SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
การพิจารณาว่าบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาหรือไม่นั้น ประการแรกต้องดูว่าการกระทา
ของบุคคลนั้นครบ “องค์ประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติหรือไม่หากครบองค์ประกอบที่กฎหมาย
บัญญัติ แล้วก็ต้องดูต่อไปว่าการกระทามีกฎหมายยกเว้นความผิดหรือไม่หากไม่มีกฎหมาย
ยกเว้นความผิด ก็ต้องดูต่อไปว่ามีกฎหมายยกเว้นโทษหรือไม่ เมื่อไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษก็มี
หมายความว่าบุคคลนั้นจะต้องรับผิดในทางอาญาองค์ประกอบความรับผิดทางอาญามี 4
องค์ประกอบใหญ่ดังนี้1.การกระทา อาจแบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1.1.การกระทาโดยการ
เคลื่อนไหวร่างกาย แบ่งออกเป็น 1.1.1.การกระทาโดยตรง 1.1.2.กระทาโดยอ้อม มาตรา
59 วรรคแรก บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทา โดยเจตนาเว้นแต่จะได้
กระทาความโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมาย บัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กระทาโดยประมาท
หรือเว้น แต่ในกรณี ที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทาโดยไม่มี เจตนา
1.2.การกระทาโดยไม่เคลื่อนไหวร่างกาย แบ่งออกเป็น1.2.1.งดเว้นการกระทาซึ่งการกระทา
โดย “งดเว้น” มีหลักเกณฑ์ คือ - เป็นการกระทาโดยการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย - ผู้กระทามี
หน้าที่ต้องกระทา ซึ่งเป็นหน้าที่ซึ่งต้องกระทาโดยเฉพาะเพื่อป้ องกันผลที่เกิด ขึ้นนั้น มาตรา 59
วรรคท้าย การกระทา ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดยงด เว้นการที่จัก
ต้องกระทาเพื่อป้ องกันผลนั้นด้วย1.2.2.ละเว้นการกระทา ซึ่งการกระทาโดย “ละเว้น” มี
หลักเกณฑ์ คือ - เป็นการกระทาโดยการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย - ผู้กระทามีหน้าที่ต้องกระทา ซึ่ง
เป็นหน้าที่โดยทั่ว ๆ ไปมาตรา 157 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่
โดยมิชอบ เพื่อให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดย
ทุจริต ต้องระวางโทษจา คุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับการกระทาโดยงดเว้น/ละเว้น ต่างกันตรงหน้าที่- หน้าที่โดยทั่ว ๆ ไป
(GENERAL DUTY) การไม่ทาตามหน้าที่ถือเป็นการกระทาโดยละเว้นพูดอีกอย่างได้ว่า
“ละเว้น”เป็นกรณีที่บัญญัติไว้เพื่อเป็นหน้าที่พลเมืองดี เมื่อเห็นผู้ใดตกในอันตราย หากสามารถ
ช่วยได้ต้องช่วย ซึ่ง“ละเว้น” นั้นเป็นความผิดลหุโทษ (ความผิดลหุโทษคือความผิดเล็ก ๆ น้อย
ๆ ซึ่งมีอัตราโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือ ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท)- หน้าที่โดยเฉพาะเพื่อ
ป้ องกันผล (SPECIAL DUTY) การไม่ทาตามหน้าที่เป็นการกระทาโดยงดเว้น 2.
องค์ประกอบภายนอก แบ่งออกเป็น - ผู้กระทา - การกระทา - วัตถุแห่งการกระทา ผู้กระทา
ความผิดในทางอาญา แยกได้ 3 ประเภท - ผู้กระทาความผิดเอง ผู้นั้นได้กระทาความผิดด้วย
ตนเองโดยตรง เช่น แดงใช้ปืนยิงดาด้วยมือของ แดงเองเช่นนี้ถือว่าเป็นผู้กระทาความผิดเอง
การใช้สัตว์เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิดการใช้บุคคลซึ่งไม่มีการกระทา เช่น ถูกสะกดจิต
เป็นเครื่องมือถือว่าเป็นการกระทาความผิดเอง - ผู้กระทาความผิดโดยทางอ้อม ผู้ที่หลอกให้
ผู้อื่นกระทาความผิด ผู้ถูกหลอกมีการกระทาแต่ขาด เจตนา ผู้ถูกหลอกมีการกระทาเพราะไม่ได้
ถูกสะกดจิต ไม่ได้ละเมอแต่ผู้ถูกหลอดขาดเจตนา เพราะ ผู้ถูกหลอกไม่รู้ ข้อเท็จจริงอันเป็น
องค์ประกอบภายนอกของความผิด - ผู้ร่วมในการกระทาความผิด ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน การ
กระทา กระบวนการเกิดความผิดทางอาญา 1.คิด 2.ตัดสินใจ 3.ตระเตรียม 4.ลงมือ 5.
พยายาม 6.ความผิดสาเร็จ จะเป็นความผิด ได้ต้องอยู่ในขั้นลงมือแล้ว กรรมของการกระทา
หากไม่มีกรรมของการกระทาจะทาให้ขาดองค์ประกอบความผิด เช่น ลักทรัพย์ของตนเอง, ฆ่า
ตัวตาย ตัวอย่าง องค์ประกอบภายนอก มาตรา 288 ผู้ใดฆ่าผู้อื่น ต้องระวางโทษประหารชีวิต
จาคุกตลอดชีวิต หรือจาคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี ผู้ใด – ผู้กระทา ฆ่า – การกระทา ผู้อื่น –
วัตถุแห่งการกระทา มาตรา 334 ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่น หรือที่ผู้อื่น เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป
โดยทุจริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐานลักทรัพย์ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกิน
หกพันบาท ผู้ใด – ผู้กระทา เอาทรัพย์ – การกระทา ผู้อื่น – วัตถุแห่งการกระทา3.
องค์ประกอบภายใน ตามหลักกฎหมาย คือ เรื่องเจตนา ซึ่งเจตนาตามกฎหมายอาญาสามารถ
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ เจตนาตามความเป็นจริง คือเจตนาประสงค์ต่อผล, เจตนาย่อม
เล็งเห็นผล - เจตนาประเภทประสงค์ต่อผล ทางตาราเรียกว่า “เจตนาโดยตรง” ประสงค์ต่อผล
หมายความว่ามุ่งหมายจะให้เกิดผล ถ้าเกิดผลก็เป็นความผิดสาเร็จ ถ้าผลไม่เกิดก็เป็นผิด
พยายาม - เจตนาเล็งเห็นผล “เจตนาโดยอ้อม” คือเล็งเห็นว่าผลนั้นจะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน
เท่าที่จิตใจของบุคคลในฐานะเช่นนั้นจะเล็งเห็นได้ มาตรา 59 วรรคสอง กระทาโดยเจตนา
ได้แก่กระทาโดยรู้สานึกในการที่กระทา และในขณะเดียวกันผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อม
เล็งเห็นผลของการ กระทานั้น เจตนาโดยผลของกฎหมาย คือเจตนาโดยพลาด - กฎหมาย
อาญาวางหลักว่า “ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการกระทาเกิดแก่อีกบุคคล
หนึ่งโดยพลาด ไป ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนาแก่บุคคลซึ่งได้รับผลร้ายจากการกระทานั้น
แต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ลงโทษหนักขึ้นเพราะฐานะของบุคคล หรือเพราะความสัมพันธ์
ระหว่างผู้กระทากับบุคคลที่ได้รับผลร้าย มิให้นากฎหมายนั้นมาใช้บังคับเพื่อลงโทษผู้กระทาให้
หนักขึ้น”โปรดสังเกตคาว่า “ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนา” ซึ่งอธิบายได้ว่า ที่จริงแล้วการ
กระทาเช่นนี้ไม่เป็นเจตนาเพราะการพิจารณาว่าบุคคลใดกระทาโดยเจตนาหรือไม่ให้พิจารณา
ว่าบุคคลนั้นกระทาโดยเจตนาประสงค์ต่อผลหรือเจตนาย่อมเล็งเห็นต่อผล แต่เพื่อความเป็น
ธรรมต่อผู้ที่ได้รับผลร้าย กฎหมายจึงให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนา จึงอาจเรียกได้ว่าเป็น
“เจตนาโดยผลของกฎหมาย” มาตรา 60 ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการ
กระทาเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาดไป ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนาแก่บุคคลซึ่งได้รับ
ผลร้ายจากการกระทานั้น แต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ลงโทษหนักขึ้น เพราะฐานะของ
บุคคลหรือเพราะความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทากับบุคคลที่ได้รับผลร้าย มิให้นากฎหมายนั้นมา
ใช้บังคับเพื่อลงโทษผู้กระทาให้หนักขึ้น มาตรา 59 วรรคสาม ถ้าผู้กระทามิได้รู้ข้อเท็จจริงอัน
เป็นองค์ประกอบความผิด จะถือว่าผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทา
นั้นมิได้ข้อสังเกต1.ปกติแล้ว การกระทาโดยพลาดจะมีบุคคล 3 ฝ่าย1.1.บุคคลที่กระทา
ความผิด 1.2.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 1.3.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 2.บุคคลที่กระทาความผิด ต้องการ
จะกระทาความผิดต่อ ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 เท่านั้น แต่ผลของการกระทาดังกล่าว ไปเกิดแก่
ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 ด้วย3.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 อาจได้รับผลร้ายเท่ากับ ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 ก็ได้
4.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 อาจได้รับผลร้ายน้อยกว่า ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 ก็ได้ 5.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1
อาจได้รับผลร้ายมากกว่า ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 ก็ได้ หลักต่อมาที่ต้องพิจารณาคือ“ถ้าผู้กระทา
มิได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิดจะถือว่าผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อม
เล็งเห็นผลของการกระทานั้นมิได้”กล่าวคือ ไม่รู้(องค์ประกอบภายนอกของความผิด) ไม่มี
เจตนา การกระทาโดยประมาท มาตรา 59 วรรคสี่ การกระทาโดยประมาท ได้แก่การกระทา
ความผิดมิใช่โดยเจตนาแต่กระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจัก
ต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้
เพียงพอไม่ มาตรา 59 วรรคแรก บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทา โดย
เจตนาเว้นแต่จะได้กระทาความโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมาย บัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้
กระทาโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณี ที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้
กระทาโดยไม่มี เจตนา ดังนั้น บุคคลใดจะต้องรับผิดทางอาญาจะต้องปรากฏว่า บุคคลนั้น
กระทาโดยเจตนา ไม่ว่าเจตนาตามความเป็นจริง(เจตนาประสงค์หรือเล็งเห็นผล) หรือเจตนา
โดยผลของกฎหมาย(เจตนาโดยพลาด)หากบุคคลนั้นกระทาโดยประมาท โดยปกติแล้วไม่ต้อง
รับผิดทางอาญา เช่นประมาททาให้เสียทรัพย์ อย่างไรก็ตามมีข้อยกเว้นในกรณีที่กฎหมาย
บัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กระทาโดยประมาทเช่น ประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
หรือ ประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสเป็นต้น ในกรณีเช่นนี้บุคคลนั้นต้องรับผิด แม้
กระทาโดยประมาท หลักของประมาทโดยสรุปคือ การกระทาโดยมิได้เจตนาแต่ปราศจากความ
ระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะต้องมีความระมัดระวังตามวิสัย และพฤติการณ์ ซึ่งระดับ
ความระมัดระวังนั้นไม่อยู่นิ่งตายตัวขึ้นและลงตามภาวะวิสัยและพฤติการณ์ 4.การกระทา
สัมพันธ์กับผลของการกระทา ในกรณีที่เป็นความผิดซึ่งสามารถแยกผลออกจากการกระทาได้นี้
เมื่อมีผลของการกระทาเกิดขึ้น ผู้กระทาจะต้องรับผิดในผลหรือไม่ มีหลักคือ - ถ้าผลนั้นเป็นผล
โดยตรงผู้กระทาจะต้องรับผิดในผลนั้น ถ้าผลนั้นไม่ใช่ผลโดยตรงผู้กระทาก็ไม่ต้องรับผิดในผล
นั้น ซึ่งในทางกฎหมายใช้ทฤษฎีเงื่อนไขมาอธิบาย อาจอธิบายได้ว่า ถ้าไม่มีการกระทาของ
จาเลยผลก็ไม่เกิดขึ้น จึงต้องถือว่า การกระทาของจาเลยเป็นเหตุของผลนั้น - ถ้าผลโดยตรงทา
ให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลโดยตรงนั้นจะต้องเป็นผลธรรมดาที่อาจเกิดขึ้นได้ด้วย ถ้า
เป็นผลผิดธรรมดาผู้กระทาก็ไม่ต้องรับผิดในผลที่ทาให้ตนต้องรับโทษหนักขึ้นนั้น เช่น กฎหมาย
อาญาฐานทาร้ายร่างกายวางหลักว่า “ผู้ใดทาร้ายเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือ
จิตใจ … ต้องระวางโทษ …”แต่หากว่าการทาร้ายร่างกายนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
สาหัส(เช่นตาบอด, มือขาด, แขนขาด) ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้นหากนายเอกใช้ไม้ตีนายโท
ที่หัว – นายโทได้รับบาดเจ็บหัวแตกเย็บ 1 เข็ม นายเอกมีความผิดทาร้ายเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับ
อันตรายแก่กายหากนายโทตาบอด – ต้องพิจารณาว่า หากนายเอกไม่ตีนายโทคงไม่บาดเจ็บ
และตาบอด อีกทั้งการตาบอดนั้น วิญญูชน(บุคคลทั่วไปในสังคม)พึงคาดหมายได้ว่าหัวเป็น
ศูนย์รวมประสาท หากตีไปที่หัว ผู้เสียหายอาจตาบอดได้ จึงเป็นผลธรรมดาที่อาจเกิดขึ้นได้
นายเอกจึงมีความผิดฐานทาร้ายร่างกายนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสซึ่งมีระวางโทษ
หนักกว่าความผิดฐานทาร้ายเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย มาตรา 63 ถ้าผลของการ
กระทาความผิดใดทาให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทาความผิดนั้นต้องเป็นผล
ที่ตามธรรมดา ย่อมเกิดขึ้นได้ - ถ้าผลโดยตรงนั้นไม่ใช่ผลที่ทาให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น
แต่เป็นผลที่เกิดจากเหตุแทรกแซง ผู้กระทาจะต้องรับผิดในผลบั้นปลายที่เกิดจากเหตุแทรกแซง
นั้นก็ต่อเมื่อผลในบั้นปลายเกิดจากเหตุแทรกแซงที่วิญญูชนคาดหมายได้ ถ้าวิญญูชน
คาดหมายไม่ได้ผู้กระทาก็ไม่ต้องรับผิดในผลบั้นปลายนั้น ตัวอย่าง เช่น นายเอกใช้ปืนปลอม
เล็งยิงนั้นแล้วนายโทตกใจกลัวจนถึงแก่ความตายสมดังเจตนาของนายเอกเป็นผลโดยตรงจาก
นายเอกกระทาความผิดเพราะนายเอกไม่ใช้ปืนปลอมขึ้นเล็งความตายของนายโทก็จะไม่เกิด
ต้องถือว่าความตายเกิดขึ้นเป็นผลโดยตรงจากนายเอกกระทาความผิดและต้องถือว่าเป็นเหตุ
แทรกแซงที่เกิดจากตัวผู้เสียเป็นเหตุอันควรคาดหมายได้เพราะผู้ใดโดนปืนจ่อยิงย่อมต้องตกใจ
เป็นธรรมดา ดังนั้นนายเอกจึงต้องรับผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา

More Related Content

Viewers also liked

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Viewers also liked (19)

การกระทำผิดทางอาญา
การกระทำผิดทางอาญาการกระทำผิดทางอาญา
การกระทำผิดทางอาญา
 
หลักความเป็นธรรมของกฎหมาย
หลักความเป็นธรรมของกฎหมายหลักความเป็นธรรมของกฎหมาย
หลักความเป็นธรรมของกฎหมาย
 
Ppt charuaypon 130
Ppt charuaypon 130Ppt charuaypon 130
Ppt charuaypon 130
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
 
บทความการบริการสาธารณใหม่
บทความการบริการสาธารณใหม่บทความการบริการสาธารณใหม่
บทความการบริการสาธารณใหม่
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
แก๊สชีวภาพ
แก๊สชีวภาพแก๊สชีวภาพ
แก๊สชีวภาพ
 
Howie grace
Howie graceHowie grace
Howie grace
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
Biodiversity definition and concept
Biodiversity definition and conceptBiodiversity definition and concept
Biodiversity definition and concept
 
ลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญาลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญา
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word   ปกเอกสารประกอบการสอนMicrosoft word   ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
 

การพิจารณาว่าบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญา

  • 1. การพิจารณาว่าบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาหรือไม่นั้น ประการแรกต้องดูว่าการกระทา ของบุคคลนั้นครบ “องค์ประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติหรือไม่หากครบองค์ประกอบที่กฎหมาย บัญญัติ แล้วก็ต้องดูต่อไปว่าการกระทามีกฎหมายยกเว้นความผิดหรือไม่หากไม่มีกฎหมาย ยกเว้นความผิด ก็ต้องดูต่อไปว่ามีกฎหมายยกเว้นโทษหรือไม่ เมื่อไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษก็มี หมายความว่าบุคคลนั้นจะต้องรับผิดในทางอาญาองค์ประกอบความรับผิดทางอาญามี 4 องค์ประกอบใหญ่ดังนี้1.การกระทา อาจแบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1.1.การกระทาโดยการ เคลื่อนไหวร่างกาย แบ่งออกเป็น 1.1.1.การกระทาโดยตรง 1.1.2.กระทาโดยอ้อม มาตรา 59 วรรคแรก บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทา โดยเจตนาเว้นแต่จะได้ กระทาความโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมาย บัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กระทาโดยประมาท หรือเว้น แต่ในกรณี ที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทาโดยไม่มี เจตนา 1.2.การกระทาโดยไม่เคลื่อนไหวร่างกาย แบ่งออกเป็น1.2.1.งดเว้นการกระทาซึ่งการกระทา โดย “งดเว้น” มีหลักเกณฑ์ คือ - เป็นการกระทาโดยการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย - ผู้กระทามี หน้าที่ต้องกระทา ซึ่งเป็นหน้าที่ซึ่งต้องกระทาโดยเฉพาะเพื่อป้ องกันผลที่เกิด ขึ้นนั้น มาตรา 59 วรรคท้าย การกระทา ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดยงด เว้นการที่จัก ต้องกระทาเพื่อป้ องกันผลนั้นด้วย1.2.2.ละเว้นการกระทา ซึ่งการกระทาโดย “ละเว้น” มี หลักเกณฑ์ คือ - เป็นการกระทาโดยการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย - ผู้กระทามีหน้าที่ต้องกระทา ซึ่ง เป็นหน้าที่โดยทั่ว ๆ ไปมาตรา 157 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ เพื่อให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดย ทุจริต ต้องระวางโทษจา คุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับการกระทาโดยงดเว้น/ละเว้น ต่างกันตรงหน้าที่- หน้าที่โดยทั่ว ๆ ไป (GENERAL DUTY) การไม่ทาตามหน้าที่ถือเป็นการกระทาโดยละเว้นพูดอีกอย่างได้ว่า “ละเว้น”เป็นกรณีที่บัญญัติไว้เพื่อเป็นหน้าที่พลเมืองดี เมื่อเห็นผู้ใดตกในอันตราย หากสามารถ ช่วยได้ต้องช่วย ซึ่ง“ละเว้น” นั้นเป็นความผิดลหุโทษ (ความผิดลหุโทษคือความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ ซึ่งมีอัตราโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือ ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท)- หน้าที่โดยเฉพาะเพื่อ
  • 2. ป้ องกันผล (SPECIAL DUTY) การไม่ทาตามหน้าที่เป็นการกระทาโดยงดเว้น 2. องค์ประกอบภายนอก แบ่งออกเป็น - ผู้กระทา - การกระทา - วัตถุแห่งการกระทา ผู้กระทา ความผิดในทางอาญา แยกได้ 3 ประเภท - ผู้กระทาความผิดเอง ผู้นั้นได้กระทาความผิดด้วย ตนเองโดยตรง เช่น แดงใช้ปืนยิงดาด้วยมือของ แดงเองเช่นนี้ถือว่าเป็นผู้กระทาความผิดเอง การใช้สัตว์เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิดการใช้บุคคลซึ่งไม่มีการกระทา เช่น ถูกสะกดจิต เป็นเครื่องมือถือว่าเป็นการกระทาความผิดเอง - ผู้กระทาความผิดโดยทางอ้อม ผู้ที่หลอกให้ ผู้อื่นกระทาความผิด ผู้ถูกหลอกมีการกระทาแต่ขาด เจตนา ผู้ถูกหลอกมีการกระทาเพราะไม่ได้ ถูกสะกดจิต ไม่ได้ละเมอแต่ผู้ถูกหลอดขาดเจตนา เพราะ ผู้ถูกหลอกไม่รู้ ข้อเท็จจริงอันเป็น องค์ประกอบภายนอกของความผิด - ผู้ร่วมในการกระทาความผิด ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน การ กระทา กระบวนการเกิดความผิดทางอาญา 1.คิด 2.ตัดสินใจ 3.ตระเตรียม 4.ลงมือ 5. พยายาม 6.ความผิดสาเร็จ จะเป็นความผิด ได้ต้องอยู่ในขั้นลงมือแล้ว กรรมของการกระทา หากไม่มีกรรมของการกระทาจะทาให้ขาดองค์ประกอบความผิด เช่น ลักทรัพย์ของตนเอง, ฆ่า ตัวตาย ตัวอย่าง องค์ประกอบภายนอก มาตรา 288 ผู้ใดฆ่าผู้อื่น ต้องระวางโทษประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิต หรือจาคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี ผู้ใด – ผู้กระทา ฆ่า – การกระทา ผู้อื่น – วัตถุแห่งการกระทา มาตรา 334 ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่น หรือที่ผู้อื่น เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป โดยทุจริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐานลักทรัพย์ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกิน หกพันบาท ผู้ใด – ผู้กระทา เอาทรัพย์ – การกระทา ผู้อื่น – วัตถุแห่งการกระทา3. องค์ประกอบภายใน ตามหลักกฎหมาย คือ เรื่องเจตนา ซึ่งเจตนาตามกฎหมายอาญาสามารถ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ เจตนาตามความเป็นจริง คือเจตนาประสงค์ต่อผล, เจตนาย่อม เล็งเห็นผล - เจตนาประเภทประสงค์ต่อผล ทางตาราเรียกว่า “เจตนาโดยตรง” ประสงค์ต่อผล หมายความว่ามุ่งหมายจะให้เกิดผล ถ้าเกิดผลก็เป็นความผิดสาเร็จ ถ้าผลไม่เกิดก็เป็นผิด พยายาม - เจตนาเล็งเห็นผล “เจตนาโดยอ้อม” คือเล็งเห็นว่าผลนั้นจะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน เท่าที่จิตใจของบุคคลในฐานะเช่นนั้นจะเล็งเห็นได้ มาตรา 59 วรรคสอง กระทาโดยเจตนา ได้แก่กระทาโดยรู้สานึกในการที่กระทา และในขณะเดียวกันผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อม
  • 3. เล็งเห็นผลของการ กระทานั้น เจตนาโดยผลของกฎหมาย คือเจตนาโดยพลาด - กฎหมาย อาญาวางหลักว่า “ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการกระทาเกิดแก่อีกบุคคล หนึ่งโดยพลาด ไป ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนาแก่บุคคลซึ่งได้รับผลร้ายจากการกระทานั้น แต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ลงโทษหนักขึ้นเพราะฐานะของบุคคล หรือเพราะความสัมพันธ์ ระหว่างผู้กระทากับบุคคลที่ได้รับผลร้าย มิให้นากฎหมายนั้นมาใช้บังคับเพื่อลงโทษผู้กระทาให้ หนักขึ้น”โปรดสังเกตคาว่า “ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนา” ซึ่งอธิบายได้ว่า ที่จริงแล้วการ กระทาเช่นนี้ไม่เป็นเจตนาเพราะการพิจารณาว่าบุคคลใดกระทาโดยเจตนาหรือไม่ให้พิจารณา ว่าบุคคลนั้นกระทาโดยเจตนาประสงค์ต่อผลหรือเจตนาย่อมเล็งเห็นต่อผล แต่เพื่อความเป็น ธรรมต่อผู้ที่ได้รับผลร้าย กฎหมายจึงให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนา จึงอาจเรียกได้ว่าเป็น “เจตนาโดยผลของกฎหมาย” มาตรา 60 ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการ กระทาเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาดไป ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนาแก่บุคคลซึ่งได้รับ ผลร้ายจากการกระทานั้น แต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ลงโทษหนักขึ้น เพราะฐานะของ บุคคลหรือเพราะความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทากับบุคคลที่ได้รับผลร้าย มิให้นากฎหมายนั้นมา ใช้บังคับเพื่อลงโทษผู้กระทาให้หนักขึ้น มาตรา 59 วรรคสาม ถ้าผู้กระทามิได้รู้ข้อเท็จจริงอัน เป็นองค์ประกอบความผิด จะถือว่าผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทา นั้นมิได้ข้อสังเกต1.ปกติแล้ว การกระทาโดยพลาดจะมีบุคคล 3 ฝ่าย1.1.บุคคลที่กระทา ความผิด 1.2.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 1.3.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 2.บุคคลที่กระทาความผิด ต้องการ จะกระทาความผิดต่อ ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 เท่านั้น แต่ผลของการกระทาดังกล่าว ไปเกิดแก่ ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 ด้วย3.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 อาจได้รับผลร้ายเท่ากับ ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 ก็ได้ 4.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 อาจได้รับผลร้ายน้อยกว่า ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 ก็ได้ 5.ผู้เสียหายฝ่ายที่ 1 อาจได้รับผลร้ายมากกว่า ผู้เสียหายฝ่ายที่ 2 ก็ได้ หลักต่อมาที่ต้องพิจารณาคือ“ถ้าผู้กระทา มิได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิดจะถือว่าผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อม เล็งเห็นผลของการกระทานั้นมิได้”กล่าวคือ ไม่รู้(องค์ประกอบภายนอกของความผิด) ไม่มี เจตนา การกระทาโดยประมาท มาตรา 59 วรรคสี่ การกระทาโดยประมาท ได้แก่การกระทา
  • 4. ความผิดมิใช่โดยเจตนาแต่กระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจัก ต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้ เพียงพอไม่ มาตรา 59 วรรคแรก บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทา โดย เจตนาเว้นแต่จะได้กระทาความโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมาย บัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้ กระทาโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณี ที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้ กระทาโดยไม่มี เจตนา ดังนั้น บุคคลใดจะต้องรับผิดทางอาญาจะต้องปรากฏว่า บุคคลนั้น กระทาโดยเจตนา ไม่ว่าเจตนาตามความเป็นจริง(เจตนาประสงค์หรือเล็งเห็นผล) หรือเจตนา โดยผลของกฎหมาย(เจตนาโดยพลาด)หากบุคคลนั้นกระทาโดยประมาท โดยปกติแล้วไม่ต้อง รับผิดทางอาญา เช่นประมาททาให้เสียทรัพย์ อย่างไรก็ตามมีข้อยกเว้นในกรณีที่กฎหมาย บัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กระทาโดยประมาทเช่น ประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย หรือ ประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสเป็นต้น ในกรณีเช่นนี้บุคคลนั้นต้องรับผิด แม้ กระทาโดยประมาท หลักของประมาทโดยสรุปคือ การกระทาโดยมิได้เจตนาแต่ปราศจากความ ระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะต้องมีความระมัดระวังตามวิสัย และพฤติการณ์ ซึ่งระดับ ความระมัดระวังนั้นไม่อยู่นิ่งตายตัวขึ้นและลงตามภาวะวิสัยและพฤติการณ์ 4.การกระทา สัมพันธ์กับผลของการกระทา ในกรณีที่เป็นความผิดซึ่งสามารถแยกผลออกจากการกระทาได้นี้ เมื่อมีผลของการกระทาเกิดขึ้น ผู้กระทาจะต้องรับผิดในผลหรือไม่ มีหลักคือ - ถ้าผลนั้นเป็นผล โดยตรงผู้กระทาจะต้องรับผิดในผลนั้น ถ้าผลนั้นไม่ใช่ผลโดยตรงผู้กระทาก็ไม่ต้องรับผิดในผล นั้น ซึ่งในทางกฎหมายใช้ทฤษฎีเงื่อนไขมาอธิบาย อาจอธิบายได้ว่า ถ้าไม่มีการกระทาของ จาเลยผลก็ไม่เกิดขึ้น จึงต้องถือว่า การกระทาของจาเลยเป็นเหตุของผลนั้น - ถ้าผลโดยตรงทา ให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลโดยตรงนั้นจะต้องเป็นผลธรรมดาที่อาจเกิดขึ้นได้ด้วย ถ้า เป็นผลผิดธรรมดาผู้กระทาก็ไม่ต้องรับผิดในผลที่ทาให้ตนต้องรับโทษหนักขึ้นนั้น เช่น กฎหมาย อาญาฐานทาร้ายร่างกายวางหลักว่า “ผู้ใดทาร้ายเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือ จิตใจ … ต้องระวางโทษ …”แต่หากว่าการทาร้ายร่างกายนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตราย สาหัส(เช่นตาบอด, มือขาด, แขนขาด) ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้นหากนายเอกใช้ไม้ตีนายโท
  • 5. ที่หัว – นายโทได้รับบาดเจ็บหัวแตกเย็บ 1 เข็ม นายเอกมีความผิดทาร้ายเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับ อันตรายแก่กายหากนายโทตาบอด – ต้องพิจารณาว่า หากนายเอกไม่ตีนายโทคงไม่บาดเจ็บ และตาบอด อีกทั้งการตาบอดนั้น วิญญูชน(บุคคลทั่วไปในสังคม)พึงคาดหมายได้ว่าหัวเป็น ศูนย์รวมประสาท หากตีไปที่หัว ผู้เสียหายอาจตาบอดได้ จึงเป็นผลธรรมดาที่อาจเกิดขึ้นได้ นายเอกจึงมีความผิดฐานทาร้ายร่างกายนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสซึ่งมีระวางโทษ หนักกว่าความผิดฐานทาร้ายเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย มาตรา 63 ถ้าผลของการ กระทาความผิดใดทาให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทาความผิดนั้นต้องเป็นผล ที่ตามธรรมดา ย่อมเกิดขึ้นได้ - ถ้าผลโดยตรงนั้นไม่ใช่ผลที่ทาให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น แต่เป็นผลที่เกิดจากเหตุแทรกแซง ผู้กระทาจะต้องรับผิดในผลบั้นปลายที่เกิดจากเหตุแทรกแซง นั้นก็ต่อเมื่อผลในบั้นปลายเกิดจากเหตุแทรกแซงที่วิญญูชนคาดหมายได้ ถ้าวิญญูชน คาดหมายไม่ได้ผู้กระทาก็ไม่ต้องรับผิดในผลบั้นปลายนั้น ตัวอย่าง เช่น นายเอกใช้ปืนปลอม เล็งยิงนั้นแล้วนายโทตกใจกลัวจนถึงแก่ความตายสมดังเจตนาของนายเอกเป็นผลโดยตรงจาก นายเอกกระทาความผิดเพราะนายเอกไม่ใช้ปืนปลอมขึ้นเล็งความตายของนายโทก็จะไม่เกิด ต้องถือว่าความตายเกิดขึ้นเป็นผลโดยตรงจากนายเอกกระทาความผิดและต้องถือว่าเป็นเหตุ แทรกแซงที่เกิดจากตัวผู้เสียเป็นเหตุอันควรคาดหมายได้เพราะผู้ใดโดนปืนจ่อยิงย่อมต้องตกใจ เป็นธรรมดา ดังนั้นนายเอกจึงต้องรับผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา