว้ที่ส่วนกลาง
                เป็ น หลั ก ทำา ให้ ป ระชาชนมี ท างเลื อ กได้ น้ อ ยในการรั บ
                บริการสาธารณะและส่วนราชการก็มีภาระหน้าที่มากเกิน
                ความจำาเป็นจึงขาดความคล่องตัวและประสิทธิภาพในการ
                ใ           ห้   บ          ริ      ก        า        ร
             การกระจายอำา นาจการบริหารงานสาธารณะให้กับท้องถิ่นก็
คื อ การเพิ่ ม บทบาท               หน้ า ที่ ข องราชการส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ แ ก่
องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำา บล                             เทศบาล
ให้ มี อิ ส ระในการกำา หนดนโยบาย การปกครอง การบริ ห าร การ
บริหารงานบุคคลและ                การเงินการคลังเป็นของตนเองเพิ่มมากขึ้น
โดยการปรั บ ลดบทบาทของราชการส่ ว นภู มิ ภ าคลง                                       คื อ
จังหวัดและอำาเภอและให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำาเภอเปลี่ยนมา
ทำา หน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ ป ระสานงานนโยบายระหว่ า งราชการส่ ว นกลางและ
ส่วนท้องถิ่นแทน ซึ่งจะต้องมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายการบริหาร
ร า ช ก า ร แ ผ่ น ดิ น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั น ทั้ ง ห ม ด
             2.2 ส่งเสริมการรวมตัวของประชาชนที่จะจัดทำากิจกรรมที่
เป็นประโยชน์แก่ชุมชนโดยจัดให้การศึกษาและอำานวยความสะดวก
สำาหรับการรวมกลุ่มทำากิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่                          ชุมชนเพราะ



                                           63
ระบบบริหารราชการไทย


ทำาให้ประชาชนได้มทางเลือกและเสริมสร้างความสามารถในการ
                      ี
จัดการปัญหาตนเองมากขึ้น
         2.3 การปรับลดขนาดของระบบราชการให้เล็กลงเพื่อให้
ประชาชนได้มีทางเลือกในการจัดการบริการสาธารณะได้มากขึ้น
ภาระหน้าที่อื่น ๆ ที่รัฐไม่จำาเป็นต้องดำาเนินการเองก็ควรปรับเปลี่ยน
บทบาทมาเป็นผู้ให้การสนับสนุนและกำากับดูแลแทน โดยให้เอกชน
เข้ามาแข่งขันกันในการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนอันมีกลไก
ตลาดเป็นตัวกำาหนด แต่ถ้าหากบริการในด้านใดที่รัฐฯคิดว่าไม่
สามารถใช้กลไกการตลาดได้ก็ควรมีหน่วยงานของรัฐเข้ามาควบคุม
ด้านคุณภาพ (quality) และราคา (regulate) ส่วนหน่วยงานราชการ
เดิมก็จะต้องแปรรูปไปตามความเหมาะสมกับลักษณะขององค์กรนั้น
ๆ ซึ่งจะสามารถเลือกทำาได้หลายวิธี เช่น
            1. ยุ บ เ ลิ ก ห น่ ว ย ง า น                             (abolish)
            2. การแปรรู ป หน่ ว ยงานของรั ฐ ให้ เ อกชนเข้ า มาแข่ ง ขั น
               ดำา เ นิ น ก า ร อ ย่ า ง เ ส รี (privatization)
            3. ก า ร ทำา สั ญ ญ า ว่ า จ้ า ง ใ ห้ เ อ ก ช น ม า ดำา เ นิ น ก า ร
               (contracting                                                 out)
            4. ป รั บ เ ป็ น อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร แ บ บ พิ เ ศ ษ (executive
               agency)
            5. เมื่อภาระหน้าที่ของรัฐลดลงและการบริการราชการไม่
               ซับซ้อนและมากเกินไป การให้บริการสาธารณะต่าง ๆ
               แ ก่ ป ร ะ ช า ช น ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ ก ร ะ ทำา ไ ด้ อ ย่ า ง มี
               ประสิทธิภาพ (efficiency) ยิ่งขึ้นโดยให้ส่วนราชการมี
               ภาระหน้าที่เฉพาะเท่าที่จำา เป็นเท่านั้นเพื่อรักษาความ
               สงบเรี ย บร้ อ ยและขจั ด ปั ญ หาข้ อ ขั ด แย้ ง ในสั ง คม




                                       64
ระบบบริหารราชการไทย


        3. ปรับปรุงการทำา งานของส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพมาก
             ยิ่                    ง                       ขึ้                       น
        โดยการปรั บ ขั้ น ตอนการทำา งาน โครงสร้ า งองค์ ก ร และการ
บริ ห ารงานบุ ค คล เพื่ อ ให้ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นการดำา เนิ น งานของ
องค์กรได้ทันต่อสภาพแวดล้อมของโลกปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง
อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ทั้ ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง
        ซึ่ ง ทำา ได้ โ ดยการวิ เ คราะห์ ร ะบบงานใหม่ เช่ น ระบบการไหล
เวี ย นของเอกสาร ระบบบั ญ ชี แ ละการเงิ น เป็ น ต้ น และนำา เอา
เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่มีความทันสมัยมาใช้ปรับปรุงการ
ทำา งาน สร้างพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับข้าราชการในการให้บริการ
แก่ ป ระชาชน โดยการอบรมให้ ข้ า ราชการให้ มี ค วามเข้ า ใจถึ ง เป้ า
หมายของการทำา งานมากกว่ายึดติดระเบียบขั้นตอนการปฏิ บัติงาน
         เพื่ อ ให้ เ ป็ น หลั ก ประกั น ให้ กั บ ข้ า ราชการที่ ต้ อ งการให้ บ ริ ก าร
ตามความประสงค์มากกว่ายึดติดกับกฎระเบียบและเป็นหลักประกัน
ให้กับประชาชนที่จะได้รับการบริการจากส่วนราชการอย่างเป็นธรรม
        ขณะเดียวกันยังเป็นการมุ่งเน้นที่จะทำา ให้ระบบราชการเล็กลง
เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นการทำา งานของข้ า ราชการ เนื่ อ งจาก
บทบาทที่ เ ปลี่ ย นไประบบราชการในบทบาทใหม่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
เอกสารข้ อ มู ล จึ ง จำา เป็ น ต้ อ งพั ฒ นาความรู้ ค วามสามารถของ
ข้ าราชการให้ส ามารถทำา งานอย่ า งมื อ อาชี พ (knowledge worker)
แ ล ะ เ ชี่ ย ว ช า ญ ใ น ยุ ค แ ห่ ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร
        ความสามารถในการปฏิบัติงานของข้าราชการต้องเพิ่มขึ้น โดย
เ       ฉ        พ         า      ะ      ใ       น       ด้     า       น
        1. ความสามารถในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ
             เพื่อให้ทำา งานได้ เบ็ ดเสร็ จด้ วยตนเอง เช่น รู้ จัก การใช้ง าน
             ของโทรศั พ ท์ โทรสาร เครื่ อ งถ่ า ยเอกสาร คอมพิ ว เตอร์
             อินเตอร์เน็ต เพื่อการติดต่อสื่อสารและนำา เสนอผลงานได้
             เ                                    อ                                   ง



                                          65
ระบบบริหารราชการไทย


      2. ความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่าง
         ยิ่งภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษากลางในการสื่อสารและเป็นสื่อ
         นำา สู่ แ ห ล่ ง ค ว า ม รู้ ที่ สำา คั ญ ข อ ง โ ล ก ปั จ จุ บั น
      3. ความสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ จ ากการรั บ ทราบข่ า วสาร
         ข้ อ มู ล ความเคลื่ อ นไหว            ทั่ ว โลกในเวลาอั น รวดเร็ ว
         เพื่ อ สร้ า งทางเลื อ กเชิ ง นโยบายให้ ทั น กั บ สถานการณ์ ที่
         เ            ป         ลี่        ย           น      ไ           ป
แนวคิดในการปฏิรูประบบราชการที่มีการปรับโครงสร้าง การลดขนาด
ของระบบราชการที่มีกรมเป็นฐานให้น้อยลง ลดความซำ้าซ้อนของกรม
ต่าง ๆ ภายในกระทรวง หรือ ทบวงที่ซำ้าซ้อนกันหรือทำางานอย่าง
เดียวกันเข้ามาเป็นกรมเดียวกันอันเป็นการเพิ่มพลังให้กับรัฐ
โครงสร้างใหม่ของ         ราชการไทยเปลี่ยนจาก 14 กระทรวง เป็น
20 กระทรวง ดังที่ได้กล่าวถึงแล้วในบทที่ 1

เป้าหมายของการปฏิรูประบบราชการ
           สร้างระบบการบริหารและบริการของรัฐที่รวดเร็ว เสมอภาค
เป็นธรรม และเป็นที่พึงพอใจแก่ประชาชน ยกระดับคุณภาพชีวิต
ของประชาชนให้มโอกาสและมาตรฐานการดำารงชีวิตที่ดีขึ้นมีระเบียบ
                   ี
วินัย และตั้งมั่นอยู่ในคุณธรรม ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ให้มีความสามารถในการแข่งขันได้ในระดับระหว่างประเทศ และเป็น
ผู้นำาในภูมิภาคอาเซียน ทังในด้านการส่งเสริมสันติภาพ สิทธิมนุษย์
                           ้
ชน การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม ตลอดจนความร่วมมือกับ
ประชาคมโลก
           สาระสำาคัญของการปฏิรูประบบราชการนั้นได้วางเป้าหมาย
นั้นได้วางเป้าหมายและวัตถุประสงค์ไว้ครอบคลุมทุกด้านในการ
บริหารภาครัฐ ประกอบด้วย 6 ประเด็นสำาคัญคือ
           1. ยกระดับความสามารถและสร้างประสิทธิภาพโดยรวม
ของหน่วยงานราชการ เพื่อที่ภาครัฐจะสามารถนำาบริการที่ดีมี
คุณภาพมาสู่ประชาชน


                                    66
ระบบบริหารราชการไทย


         2. มีระบบการทำางานและบุคคลกรที่มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลสูงเท่าเทียมกับมาตราฐานสากล
         3. สร้างและฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประชาชนและสังคมต่อ
ระบบราชการ
         4. สร้างระบบราชการให้ตอบสนองต่อความต้องการที่
หลากหลายของประชาชน
         5. มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และ
เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
         6. สนับสนุนภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนให้เติบโต
มีความเข้มแข็ง และเป็นกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ

          มีเจตนารมย์ของการปฏิรูประบบราชการ เพื่อที่จะแก้ไขพื้น
ฐานของระบบราชการที่หมักหมมมานานจนประชาชนลดความศรัทธา
นั่นคือ ปัญหาประสิทธิภาพตำ่า โครงสร้างองค์กรที่ตึงตัวไม่ยืดหยุ่น
การรวมศูนย์อำานาจและตัดสินใจไว้ที่ส่วนกลางมากเกินไป กฎ
ระเบียบ และเทคโนโลยีไม่ทันสมัย เงินเดือน และค่าตอบแทน
ข้าราชการไม่จูงใจ ค่านิยม ข้าราชการแบบนั้นดั้งเดิม ข้าราชการ
ด้อยคุณภาพ รวมไปถึงปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ
          จุดเน้นที่สำาคัญที่สุดของการปฏิรูประบบราชการครั้งนี้ คือ
การปรับราชการให้มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูง เปิดโอกาสให้
ประชาชนและประชาสังคมให้เจ้ามามีส่วนร่วม ใช้งบประมาณแนว
ใหม่เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนในการปฏิรูประบบราชการ และจัดระบบ
เงินเดือนและค่าตอบแทนเพื่อสร้างข้าราชการ มืออาชีพ ซือสัตย์
                                                        ่
และคำานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมให้มากที่สุด

กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
       ยุทธศาสตร์ในการปฏิรูประบบราชการ 4 ประการ คือ




                                67
ระบบบริหารราชการไทย


           1. จัดโครงสร้างหน่วยงานภาคราชการให้มีขนาดกะทัดรัด
คล่องตัวมีผู้รับผิดชอบการบริหารงานและผลงานตามแบบบทบาท
ภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน
           2. จัดระบบงบประมาณและวิธีการงบประมาณให้เป็นงบ
ประมาณเชิงยุทธศาสตร์
           3. สร้างระบบการทำางานที่สั้น รวดเร็ว และมีผู้รับผิดชอบ
ที่ชัดเจนวัดผลงานได้ โดยใช้เงินเดือนค่าตอบแทนตามผลงาน
(Performance Based Incentive) สร้างระบบสรรหาแต่งตังบุคลากร
                                                         ้
ของราชการได้ โปร่งใสและเป็นธรรม
           4. ปรับปรุงกลไกการทำางานของหน่วยราชการให้มี
ประสิทธิภาพและสามารถแข่งขันกับ หน่วยงานประเภทเดียวกันได้
และข้าราชการจะต้องปรับทัศนคติและกรอบความคิดใหม่ให้เป็นผู้ที่
ทำางานที่มีมาตรฐานในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม

แนวโน้มหรือทิศทางการบริหารราชการของไทยในอนาคต
           การปฏิรูประบบราชการเป็นงานที่ต้องกระทำาอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง จึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรมและทันการณ์
สำาหรับประเทศไทยมีเรื่องใหญ่ๆ ทีต้องการดำาเนินงานในชั้นแรกเพื่อ
                                     ่
เป็นตัวเร่งหรือขับเคลื่อนสำาคัญที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น
ลูกโซ่ นั่นคือ
           1.ขจัดภารกิจที่ไม่จำาเป็นให้ความสำาคัญต่อการกำาหนด
บทบาทภารกิจหลักให้ชัดเจนเพื่อปรับระบบและโครงสร้างราชการให้
มีเอกภาพ ชัดเจน มีขนาดที่เหมาะสม แต่มีประสิทธิภาพสูง
           2. ปรับปรุงระบบการบริหารงานของหน่วยงานในระดับ
ต่างๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรมและสามารถตรวจสอบได้
           3.ปรับแนวทางและวิธีการบริหารงบประมาณโดยให้เน้น
นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาของรัฐเป็นตัวกำาหนดเพื่อใช้ระบบ
งบประมาณแนวใหม่เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ



                                68
ระบบบริหารราชการไทย


          4.จัดระบบการบริหารบุคคลและเงินเดือนค่าตอบแทนของ
ระบบราชการใหม่เพื่อสร้าง            ข้าราชการมืออาชีพและเป็นก
ลางทางการเมืองสร้างกลไกการส่งเสริมให้คนมีคุณภาพสูงมารับ
ราชการเป็นอาชีพ การบำารุงขวัญกำาลังใจเพื่อให้ราชการปฏิบัติหน้าที่
ด้วยความซื่อสัตย์และสร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม
          5.ปรับระบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนและเปิดโอกาสให้         ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการกระบวน
การตัดสินใจและการตรวจสอบงานภาครัฐมากขึ้น
          6. ปรับระบบราชการให้เป็น (Net Govenment) คือมี
โครงสร้าง บทบาทภาระหน้าที่และระบบการบริหารราชการที่เหมาะ
สมกับความต้องการของประเทศและประชาชนโดยใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาขับเคลื่อนทรัพยากรและความรู้ความ
สามารถของทุกหน่วยงานรัฐให้ทำางานร่วมกันในการแก้ปัญหา การให้
บริการประชาชนและให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสาร (People &
User Frindly) ทั้งนี้การแก้ไขปัญหาจะมองปัญหาในมุมมองของ
ประชาชน ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะทำาให้ประชาชนได้รับบริการของรัฐใน
แบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว (One Stop Service) ประชาชนเข้ามาใช้
บริการได้ง่ายสะดวก
          7. สร้างพันธกิจขอระบบบริหารภาครัฐแนวใหม่โดยทำาลาย
ลด ละ เลิกสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ล้าสมัยหมดความจำาเป็น หรือซำ้า
ซ้อนกับงานที่ของหน่วยงานทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาค
ประชาชนและรักษาสิ่งดีของภาครัฐที่มีอยู่ไว้รวมทั้งนำาส่วนดีของภาค
เอกชนมาเพิ่มเติมในการปรับปรุงงานภาครัฐ
          8. มุงเน้นการทำางานแบบ (Network) เปลี่ยนระบบการ
               ่
ทำางานจากตาม (Function) มาเป็นการทำางานตาม (Objective)
และ (Result -Out) ตลอดจนปรับระบบการทำางานให้สั้น กะทัดรัด
รวดเร็ว และโปร่งใส
          9. พัฒนาข้าราชการให้เป็นมืออาชีพรวมทั้งปรับกระบวน
ทัศน์ราชการให้คิดแบบ      (Outside - In) คือการคิดโดยเอาเองผล


                               69
ระบบบริหารราชการไทย


ประโยชน์ของประเทศชาติ ประชาชนเป็นที่ตงก่อนประโยชน์ของ
                                       ั้
หน่วยงาน มิใช่เป็นการคิดแบบ (Inside - Out) อย่างเดียว
        10. ปรับโครงสร้างและบทบาทของรัฐใหม่ รวมปรับปรุง
สังคายนากฎหมายกฎระเบียบให้ทันสมัยมีน้อยแต่ชัดเจน

            นอกจากนั้นแล้วจะปรับระบบการบริหารบุคคลให้ทันโลก
ปรับเงินเดือนข้าราชการให้ทันตลาดเพื่อให้ได้มืออาชีพเข้ามาบริหาร
ราชการ
            11. สร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบราชการให้เกิดขึ้นอย่าง
กว้างขวางการปฏิรูประบบราชการจำาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วม
แรง ร่วมใจจากกลุ่มบุคคลหลายฝ่ายการปฏิรูประบบราชการจะไม่มี
โอกาสสอดพบกับความสำาเร็จได้อย่างแท้จริง หากการปฏิรูปดำาเนิน
การโดยกลุ่มคนเพียงบางกลุ่ม การสร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบ
ราชการจะต้องสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมลงไปถึงระดับรากหญ้าของ
สังคม
            12. สร้างกระแสการยอมรับในระบบราชการ เพื่อให้
ข้าราชการมีทัศนคติที่ยอมรับต่อความเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับ
แนวทางและวิธีการกระตุ้นเร่งเร้าเพื่อให้เกิดการยอมรับการปฏิรูป
ระบบราชการ โดยจะต้องสร้างระบบให้เห็นผลกระทบในเชิงลบ และ
เสนอข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา เพื่อให้เกิดความตระหนักร่วม
กันในการปฏิรูประบบราชการ
            13. มีกฎหมายการปฏิรูประบบราชการไว้เป็นการเฉพาะ
เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างแท้จริง กฎหมายดังกล่าวจะมีความ
สำาคัญต่อการปฏิรูประบบราชการเป็นอย่างยิ่งและเป็นเครื่องมือที่จะ
นำามาใช้ในแง่มุมของการบังคับเพื่อให้เกิดการปฏิรูป โดยสามารถนำา
มาใช้เป็นเครื่องมือของการบริหารจัดการ เป็นกลไกในการสร้างพลัง
ขับเคลื่อน รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือการตรวจสอบผลการดำาเนินงาน
ของฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำา ตลอดจนเป็นเครื่องมือของ



                               70
ระบบบริหารราชการไทย


ประชาชนในการกำาหนดเป้าหมาย การติดตามและการสนับสนุนการ
ดำาเนินงานได้อีกทางหนึง ่
           14. มีการนำาเสนอปัญหาและความจำาเป็นในการปฏิรูป
อย่างรุนแรง เพื่อกระตุ้นให้สังคมมองเห็นความสำาคัญและความ
จำาเป็นที่จะต้องปฏิรูประบบราชการอย่างจริงจัง พร้อมทั้งมีการจัด
ลำาดับความสำาคัญของปัญหาเร่งด่วนที่จะต้องดำาเนินการให้เห็นอย่าง
ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการระดมสรรพกำาลังและทรัพยากรการ
บริหารทุกด้านเข้าไปดำาเนินการ
           15. การทำางานในเชิงรุก (Pro - Active) ให้มากขึ้น
และเน้นการสร้างความร่วมระหว่างผู้กำาหนดนโยบายกับกลุ่มเป้า
หมายที่ต้องการผลักดันให้การเปลี่ยนแปลงรวมทั้งการพัฒนาและการ
เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะให้เกิดผลในการปฏิรูประบบราชการควรจะ
ต้องมีการศึกษา (Research) เพื่อเป็น รากฐานสนับสนุนความคิด
ในการเปลี่ยนแปลงนั้นด้วย

          ผลพวงของการปฏิ รู ป ระบบราชการ ที่ มี เ ป้ า หมายเพื่ อ
ทำา ให้การบริห ารงานในส่ ว นของระบบราชการกระชั บ ฉับ ไว ตอบ
สนองความพึ ง พอใจของประชาชนได้ นั้ น อาจจะต้ อ งอาศั ย ปั จ จั ย
หลายๆด้านประกอบกัน ดังที่กล่าวมาแล้ว แต่ทั้งนี้การที่จะทำาให้เป้า
หมายสั ม ฤทธิ์ ผ ลอย่ า งถาวรแล้ ว ต้ อ งเกิ ด จากการรวมพลั ง ของทั้ ง
ข้าราชการ และประชาชน




                                  71
ระบบบริหารราชการไทย




กิจกรรมท้ายบท

 1.   มูลเหตุ ของการปฏิรูประบบราชการในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
      จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5)
 2.   สาเหตุของการปฏิรูประบบราชการของไทยในปัจจุบัน ประกอบ
      ด้วยอะไร อย่างไร
 3.   ในการปฏิรูประบบราชการของไทยในปัจจุบันนั้น มีการแบ่งกลุ่ม
      กระทรวงตามภารกิจ เหตุใดจึงต้องมีการดำาเนินการเช่นนั้น




                               72

More Related Content

What's hot

บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองTaraya Srivilas
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง Taraya Srivilas
 
จุดเน้นน่าจะออกเป็นข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 (กำลังรวบรวม...
จุดเน้นน่าจะออกเป็นข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560  (กำลังรวบรวม...จุดเน้นน่าจะออกเป็นข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560  (กำลังรวบรวม...
จุดเน้นน่าจะออกเป็นข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 (กำลังรวบรวม...ประพันธ์ เวารัมย์
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงTanterm Thebest
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการSaiiew
 
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552วัชรินทร์ ใจจะดี
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออก
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออกแนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออก
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออกประพันธ์ เวารัมย์
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553อินทนนท์ พูลทอง
 

What's hot (20)

บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
จุดเน้นน่าจะออกเป็นข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 (กำลังรวบรวม...
จุดเน้นน่าจะออกเป็นข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560  (กำลังรวบรวม...จุดเน้นน่าจะออกเป็นข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560  (กำลังรวบรวม...
จุดเน้นน่าจะออกเป็นข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 (กำลังรวบรวม...
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
 
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจPlan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออก
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออกแนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออก
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออก
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
ตารางค่าขนย้าย
ตารางค่าขนย้ายตารางค่าขนย้าย
ตารางค่าขนย้าย
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
 

Similar to บริหารราชการไทย 4

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราguest4439f1
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園honan4108
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติLink Standalone
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยwanna2728
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40Pattie Pattie
 
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจPoramate Minsiri
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2i_cavalry
 

Similar to บริหารราชการไทย 4 (20)

Administrative reform
Administrative reformAdministrative reform
Administrative reform
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
บทท่ี 1
บทท่ี 1บทท่ี 1
บทท่ี 1
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
 
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจPlan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40
 
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
 
Abb3
Abb3Abb3
Abb3
 
ชุดที่4
ชุดที่4ชุดที่4
ชุดที่4
 
ชุดที่4
ชุดที่4ชุดที่4
ชุดที่4
 
ชุดที่4
ชุดที่4ชุดที่4
ชุดที่4
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2
 

More from Saiiew

บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai BureaucracySaiiew
 

More from Saiiew (7)

บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 

บริหารราชการไทย 4

  • 1. ระบบบริหารราชการไทย บทที่ 4 การปฏิรูประบบราชการ ระบบราชการไทยเป็นระบบที่มีการสืบทอดกันมายาวนานหลาย ร้อยปีเป็นกลไกหลักในการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งภารกิจที่สำาคัญ ยิ่ ง ในการบริ ห ารประเทศ คื อ การก่ อ ตั้ ง และปฏิ รู ป การจั ด ระเบียบการปกครองภายในประเทศ ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นต่อระบบ บริห ารราชการของไทย ซึ่ ง เป็ น ระบบที่ มี อ ายุ ย าวนานและมี ก าร เปลี่ยนแปลงแบบช้าๆ ระบบราชการไทยจึงมีปัญหาที่สั่ง สมไว้มาก ปั ญ ห า ที่ สำา คั ญ มี ดั ง นี้ ปั ญ ห า ข อ ง ร ะ บ บ ร า ช ก า ร 1. ปัญหาเรื่องการทุจริตและพฤติมิชอบในวงราชการ เป็น ปัญหาหลักและเรื้อรังที่สะสมมานาน ไม่อาจแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว และเบ็ดเสร็จ ทำาให้ภาพลักษณ์ของระบบราชการไทยติดอยู่กับ ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นอย่างแยกไม่ออก การปฏิรูประบบราชการ จึงเป็นมาตรการสำาคัญที่จะช่วยแก้ไขปัญหานี้ให้น้อยลงหรือหมดไป ในที่สุด 2. ปัญหาเรื่องขนาดของระบบราชการไทย ระบบ ราชการไทยมีโครงสร้างของส่วนราชการที่มีขนาดใหญ่ ซับซ้อน มี อัตรากำาลังข้าราชการเป็นจำานวนมากทำาให้ระบบราชการมีระบบการ บริหารงานที่ไม่คล่องตัว ประสบกับปัญหาด้านค่าใช้จ่ายบุคลากรที่มี แนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ก่อให้เกิดภาระด้านงบประมาณอย่างไม่สิ้นสุด และมีผลกระทบต่องบประมาณในการพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ อย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความจำาเป็นของรัฐในการปฏิรูประบบราชการเพื่อ แก้ไขปัญหานี้ จึงเป็นปัญหาที่ต้องเร่งรัดดำาเนินการ 3. ปัญหาเรื่องประสิทธิภาพในการบริหารราชการ ระบบ ราชการไทยถูกวิพากษ์วิจารณ์ถึงประสิทธิภาพการบริหารงานอยู่เสมอ เมื่อเทียบกับการบริหารงานในภาคเอกชนการบริหารงานราชการที่ 55
  • 2. ระบบบริหารราชการไทย ผ่านมาส่วนใหญ่ไม่มีการประเมินผลการปฏิบัติงานว่างานนั้นมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพียงใด ขาดตัว ชี้วัดในการดำาเนิน งาน ทำาให้ไม่สามารถวิเคราะห์ถึงความคุ้มทุนและผลสัมฤทธิ์ของ การดำาเนินงานของส่วน ราชการได้อย่างชัดเจน แต่โดยที่ ประชาชนต้องการได้รับบริการสาธารณะจากรัฐที่มีประสิทธิภาพ มี คุณภาพ รวดเร็ว ความคาดหวังของประชาชนโดยทั่วไปจึงต้องการ เห็นภาพลักษณ์ใหม่ของระบบราชการไทยในแนวทางดังกล่าว จึง นับเป็นปัจจัยสำาคัญประการหนึ่งที่แสดงเห็นถึงเหตุผล และความ จำาเป็นของการปฏิรูประบบราชการเพื่อแก้ปัญหาในด้านประสิทธิภาพ ของการให้บริการประชาชน 4. ปัญหาการบริงานแบบรวมศูนย์อำานาจ กล่าวคือ ราชการบริหารสาวนกลาง ซึงได้แก่กระทรวง ทบวง กรม มีความ ่ เข้มแข็ง การบริหารงานและการตัดสินใจมีลักษณะรวมศูนย์ไว้ที่ส่วน กลางทั้งหมด แม้ว่าจะมีการมอบอำานาจการบริหารงานให้กับราชการ ส่วนภูมิภาคก็ตาม แต่การบริหารงานของราชการส่วนภูมิภาคก็ยังไม่ สามารถใช้อำานาจเด็ดขาดหรือมีความอิสระในการตัดสินใจได้มากนัก ยังต้องยึดนโยบายจากส่วนกลางเป็นหลัก ทรัพยากรการบริหารส่วน ใหญ่จึงขึ้นอยู่กับการจัดสรรจากส่วนกลาง 5. ปัญหาโครงสร้างส่วนราชการที่ไม่คล่องตัว โครงสร้าง การบริหารงานภาครัฐในปัจจุบันมีลักษณะที่ไม่ยึดหยุ่น ขาดความ คล่องตัว การบริหารยึดติดกับกรอบตามอำานาจหน้าที่ที่กฎหมาย กำาหนดเป็นหลัก ทำาให้การบริหารไม่สอดคล้องกับกระแสความ เปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง องค์กรทำาได้ไม่คล่องตัว และเนื่องจากโครงสร้างองค์กรมีขนาดใหญ่ ทำาให้การปรับรื้อต้องใช้ระยะเวลาพอสมควรในการดำาเนินการ 6. ปัญหากฎระเบียบ เทคโนโลยีและวิธีงานไม่ทันสมัย การบริหารงานภาครัฐเป็น บริหารงานโดยยึดโยงกับกฎหมายและ ระเบียบต่างๆ เป็นจำานวนมาก กฎระเบียบบางเรื่องเป็นอุปสรรคต่อ การบริหารงานภาครัฐและไม่ทันสมัย นอกจากนั้นเทคโนโลยีต่างๆ 56
  • 3. ระบบบริหารราชการไทย ที่นำามาใช้ในระบบราชการยังขาด ความทันสมัย เมื่อเทียบกับการ ดำาเนินงานของภาคเอกชนตลอดจนการบริหารงานภายใต้ระบบ ราชการเป็นการบริหารที่ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด การบริหารงานให้ความสำาคัญกับกระบวนการมากกว่า เป้าหมายทำาให้ การบริหารงานขาดความคล่องตัว 7. ปัญหากำาลังคนภาครัฐไม่มีคณภาพ กำาลังคนภาครัฐ ุ ที่มีอยู่ในระบบราชการปัจจุบันส่วนใหญ่ยังขาดคุณภาพและมีความ จำาเป็นต้องได้รับการพัฒนาในหลายๆ ด้านอย่างเร่งด่วน กำาลังส่วน ใหญ่ยังขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และยึดติดกับการทำางานระบบ เดิม ทั้งนี้อาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากความ มั่นคงในระบบราชการ ทำาให้กำาลังคนภาครัฐขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน เนื่องจากอยู่ในสถานะของตำาแหน่งที่มีเสถียรภาพและมั่นคงค่อนข้าง สูง 8. ปัญหาค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ไม่เหมาะสม ข้าราชการเป็นกลุ่มบุคคลที่มีรายได้และ ค่าตอบแทนค่อนข้างตำ่า เมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลกลุ่มอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานในภาคต่างๆ ทั้งนี้ เนื่องจากภาคราชการเป็นองค์กรขนาดใหญ่ ทำาให้การปรับปรุง ค่าตอบแทนและสวัสดิการทำาได้ค่อนข้างลำาบาก เนื่องจากภาครัฐ ต้องใช้งบประมาณดำาเนินการเป็นจำานวนมากรวมถึงค่าตอบแทนที่ได้ รับไม่สอดคล้องกับกลไกตลาด ทำาให้รายได้ของข้าราชการอยู่ใน ระดับตำ่าและไม่สัมพันธ์กับภาวะค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้นอยู่ตลอดเวลา 9. ปัญหาทัศนคติและค่านิยมดั้งเดิม ระบบราชการเป็น ระบบที่ให้ความสำาคัญกับลำาดับชั้นของการบังคับบัญชา ทำาให้ ราชการไม่กล้าแสดงความคิดเห็นเท่าที่ควร รวมทั้งการต้องเคารพใน ระบบอาวุโสของการทำางานทำาให้ราชการรุ่นใหม่ไม่สามารถแสดง ศักยภาพในการทำางานได้อย่างเต็มที่ ทัศนคติและค่านิยมดั้งเดิม ในภาคราชการดังกล่าวจึงไม่เปิดโอกาสให้มีการส่งเสริมคนเก่ง คนดี คนมีความรู้และความสามารถ ได้ใช้โอกาสในการแสดงศักยภาพการ ทำางานได้อย่างเต็มทีเท่าที่ควร ตลอดจนข้าราชการมักจะเคยชินกับ ่ 57
  • 4. ระบบบริหารราชการไทย ระบบรัยคำาสั่งและนำามาปฏิบัติมากกว่าที่จะคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ รวมทั้งขาดความกล้าหาญที่จะโต้แย้งเมื่อเห็นว่าคำาสั่งนั้นไม่ถูกต้อง หรือการปฏิบัติงานนั้นไม่เหมาะสมที่จะปฏิบัติ ปัญหาที่กล่าวมานั้นอาจกล่าวได้ว่าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อ ระบบราชการไทยนับแต่อดีต จวบจนกระทั่งปัจจุบัน ซึ่ง พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เล็งเห็นและดำาเนินการปฏิรูป การบริหารราชการแผ่นดิน ในยุคแรกซึ่งเป็นแนวทางของการปฏิรูป ระบบราชการในปัจจุบันด้วย ก า ร ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ใ น ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว มี ก า ร ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ใ น รู ป แ บ บ ดั ง นี้ คื อ 1. การปฏิรูปการบังคับบัญชางานภายในกระทรวง ให้มีรูป แบบเป็ น ระบบราชการชั ด เจนขึ้ น มี ลำา ดั บ ขั้ น การบั ง คั บ บั ญ ชามี ก าร แบ่งงานและเลือกสรรผู้มีความรู้ความสามารถเข้ารับราชการ โดยการ จัดสอบคัดเลือกตลอดจนออกระเบียบวินัยต่าง ๆ เช่น เลิกประเพณีให้ ข้าราชการทำางานอยู่ ที่บ้าน กำาหนดให้มีการประชุมข้าราชการทุก วัน กำาหนดเวลาการทำางาน ตลอดจนจัดระเบียบ ส่งร่าง เขียน แ ล ะ เ ก็ บ ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร เ ป็ น ต้ น 2. การปฏิรูประบบการปกครองส่วนภูมิภาค ซึ่งเรียกว่า"ระบบเทศาภิบาล"ได้เป็นผลสำาเร็จและนับว่าเป็นผล งานสำา คัญที่สุดของพระองค์โ ดยทรงรวมหัวเมืองต่าง ๆ จัดเข้าเป็น "มณฑล" และมี "ข้าหลวงเทศาภิบาล" เป็นผู้บังคับบัญชาแต่อยู่ใน อำานาจของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย อีกชั้นหนึ่งสำาหรับ การแบ่ ง เขตย่ อ ยลงไปเป็ น จั ง หวั ด อำา เภอ ตำา บลและหมู่ บ้ า นนั้ น ในร.ศ.116 (พ.ศ. 2440) ได้ออก"พระราชบัญญัติลักษณะ การปกครองท้องที่บังคับใช้ทั่ว พระราชอาณาจักร พระกรณียกิจที่ 58
  • 5. ระบบบริหารราชการไทย ล้ วนเป็ นคุ ณประโยชน์แ ก่ป ระเทศชาติ แ ละประชาชนยั่ ง ยื น มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน ในการพิจารณาถึงทิศทางของการบริหารราชการไทย โดยทั่วไปจะยึดเป็นแนวทางแห่งรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นหลัก ในส่วนของรัฐธรรมนูญนัน ได้ มีการบัญญัติถึงแนวนโบายพื้นฐานแห่งรัฐไว้ในหมวดหนึ่งของ รัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยบทบัญญัติที่กำาหนดภารกิจของรัฐไว้อย่าง ชัดเจน เช่น การบัญญัติว่ารัฐจะต้องให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น ตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนใน ท้องถิ่น เป็นต้น(สุโขทัยธรรมาธิราช,2548,351) สำาหรับประเทศไทยแล้วระบบราชการเป็นสถาบันที่มีความ สำาคัญต่อการดำารงอยู่ของรัฐช่วยพัฒนาประเทศให้มความเจริญ ี ก้าวหน้า ระบบราชการจึงเป็นกลไกการบริหารงานที่ทุกรัฐบาลที่เข้า มาบริหารราชการแผ่นดินให้ความสำาคัญ โดยกำาหนดไว้ในนโยบาย การปรับปรุงระบบการบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพจะเอื้อ อำานวยต่อการพัฒนาประเทศ ช่วยให้ประเทศมีความเข้มแข็ง มีศักย์ ภาพในการแข่งขัน สามารถที่จะต้องสู้กับสภาวะแวดล้อมทางการ เมืองเศรษฐกิจ และสังคม ทั้งนีแนวทางในการปรับการการบริหาร ้ ราชการแผ่นดินให้มีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. ปฏิรูประบบราชการให้มีประสิทธิภาพและมี โครงสร้างที่กระชับ เหมาะสมกับ สถานการณ์ในปัจจุบันและสามารถตอบ สนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศพร้อมทั้งเร่งตรากฎหมายเพื่อ ปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เพื่อ ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในกระแสโลก 59
  • 6. ระบบบริหารราชการไทย และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจและสังคม 2. ปรับปรุงบทบาทของภาครัฐจากผู้ปฏิบัติ และควบคุมเป็นผู้สนับสนุนและอำานวยความ สะดวก และให้การสนับสนุนการดำาเนินงาน ของภาคเอกชนและประชาชน โดยส่งเสริม ให้เอกชนและประชาชนสามารถมีส่วนร่วม อย่างสำาคัญในการปฏิรูประบบราชการ เพื่อ วางแนวทางดำาเนินการให้ชดเจนและต่อ ั เนื่อง 3. ปรับกระบวนการบริหารราชการโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ประชาชน ได้รับบริการข้อมูลข่าวสารอย่างกว้างขวาง รวดเร็ว และเท่าเทียมกัน พร้อมกันนี้จะ ปรับปรุงพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสาร ของทางราชการให้สอดคล้องกับความ ต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง 4. เร่งพัฒนาคุณภาพของข้าราชการ ให้มี ทัศนคติที่เอื้อต่องานการบริการประชาชน รวมทั้ง ทบทวนกฎหมาย ระเบียบ ขั้น ตอน และวิธีปฏิบัติงาน เพื่อให้การบริการ ราชการมีความยึดหยุ่นมี ประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีการประเมิน ผลที่เป็นระบบและเป็นธรรม 5. เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนจัดทำาและ จัดสรรงบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการ จัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ใน การพัฒนาประเทศส่งเสริมให้กระทรวง 60
  • 7. ระบบบริหารราชการไทย ทบวง กรมมีบทบาทในการตัดสินใจมาก ขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มีระบบควบคุมตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส แนวทางการปฏิรูประบบราชการคือ การให้บริการสาธารณะแก่ ประชาชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการ ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน และให้ประชาชนมี ทางเลื อ กในการจั ด การเกี่ ย วกั บ บริ ก ารสาธารณะเพิ่ ม มากขึ้ น เพื่ อ ให้การบริหารราชการเป็นกลไกของสังคมที่สามารถจัดองค์ประกอบ ของสั ง คมให้ อ ยู่ ร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข สอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด Good Governance ที่ เ ห็ น ว่ า การบริ ห ารราชการต้ อ งสามารถนำา พา สังคมส่วนรวมให้มีการพัฒนาได้แบบยั่งยืน คือ ประชาชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีมีโอกาสในการศึกษาที่ถูกต้องอย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกัน โดยคนในสังคมจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมสร้างสรรค์และนำาพาสังคมให้ สันติสุข ภายใต้การแบ่งปันทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและไม่ทำา ลาย ธ ร ร ม ช า ติ แ ว ด ล้ อ ม รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ การจั ด ระบบราชการให้ มี ค วามเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของสั ง คมนั้ น เพื่ อ สามารถนำา พาสั ง คมให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายที่ วางแผนไว้ ซึ่งอาจไม่ มี ค วามจำา เป็ น ที่ ร ะบบราชการของทุ ก ประเทศ ห รื อ ทุ ก ๆ สั ง ค ม ต้ อ ง มี รู ป แ บ บ ห รื อ ลั ก ษ ณ ะ เ ดี ย ว กั น ดั ง นี้ 1.ส ร้ า ง ค ว า ม เ ปิ ด เ ผ ย แ ล ะ โ ป ร่ ง ใ ส ใ ห้ กั บ ร ะ บ บ ร า ช ก า ร 1.1 พัฒนากลไกการตรวจสอบให้มีประสิทธิภาพ เพื่อลด ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นในวงราชการและเสริมสร้างจริยธรรมให้กับ ข้าราชการและประชาชน อีกทังยังส่งเสริมให้ ประชาชนได้เข้ามามี ้ ส่วนร่วมในการตรวจสอบการทำางานของส่วนราชการอีกด้วย โดย หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับ 61
  • 8. ระบบบริหารราชการไทย ประชาชน เพื่อประชาชนจะได้รับทราบข้อมูล (data) ข่าวสาร (message) และขั้นตอนการดำาเนินงานต่างๆ ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารราชการและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้เพื่อสร้างความ เข้าใจและสนใจแก่ประชาชนที่จะเข้ามาปกป้องพิทักษ์รักษาผล ประโยชน์ของส่วนรวม ประชาชนจะเป็นกลไกที่สำาคัญและจะต้องอาศัยเครื่องมือที่มี ประสิทธิภาพอันได้แก่ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ ข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารป้ อ งกั น และปราบ ปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ สื่ อ มวลชน องค์ ก รอิ ส ระ (NGO) ศาล ปกครองและกระบวนการยุติธรรมเหล่านี้เป็นต้น 1.2 การปรั บ ปรุ ง ระบบงบประมาณของแผ่ น ดิ น ให้ มี ค วาม โปร่งใส ระบบงบประมาณถือเป็นส่วนสำาคัญในการพัฒนาประเทศและ สั ง คม เพื่ อให้ การใ ช้ ง บประม าณ เป็ น ไ ปอย่ าง มี ประ สิ ท ธิ ภ า พ (efficiency) ประสิทธิผล (effectiveness) ควรปรับเปลี่ยนวิธีการจัด ทำางบประมาณและขั้นตอนการประมูลงานของส่วนราชการในแบบเดิม มาเป็ น ระบบงบประมาณแบบใหม่ ที่ มุ่ ง เน้ น ผลงานแทนเพราะจะ สามารถประเมินผลงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น และยังสามารถป้องกัน การนำา เอางบประมาณของแผ่นดินไปแสวงหาประโยชน์ส่วนตนของ ข้ า ร า ช ก า ร แ ล ะ นั ก ก า ร เ มื อ ง ไ ด้ อี ก ด้ ว ย 1.3ความโปร่งใสในการกำา หนดนโยบายและการปฏิบัติตาม กฎหมายเป็ น ปั จ จั ย สำา คั ญ ในการสร้ า งความเป็ น ธรรมใน การให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนทุกคน ซึ่งจะส่งผล ให้เกิดความสงบเรียบร้อยและขจัดปัญหาความขัดแย้งใน สั ง ค ม ค ว า ม เ ป็ น ธ ร ร ม นี้ จ ะ ต้ อ ง เ ริ่ ม กั น ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ ปั จ เ จ ก บุ ค ค ล ร ะ ดั บ น โ ย บ า ย จ น ถึ ง ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ 2. เพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมาก ขึ้ น 62
  • 9. ระบบบริหารราชการไทย พลเมื อ งของประเทศมี ค วามแตกต่ า งกั น ทั้ ง ด้ า นการศึ ก ษา ฐานะทางเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมของชุมชน การเพิ่มทาง เลือกในการจัดการบริการสาธารณะให้กับประชาชนจึงมีความเหมาะ สมกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ซึ่งสามารถกระทำา ได้ในหลาย วิ ธี คื อ 2.1ส นั บ ส นุ น ใ ห้ มี ก า ร ก ร ะ จ า ย อำา น า จ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น สาธารณะให้กับท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนในแต่ละ ท้องถิ่นสามารถกำาหนดและเลือกวิถีชีวิตของตนเองได้อีก ทั้ง ยังเป็น การปรั บ ลดขนาดของระบบราชการ ส่วนกลางอีกแบบหนึ่งเพราะการบริหารราชการในปัจจุบัน มีการผูกขาดอำานาจการให้บริหารสาธารณะไว้ที่ส่วนกลาง เป็ น หลั ก ทำา ให้ ป ระชาชนมี ท างเลื อ กได้ น้ อ ยในการรั บ บริการสาธารณะและส่วนราชการก็มีภาระหน้าที่มากเกิน ความจำาเป็นจึงขาดความคล่องตัวและประสิทธิภาพในการ ใ ห้ บ ริ ก า ร การกระจายอำา นาจการบริหารงานสาธารณะให้กับท้องถิ่นก็ คื อ การเพิ่ ม บทบาท หน้ า ที่ ข องราชการส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ แ ก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำา บล เทศบาล ให้ มี อิ ส ระในการกำา หนดนโยบาย การปกครอง การบริ ห าร การ บริหารงานบุคคลและ การเงินการคลังเป็นของตนเองเพิ่มมากขึ้น โดยการปรั บ ลดบทบาทของราชการส่ ว นภู มิ ภ าคลง คื อ จังหวัดและอำาเภอและให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำาเภอเปลี่ยนมา ทำา หน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ ป ระสานงานนโยบายระหว่ า งราชการส่ ว นกลางและ ส่วนท้องถิ่นแทน ซึ่งจะต้องมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายการบริหาร ร า ช ก า ร แ ผ่ น ดิ น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั น ทั้ ง ห ม ด 2.2 ส่งเสริมการรวมตัวของประชาชนที่จะจัดทำากิจกรรมที่ เป็นประโยชน์แก่ชุมชนโดยจัดให้การศึกษาและอำานวยความสะดวก สำาหรับการรวมกลุ่มทำากิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ ชุมชนเพราะ 63
  • 10. ระบบบริหารราชการไทย ทำาให้ประชาชนได้มทางเลือกและเสริมสร้างความสามารถในการ ี จัดการปัญหาตนเองมากขึ้น 2.3 การปรับลดขนาดของระบบราชการให้เล็กลงเพื่อให้ ประชาชนได้มีทางเลือกในการจัดการบริการสาธารณะได้มากขึ้น ภาระหน้าที่อื่น ๆ ที่รัฐไม่จำาเป็นต้องดำาเนินการเองก็ควรปรับเปลี่ยน บทบาทมาเป็นผู้ให้การสนับสนุนและกำากับดูแลแทน โดยให้เอกชน เข้ามาแข่งขันกันในการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนอันมีกลไก ตลาดเป็นตัวกำาหนด แต่ถ้าหากบริการในด้านใดที่รัฐฯคิดว่าไม่ สามารถใช้กลไกการตลาดได้ก็ควรมีหน่วยงานของรัฐเข้ามาควบคุม ด้านคุณภาพ (quality) และราคา (regulate) ส่วนหน่วยงานราชการ เดิมก็จะต้องแปรรูปไปตามความเหมาะสมกับลักษณะขององค์กรนั้น ๆ ซึ่งจะสามารถเลือกทำาได้หลายวิธี เช่น 1. ยุ บ เ ลิ ก ห น่ ว ย ง า น (abolish) 2. การแปรรู ป หน่ ว ยงานของรั ฐ ให้ เ อกชนเข้ า มาแข่ ง ขั น ดำา เ นิ น ก า ร อ ย่ า ง เ ส รี (privatization) 3. ก า ร ทำา สั ญ ญ า ว่ า จ้ า ง ใ ห้ เ อ ก ช น ม า ดำา เ นิ น ก า ร (contracting out) 4. ป รั บ เ ป็ น อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร แ บ บ พิ เ ศ ษ (executive agency) 5. เมื่อภาระหน้าที่ของรัฐลดลงและการบริการราชการไม่ ซับซ้อนและมากเกินไป การให้บริการสาธารณะต่าง ๆ แ ก่ ป ร ะ ช า ช น ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ ก ร ะ ทำา ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ (efficiency) ยิ่งขึ้นโดยให้ส่วนราชการมี ภาระหน้าที่เฉพาะเท่าที่จำา เป็นเท่านั้นเพื่อรักษาความ สงบเรี ย บร้ อ ยและขจั ด ปั ญ หาข้ อ ขั ด แย้ ง ในสั ง คม 64
  • 11. ระบบบริหารราชการไทย 3. ปรับปรุงการทำา งานของส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่ ง ขึ้ น โดยการปรั บ ขั้ น ตอนการทำา งาน โครงสร้ า งองค์ ก ร และการ บริ ห ารงานบุ ค คล เพื่ อ ให้ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นการดำา เนิ น งานของ องค์กรได้ทันต่อสภาพแวดล้อมของโลกปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ทั้ ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง ซึ่ ง ทำา ได้ โ ดยการวิ เ คราะห์ ร ะบบงานใหม่ เช่ น ระบบการไหล เวี ย นของเอกสาร ระบบบั ญ ชี แ ละการเงิ น เป็ น ต้ น และนำา เอา เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่มีความทันสมัยมาใช้ปรับปรุงการ ทำา งาน สร้างพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับข้าราชการในการให้บริการ แก่ ป ระชาชน โดยการอบรมให้ ข้ า ราชการให้ มี ค วามเข้ า ใจถึ ง เป้ า หมายของการทำา งานมากกว่ายึดติดระเบียบขั้นตอนการปฏิ บัติงาน เพื่ อ ให้ เ ป็ น หลั ก ประกั น ให้ กั บ ข้ า ราชการที่ ต้ อ งการให้ บ ริ ก าร ตามความประสงค์มากกว่ายึดติดกับกฎระเบียบและเป็นหลักประกัน ให้กับประชาชนที่จะได้รับการบริการจากส่วนราชการอย่างเป็นธรรม ขณะเดียวกันยังเป็นการมุ่งเน้นที่จะทำา ให้ระบบราชการเล็กลง เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นการทำา งานของข้ า ราชการ เนื่ อ งจาก บทบาทที่ เ ปลี่ ย นไประบบราชการในบทบาทใหม่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เอกสารข้ อ มู ล จึ ง จำา เป็ น ต้ อ งพั ฒ นาความรู้ ค วามสามารถของ ข้ าราชการให้ส ามารถทำา งานอย่ า งมื อ อาชี พ (knowledge worker) แ ล ะ เ ชี่ ย ว ช า ญ ใ น ยุ ค แ ห่ ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ความสามารถในการปฏิบัติงานของข้าราชการต้องเพิ่มขึ้น โดย เ ฉ พ า ะ ใ น ด้ า น 1. ความสามารถในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อให้ทำา งานได้ เบ็ ดเสร็ จด้ วยตนเอง เช่น รู้ จัก การใช้ง าน ของโทรศั พ ท์ โทรสาร เครื่ อ งถ่ า ยเอกสาร คอมพิ ว เตอร์ อินเตอร์เน็ต เพื่อการติดต่อสื่อสารและนำา เสนอผลงานได้ เ อ ง 65
  • 12. ระบบบริหารราชการไทย 2. ความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษากลางในการสื่อสารและเป็นสื่อ นำา สู่ แ ห ล่ ง ค ว า ม รู้ ที่ สำา คั ญ ข อ ง โ ล ก ปั จ จุ บั น 3. ความสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ จ ากการรั บ ทราบข่ า วสาร ข้ อ มู ล ความเคลื่ อ นไหว ทั่ ว โลกในเวลาอั น รวดเร็ ว เพื่ อ สร้ า งทางเลื อ กเชิ ง นโยบายให้ ทั น กั บ สถานการณ์ ที่ เ ป ลี่ ย น ไ ป แนวคิดในการปฏิรูประบบราชการที่มีการปรับโครงสร้าง การลดขนาด ของระบบราชการที่มีกรมเป็นฐานให้น้อยลง ลดความซำ้าซ้อนของกรม ต่าง ๆ ภายในกระทรวง หรือ ทบวงที่ซำ้าซ้อนกันหรือทำางานอย่าง เดียวกันเข้ามาเป็นกรมเดียวกันอันเป็นการเพิ่มพลังให้กับรัฐ โครงสร้างใหม่ของ ราชการไทยเปลี่ยนจาก 14 กระทรวง เป็น 20 กระทรวง ดังที่ได้กล่าวถึงแล้วในบทที่ 1 เป้าหมายของการปฏิรูประบบราชการ สร้างระบบการบริหารและบริการของรัฐที่รวดเร็ว เสมอภาค เป็นธรรม และเป็นที่พึงพอใจแก่ประชาชน ยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนให้มโอกาสและมาตรฐานการดำารงชีวิตที่ดีขึ้นมีระเบียบ ี วินัย และตั้งมั่นอยู่ในคุณธรรม ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ให้มีความสามารถในการแข่งขันได้ในระดับระหว่างประเทศ และเป็น ผู้นำาในภูมิภาคอาเซียน ทังในด้านการส่งเสริมสันติภาพ สิทธิมนุษย์ ้ ชน การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม ตลอดจนความร่วมมือกับ ประชาคมโลก สาระสำาคัญของการปฏิรูประบบราชการนั้นได้วางเป้าหมาย นั้นได้วางเป้าหมายและวัตถุประสงค์ไว้ครอบคลุมทุกด้านในการ บริหารภาครัฐ ประกอบด้วย 6 ประเด็นสำาคัญคือ 1. ยกระดับความสามารถและสร้างประสิทธิภาพโดยรวม ของหน่วยงานราชการ เพื่อที่ภาครัฐจะสามารถนำาบริการที่ดีมี คุณภาพมาสู่ประชาชน 66
  • 13. ระบบบริหารราชการไทย 2. มีระบบการทำางานและบุคคลกรที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงเท่าเทียมกับมาตราฐานสากล 3. สร้างและฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประชาชนและสังคมต่อ ระบบราชการ 4. สร้างระบบราชการให้ตอบสนองต่อความต้องการที่ หลากหลายของประชาชน 5. มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม 6. สนับสนุนภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนให้เติบโต มีความเข้มแข็ง และเป็นกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ มีเจตนารมย์ของการปฏิรูประบบราชการ เพื่อที่จะแก้ไขพื้น ฐานของระบบราชการที่หมักหมมมานานจนประชาชนลดความศรัทธา นั่นคือ ปัญหาประสิทธิภาพตำ่า โครงสร้างองค์กรที่ตึงตัวไม่ยืดหยุ่น การรวมศูนย์อำานาจและตัดสินใจไว้ที่ส่วนกลางมากเกินไป กฎ ระเบียบ และเทคโนโลยีไม่ทันสมัย เงินเดือน และค่าตอบแทน ข้าราชการไม่จูงใจ ค่านิยม ข้าราชการแบบนั้นดั้งเดิม ข้าราชการ ด้อยคุณภาพ รวมไปถึงปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ จุดเน้นที่สำาคัญที่สุดของการปฏิรูประบบราชการครั้งนี้ คือ การปรับราชการให้มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูง เปิดโอกาสให้ ประชาชนและประชาสังคมให้เจ้ามามีส่วนร่วม ใช้งบประมาณแนว ใหม่เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนในการปฏิรูประบบราชการ และจัดระบบ เงินเดือนและค่าตอบแทนเพื่อสร้างข้าราชการ มืออาชีพ ซือสัตย์ ่ และคำานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมให้มากที่สุด กระบวนการปฏิรูประบบราชการ ยุทธศาสตร์ในการปฏิรูประบบราชการ 4 ประการ คือ 67
  • 14. ระบบบริหารราชการไทย 1. จัดโครงสร้างหน่วยงานภาคราชการให้มีขนาดกะทัดรัด คล่องตัวมีผู้รับผิดชอบการบริหารงานและผลงานตามแบบบทบาท ภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน 2. จัดระบบงบประมาณและวิธีการงบประมาณให้เป็นงบ ประมาณเชิงยุทธศาสตร์ 3. สร้างระบบการทำางานที่สั้น รวดเร็ว และมีผู้รับผิดชอบ ที่ชัดเจนวัดผลงานได้ โดยใช้เงินเดือนค่าตอบแทนตามผลงาน (Performance Based Incentive) สร้างระบบสรรหาแต่งตังบุคลากร ้ ของราชการได้ โปร่งใสและเป็นธรรม 4. ปรับปรุงกลไกการทำางานของหน่วยราชการให้มี ประสิทธิภาพและสามารถแข่งขันกับ หน่วยงานประเภทเดียวกันได้ และข้าราชการจะต้องปรับทัศนคติและกรอบความคิดใหม่ให้เป็นผู้ที่ ทำางานที่มีมาตรฐานในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม แนวโน้มหรือทิศทางการบริหารราชการของไทยในอนาคต การปฏิรูประบบราชการเป็นงานที่ต้องกระทำาอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง จึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรมและทันการณ์ สำาหรับประเทศไทยมีเรื่องใหญ่ๆ ทีต้องการดำาเนินงานในชั้นแรกเพื่อ ่ เป็นตัวเร่งหรือขับเคลื่อนสำาคัญที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น ลูกโซ่ นั่นคือ 1.ขจัดภารกิจที่ไม่จำาเป็นให้ความสำาคัญต่อการกำาหนด บทบาทภารกิจหลักให้ชัดเจนเพื่อปรับระบบและโครงสร้างราชการให้ มีเอกภาพ ชัดเจน มีขนาดที่เหมาะสม แต่มีประสิทธิภาพสูง 2. ปรับปรุงระบบการบริหารงานของหน่วยงานในระดับ ต่างๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรมและสามารถตรวจสอบได้ 3.ปรับแนวทางและวิธีการบริหารงบประมาณโดยให้เน้น นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาของรัฐเป็นตัวกำาหนดเพื่อใช้ระบบ งบประมาณแนวใหม่เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ 68
  • 15. ระบบบริหารราชการไทย 4.จัดระบบการบริหารบุคคลและเงินเดือนค่าตอบแทนของ ระบบราชการใหม่เพื่อสร้าง ข้าราชการมืออาชีพและเป็นก ลางทางการเมืองสร้างกลไกการส่งเสริมให้คนมีคุณภาพสูงมารับ ราชการเป็นอาชีพ การบำารุงขวัญกำาลังใจเพื่อให้ราชการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซื่อสัตย์และสร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม 5.ปรับระบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและเปิดโอกาสให้ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการกระบวน การตัดสินใจและการตรวจสอบงานภาครัฐมากขึ้น 6. ปรับระบบราชการให้เป็น (Net Govenment) คือมี โครงสร้าง บทบาทภาระหน้าที่และระบบการบริหารราชการที่เหมาะ สมกับความต้องการของประเทศและประชาชนโดยใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาขับเคลื่อนทรัพยากรและความรู้ความ สามารถของทุกหน่วยงานรัฐให้ทำางานร่วมกันในการแก้ปัญหา การให้ บริการประชาชนและให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสาร (People & User Frindly) ทั้งนี้การแก้ไขปัญหาจะมองปัญหาในมุมมองของ ประชาชน ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะทำาให้ประชาชนได้รับบริการของรัฐใน แบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว (One Stop Service) ประชาชนเข้ามาใช้ บริการได้ง่ายสะดวก 7. สร้างพันธกิจขอระบบบริหารภาครัฐแนวใหม่โดยทำาลาย ลด ละ เลิกสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ล้าสมัยหมดความจำาเป็น หรือซำ้า ซ้อนกับงานที่ของหน่วยงานทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาค ประชาชนและรักษาสิ่งดีของภาครัฐที่มีอยู่ไว้รวมทั้งนำาส่วนดีของภาค เอกชนมาเพิ่มเติมในการปรับปรุงงานภาครัฐ 8. มุงเน้นการทำางานแบบ (Network) เปลี่ยนระบบการ ่ ทำางานจากตาม (Function) มาเป็นการทำางานตาม (Objective) และ (Result -Out) ตลอดจนปรับระบบการทำางานให้สั้น กะทัดรัด รวดเร็ว และโปร่งใส 9. พัฒนาข้าราชการให้เป็นมืออาชีพรวมทั้งปรับกระบวน ทัศน์ราชการให้คิดแบบ (Outside - In) คือการคิดโดยเอาเองผล 69
  • 16. ระบบบริหารราชการไทย ประโยชน์ของประเทศชาติ ประชาชนเป็นที่ตงก่อนประโยชน์ของ ั้ หน่วยงาน มิใช่เป็นการคิดแบบ (Inside - Out) อย่างเดียว 10. ปรับโครงสร้างและบทบาทของรัฐใหม่ รวมปรับปรุง สังคายนากฎหมายกฎระเบียบให้ทันสมัยมีน้อยแต่ชัดเจน นอกจากนั้นแล้วจะปรับระบบการบริหารบุคคลให้ทันโลก ปรับเงินเดือนข้าราชการให้ทันตลาดเพื่อให้ได้มืออาชีพเข้ามาบริหาร ราชการ 11. สร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบราชการให้เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางการปฏิรูประบบราชการจำาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วม แรง ร่วมใจจากกลุ่มบุคคลหลายฝ่ายการปฏิรูประบบราชการจะไม่มี โอกาสสอดพบกับความสำาเร็จได้อย่างแท้จริง หากการปฏิรูปดำาเนิน การโดยกลุ่มคนเพียงบางกลุ่ม การสร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบ ราชการจะต้องสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมลงไปถึงระดับรากหญ้าของ สังคม 12. สร้างกระแสการยอมรับในระบบราชการ เพื่อให้ ข้าราชการมีทัศนคติที่ยอมรับต่อความเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับ แนวทางและวิธีการกระตุ้นเร่งเร้าเพื่อให้เกิดการยอมรับการปฏิรูป ระบบราชการ โดยจะต้องสร้างระบบให้เห็นผลกระทบในเชิงลบ และ เสนอข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา เพื่อให้เกิดความตระหนักร่วม กันในการปฏิรูประบบราชการ 13. มีกฎหมายการปฏิรูประบบราชการไว้เป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างแท้จริง กฎหมายดังกล่าวจะมีความ สำาคัญต่อการปฏิรูประบบราชการเป็นอย่างยิ่งและเป็นเครื่องมือที่จะ นำามาใช้ในแง่มุมของการบังคับเพื่อให้เกิดการปฏิรูป โดยสามารถนำา มาใช้เป็นเครื่องมือของการบริหารจัดการ เป็นกลไกในการสร้างพลัง ขับเคลื่อน รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือการตรวจสอบผลการดำาเนินงาน ของฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำา ตลอดจนเป็นเครื่องมือของ 70
  • 17. ระบบบริหารราชการไทย ประชาชนในการกำาหนดเป้าหมาย การติดตามและการสนับสนุนการ ดำาเนินงานได้อีกทางหนึง ่ 14. มีการนำาเสนอปัญหาและความจำาเป็นในการปฏิรูป อย่างรุนแรง เพื่อกระตุ้นให้สังคมมองเห็นความสำาคัญและความ จำาเป็นที่จะต้องปฏิรูประบบราชการอย่างจริงจัง พร้อมทั้งมีการจัด ลำาดับความสำาคัญของปัญหาเร่งด่วนที่จะต้องดำาเนินการให้เห็นอย่าง ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการระดมสรรพกำาลังและทรัพยากรการ บริหารทุกด้านเข้าไปดำาเนินการ 15. การทำางานในเชิงรุก (Pro - Active) ให้มากขึ้น และเน้นการสร้างความร่วมระหว่างผู้กำาหนดนโยบายกับกลุ่มเป้า หมายที่ต้องการผลักดันให้การเปลี่ยนแปลงรวมทั้งการพัฒนาและการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะให้เกิดผลในการปฏิรูประบบราชการควรจะ ต้องมีการศึกษา (Research) เพื่อเป็น รากฐานสนับสนุนความคิด ในการเปลี่ยนแปลงนั้นด้วย ผลพวงของการปฏิ รู ป ระบบราชการ ที่ มี เ ป้ า หมายเพื่ อ ทำา ให้การบริห ารงานในส่ ว นของระบบราชการกระชั บ ฉับ ไว ตอบ สนองความพึ ง พอใจของประชาชนได้ นั้ น อาจจะต้ อ งอาศั ย ปั จ จั ย หลายๆด้านประกอบกัน ดังที่กล่าวมาแล้ว แต่ทั้งนี้การที่จะทำาให้เป้า หมายสั ม ฤทธิ์ ผ ลอย่ า งถาวรแล้ ว ต้ อ งเกิ ด จากการรวมพลั ง ของทั้ ง ข้าราชการ และประชาชน 71
  • 18. ระบบบริหารราชการไทย กิจกรรมท้ายบท 1. มูลเหตุ ของการปฏิรูประบบราชการในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5) 2. สาเหตุของการปฏิรูประบบราชการของไทยในปัจจุบัน ประกอบ ด้วยอะไร อย่างไร 3. ในการปฏิรูประบบราชการของไทยในปัจจุบันนั้น มีการแบ่งกลุ่ม กระทรวงตามภารกิจ เหตุใดจึงต้องมีการดำาเนินการเช่นนั้น 72