SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
คานาม
ความหมายของคานาม
คานาม คือคาที่ใช้เรียก บุคคล สัตว์ วัตถุ สิ่งของ สภาพ
ธรรมชาติ สถานที่ ความคิด ความเชื่อค่านิยม คือรวมทั้งสิ่งมีชีวิต
และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม
• สุนทรภู่ เป็นคาที่ใช้เรียก คน
• อั้ม พัชราภา เป็นคาที่ใช้เรียก คน
• พลายประกายมาศ เป็นคาที่ใช้เรียก สัตว์
(ช้างในวรรณคดีเรื่อง ราชาธิราช)
• ปลานีโม่ เป็นคาที่ใช้เรียก สัตว์
• รถยนต์ เป็นคาที่ใช้เรียก สิ่งของ
• หนังสือ เป็นคาที่ใช้เรียก สิ่งของ
• ความสาเร็จ เป็นคาที่ใช้เรียก สภาพ
• ความสวย เป็นคาที่ใช้เรียก สภาพ
• การละเล่น เป็นคาที่ใช้เรียก อาการ
• การออกกาลังกาย เป็นคาที่ใช้เรียก อาการ
ชนิดของคานาม
คานาม แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด ได้แก่
• ๑. คานามทั่วไป (สามานยนาม)
• ๒. คานามเฉพาะ (วิสามานยนาม)
• ๓. คานามบอกลักษณะ (ลักษณนาม)
• ๔. คานามบอกหมวดหมู่ (สมุหนาม)
• ๕. คานามบอกอาการ (อาการนาม)
๑. คานามทั่วไป (สามานยนาม
หมายถึง คานามที่ใช้เรียกสิ่งต่าง ๆ โดยทั่วไป มิได้ระบุแน่นอนว่า
เป็นสิ่งนี้ มีชื่อเรียกอย่างนี้ หรือสิ่งนั้นมีชื่อเรียกอย่างนั้น เช่น คน บ้าน
วัด โรงเรียน สัตว์ ข้าว ช้าง ดิน น้า บาป บุญ ใจ แมว อาหาร
ทหาร ตารวจ รถไฟ ไก่ย่าง ประชาธิปไตย คุณธรรม เศรษฐกิจ
พอเพียง ภูมิศาสตร์ จิตวิทยา ฯลฯ
• คานามสามัญอาจมีความหมายแคบกว้างต่างกัน คานามสามัญที่มี
ความหมายแคบ อาจเป็น
• ประเภทย่อยของคานามสามัญที่มีความหมายกว้าง เช่น ผลไม้ ทุเรียน
มะม่วง ชมพู่ ก้านยาว หมอนทอง
• ฟ้ าลั่น เขียวเสวย แก้มแหม่ม มะเหมี่ยว ฯลฯ ต่างก็เป็นคานามสามัญ
แต่มีความหมายแคบกว้างต่างกัน
• คือ ผลไม้มีความหมายกว้างเมื่อเทียบกับทุเรียน มะม่วง ชมพู่ ซึ่งมี
ความหมายแคบ ทุเรียนมีความหมายกว้าง เมื่อเทียบกับก้านยาว
หมอนทอง ซึ่งมีความหมายแคบมะม่วงมีความหมายกว้างเมื่อเทียบกับ
ฟ้ าลั่น เขียวเสวย ซึ่งมีความหมายแคบ ชมพู่มีความหมายกว้างเมื่อ
เทียบกับแก้มแหม่ม มะเหมี่ยว ซึ่งมีความหมายแคบเป็นต้น
ตัวอย่าง
ตัวอย่างคาสามานยนาม และการใช้
• เต่ากินผักบุ้ง
• ดินสออยู่ในกระเป๋ า
• วิชาทาให้เกิดปัญญา
• นักเรียนอ่านหนังสือ
• เด็กนั่งอยู่ในโรงเรียน
• บ้านเป็นที่อาศัยของคน
๒. คานามเฉพาะ (วิสามานยนาม)
หมายถึง คาที่ใช้เป็นชื่อเฉพาะเจาะจงของบุคคล สัตว์ พืช สถานที่
หรือสิ่งของโดยเจาะจงลงไปว่า เป็นใครหรือเป็นอะไร
ตัวอย่าง
ตัวอย่างคาวิสามานยนาม และการใช้
• ณเดชน์ แสดงภาพยนตร์เรื่องคู่กรรม
• เมื่อวันเสาร์ฉันไปเที่ยวสวนนกชัยนาท
• เดือนธันวาคมนี้ฉันจะกลับบ้านที่สุโขทัย
• เขื่อนภูมิพลเป็นเขื่อนคอนกรีตขนาดใหญ่
• ครูกาญจนาสอนซ่อมเสริมเด็กหญิงสุภาพร
• จุดเริ่มต้นของแม่น้าเจ้าพระยาอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์
• นางสาวสโรชา มูลน้อย เป็นนักเรียนโรงเรียนวัชรวิทยา
๓. คานามบอกลักษณะ (ลักษณนาม)
หมายถึง คานามที่ทาหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง
ลักษณะ ขนาด หรือปริมาณของคานามนั้นให้ชัดเจนยิ่งขึ้นคานามบอก
ลักษณะหรือลักษณนามมักจะปรากฏอยู่หลังคาบอกจานวนหรือเลขบอก
จานวน
ตัวอย่าง
ตัวอย่างคาลักษณนาม และการใช้
• ผ้า ๑ กุลี มี ๒๐ ผืน
• จักร ๑ คัน เย็บเสื้อ ๓ ตัว
• รถ ๑ คัน บรรทุกไม้ ๕ แผ่น
• พระภิกษุ ๓ รูป กาลังเดินมา
• คลินิก ๑ แห่ง มีแพทย์ ๓ คน
• แห ๑ ปาก ตากอยู่บนไม้ไผ่ ๒ ลา
• ใน ๑ สัปดาห์ เห็นรุ้งกินน้า ๒ ตัว
• พระราชวัง ๑ แห่ง มีสุลต่าน ๑ องค์
• รถ ๑ คัน มีสายพานที่มองเห็น ๒ เส้น
• เขาเขียนจดหมาย ๔ ฉบับ ภายใน ๑ วัน
๔. คานามบอกหมวดหมู่ (สมุหนาม)
หมายถึง คานามที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ ที่อยู่รวมกันเป็น
หมวดหมู่
ตัวอย่าง
ตัวอย่างคาสมุหนาม และการใช้
• ฝูงผึ้งกาลังทารัง
• โขลงช้างเดินผ่านทุ่งหญ้า
• กองทหารตั้งค่ายอยู่ที่ชายเขา
• คณะกรรมการกาลังตรวจบัญชี
• เหล่ากาชาดจังหวัดกาแพงเพชรออกร้านงานนบพระเล่นเพลง
๕. คานามบอกอาการ (อาการนาม)
หมายถึง คานามที่เป็นชื่อกริยาอาการต่าง ๆ ของคน สัตว์ สิ่งของ
ซึ่งเกิดคากริยา หรือคาวิเศษณ์ ที่มีคาว่า "การ" หรือ "ความ" นาหน้า
ตัวอย่าง
ตัวอย่างคาอาการนามและการใช้
• ไม่มีใครหนีความตายได้พ้น
• การประท้วงเริ่มขึ้นเมื่อวานนี้
• ฉันจาความฝันเมื่อคืนนี้ได้แม่นยา
• การลงมติเป็นไปอย่างเป็นเอกฉันท์
• เขาไม่ชอบฟังการปราศรัยของนักการเมือง
• การเจรจาในวันนี้ประสบความสาเร็จด้วยดี
• ความคิดที่รอบคอบจะช่วยผ่านอุปสรรคนี้ไปได้
• การเลี้ยงสัตว์ช่วยให้เกิดความรักและความเข้าใจจิตใจผู้อื่น
ข้อสังเกต
หน้าที่ของคานาม
๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น
- ตารวจจับผู้ร้ายสถานที่ หรือขยายกริยาให้ชัดเจนขึ้น
- นงลักษณ์ชอบอ่านหนังสือ
๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น
- พ่อตีสุนัข
- สมชายอ่านจดหมาย
๓. ทาหน้าที่เป็นส่วนขยายคานามอื่น เพื่อทาให้นามที่ถูกขยายชัดเจนขึ้น เช่น
- สมศรีเป็นข้าราชการครู
- นายสมศักดิ์ทนายความฟ้องนายปัญญาพ่อค้า
๔. ทาหน้าที่เป็นตัวขยายกริยาหรือคานามอื่น เช่น
- เขาชอบมาตอนกลางวัน
- คุณพ่อจะไปเชียงใหม่วันเสาร์
๕. ทาหน้าที่ตามหลังคาบุพบท เพื่อบอกสถานที่ หรือขยายกริยาให้มี
เนื้อความบอกสถานที่ชัดเจนขึ้น เช่น
- นักเรียนไปโรงเรียน
- คุณแม่ของเด็กหญิงสายฝนเป็นครู
๖. ทาหน้าที่เป็นคาเรียกขาน เช่น
- ตารวจช่วยด้วย
- น้าฝนช่วยหยิบปากกาให้ครูทีสิ

More Related Content

What's hot

แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 

What's hot (20)

คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 

Similar to คำนาม

นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5ปวริศา
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำspeedpiyawat
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
PowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationPowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationVisualBee.com
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 

Similar to คำนาม (20)

นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
PowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationPowerPoint Presentation
PowerPoint Presentation
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 

คำนาม

  • 2. ความหมายของคานาม คานาม คือคาที่ใช้เรียก บุคคล สัตว์ วัตถุ สิ่งของ สภาพ ธรรมชาติ สถานที่ ความคิด ความเชื่อค่านิยม คือรวมทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม
  • 3. • สุนทรภู่ เป็นคาที่ใช้เรียก คน • อั้ม พัชราภา เป็นคาที่ใช้เรียก คน • พลายประกายมาศ เป็นคาที่ใช้เรียก สัตว์ (ช้างในวรรณคดีเรื่อง ราชาธิราช) • ปลานีโม่ เป็นคาที่ใช้เรียก สัตว์ • รถยนต์ เป็นคาที่ใช้เรียก สิ่งของ • หนังสือ เป็นคาที่ใช้เรียก สิ่งของ • ความสาเร็จ เป็นคาที่ใช้เรียก สภาพ • ความสวย เป็นคาที่ใช้เรียก สภาพ • การละเล่น เป็นคาที่ใช้เรียก อาการ • การออกกาลังกาย เป็นคาที่ใช้เรียก อาการ
  • 4. ชนิดของคานาม คานาม แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด ได้แก่ • ๑. คานามทั่วไป (สามานยนาม) • ๒. คานามเฉพาะ (วิสามานยนาม) • ๓. คานามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) • ๔. คานามบอกหมวดหมู่ (สมุหนาม) • ๕. คานามบอกอาการ (อาการนาม)
  • 5. ๑. คานามทั่วไป (สามานยนาม หมายถึง คานามที่ใช้เรียกสิ่งต่าง ๆ โดยทั่วไป มิได้ระบุแน่นอนว่า เป็นสิ่งนี้ มีชื่อเรียกอย่างนี้ หรือสิ่งนั้นมีชื่อเรียกอย่างนั้น เช่น คน บ้าน วัด โรงเรียน สัตว์ ข้าว ช้าง ดิน น้า บาป บุญ ใจ แมว อาหาร ทหาร ตารวจ รถไฟ ไก่ย่าง ประชาธิปไตย คุณธรรม เศรษฐกิจ พอเพียง ภูมิศาสตร์ จิตวิทยา ฯลฯ
  • 6. • คานามสามัญอาจมีความหมายแคบกว้างต่างกัน คานามสามัญที่มี ความหมายแคบ อาจเป็น • ประเภทย่อยของคานามสามัญที่มีความหมายกว้าง เช่น ผลไม้ ทุเรียน มะม่วง ชมพู่ ก้านยาว หมอนทอง • ฟ้ าลั่น เขียวเสวย แก้มแหม่ม มะเหมี่ยว ฯลฯ ต่างก็เป็นคานามสามัญ แต่มีความหมายแคบกว้างต่างกัน • คือ ผลไม้มีความหมายกว้างเมื่อเทียบกับทุเรียน มะม่วง ชมพู่ ซึ่งมี ความหมายแคบ ทุเรียนมีความหมายกว้าง เมื่อเทียบกับก้านยาว หมอนทอง ซึ่งมีความหมายแคบมะม่วงมีความหมายกว้างเมื่อเทียบกับ ฟ้ าลั่น เขียวเสวย ซึ่งมีความหมายแคบ ชมพู่มีความหมายกว้างเมื่อ เทียบกับแก้มแหม่ม มะเหมี่ยว ซึ่งมีความหมายแคบเป็นต้น
  • 8. ตัวอย่างคาสามานยนาม และการใช้ • เต่ากินผักบุ้ง • ดินสออยู่ในกระเป๋ า • วิชาทาให้เกิดปัญญา • นักเรียนอ่านหนังสือ • เด็กนั่งอยู่ในโรงเรียน • บ้านเป็นที่อาศัยของคน
  • 9. ๒. คานามเฉพาะ (วิสามานยนาม) หมายถึง คาที่ใช้เป็นชื่อเฉพาะเจาะจงของบุคคล สัตว์ พืช สถานที่ หรือสิ่งของโดยเจาะจงลงไปว่า เป็นใครหรือเป็นอะไร
  • 11. ตัวอย่างคาวิสามานยนาม และการใช้ • ณเดชน์ แสดงภาพยนตร์เรื่องคู่กรรม • เมื่อวันเสาร์ฉันไปเที่ยวสวนนกชัยนาท • เดือนธันวาคมนี้ฉันจะกลับบ้านที่สุโขทัย • เขื่อนภูมิพลเป็นเขื่อนคอนกรีตขนาดใหญ่ • ครูกาญจนาสอนซ่อมเสริมเด็กหญิงสุภาพร • จุดเริ่มต้นของแม่น้าเจ้าพระยาอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์ • นางสาวสโรชา มูลน้อย เป็นนักเรียนโรงเรียนวัชรวิทยา
  • 12. ๓. คานามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) หมายถึง คานามที่ทาหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาด หรือปริมาณของคานามนั้นให้ชัดเจนยิ่งขึ้นคานามบอก ลักษณะหรือลักษณนามมักจะปรากฏอยู่หลังคาบอกจานวนหรือเลขบอก จานวน
  • 14. ตัวอย่างคาลักษณนาม และการใช้ • ผ้า ๑ กุลี มี ๒๐ ผืน • จักร ๑ คัน เย็บเสื้อ ๓ ตัว • รถ ๑ คัน บรรทุกไม้ ๕ แผ่น • พระภิกษุ ๓ รูป กาลังเดินมา • คลินิก ๑ แห่ง มีแพทย์ ๓ คน • แห ๑ ปาก ตากอยู่บนไม้ไผ่ ๒ ลา • ใน ๑ สัปดาห์ เห็นรุ้งกินน้า ๒ ตัว • พระราชวัง ๑ แห่ง มีสุลต่าน ๑ องค์ • รถ ๑ คัน มีสายพานที่มองเห็น ๒ เส้น • เขาเขียนจดหมาย ๔ ฉบับ ภายใน ๑ วัน
  • 15. ๔. คานามบอกหมวดหมู่ (สมุหนาม) หมายถึง คานามที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ ที่อยู่รวมกันเป็น หมวดหมู่ ตัวอย่าง
  • 16. ตัวอย่างคาสมุหนาม และการใช้ • ฝูงผึ้งกาลังทารัง • โขลงช้างเดินผ่านทุ่งหญ้า • กองทหารตั้งค่ายอยู่ที่ชายเขา • คณะกรรมการกาลังตรวจบัญชี • เหล่ากาชาดจังหวัดกาแพงเพชรออกร้านงานนบพระเล่นเพลง
  • 17.
  • 18. ๕. คานามบอกอาการ (อาการนาม) หมายถึง คานามที่เป็นชื่อกริยาอาการต่าง ๆ ของคน สัตว์ สิ่งของ ซึ่งเกิดคากริยา หรือคาวิเศษณ์ ที่มีคาว่า "การ" หรือ "ความ" นาหน้า ตัวอย่าง
  • 19. ตัวอย่างคาอาการนามและการใช้ • ไม่มีใครหนีความตายได้พ้น • การประท้วงเริ่มขึ้นเมื่อวานนี้ • ฉันจาความฝันเมื่อคืนนี้ได้แม่นยา • การลงมติเป็นไปอย่างเป็นเอกฉันท์ • เขาไม่ชอบฟังการปราศรัยของนักการเมือง • การเจรจาในวันนี้ประสบความสาเร็จด้วยดี • ความคิดที่รอบคอบจะช่วยผ่านอุปสรรคนี้ไปได้ • การเลี้ยงสัตว์ช่วยให้เกิดความรักและความเข้าใจจิตใจผู้อื่น
  • 21. หน้าที่ของคานาม ๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น - ตารวจจับผู้ร้ายสถานที่ หรือขยายกริยาให้ชัดเจนขึ้น - นงลักษณ์ชอบอ่านหนังสือ ๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น - พ่อตีสุนัข - สมชายอ่านจดหมาย ๓. ทาหน้าที่เป็นส่วนขยายคานามอื่น เพื่อทาให้นามที่ถูกขยายชัดเจนขึ้น เช่น - สมศรีเป็นข้าราชการครู - นายสมศักดิ์ทนายความฟ้องนายปัญญาพ่อค้า
  • 22. ๔. ทาหน้าที่เป็นตัวขยายกริยาหรือคานามอื่น เช่น - เขาชอบมาตอนกลางวัน - คุณพ่อจะไปเชียงใหม่วันเสาร์ ๕. ทาหน้าที่ตามหลังคาบุพบท เพื่อบอกสถานที่ หรือขยายกริยาให้มี เนื้อความบอกสถานที่ชัดเจนขึ้น เช่น - นักเรียนไปโรงเรียน - คุณแม่ของเด็กหญิงสายฝนเป็นครู ๖. ทาหน้าที่เป็นคาเรียกขาน เช่น - ตารวจช่วยด้วย - น้าฝนช่วยหยิบปากกาให้ครูทีสิ