SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
การกระทาความผิดลักษณะใดบ้าง จัดเป็นความผิดทางอาญา
ความผิดทางอาญามี 2 ประเภทคือ
1.ความผิดในตัวเอง (ละติน:mala in se) คือความผิดที่คนทั่วไปเห็นชัดเจนว่าเป็นความผิดต่อ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน
2.ความผิดเพราะกฎหมายห้าม (ละติน:mala prohibita) คือความผิดที่เกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติ
ให้เป็นความผิด โดยอาจมิได้เกี่ยวกับศีลธรรมเลย ซึ่งหากกล่าวถึงทฤษฎีกฎหมายสามยุค ความผิดเพราะ
กฎหมายห้ามอยู่ในยุคกฎหมายเทคนิค
ลักษณะสาคัญของความผิดทางอาญา
(1).เป็นกฎหมายที่ชัดแจ้ง ในขณะที่กระทาความผิดต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วอย่างชัดแจ้งว่าการกระทา
นั้นเป็นความผิด เจ้าหน้าที่ผู้ใช้กฎหมายจะสร้างกฎหมายใหม่ขึ้นมาใช้บังคับแก่ประชาชนคนใดคนหนึ่ง
โดยเฉพาะไม่ได้เช่น กฎหมายบัญญัติว่า "การลักทรัพย์เป็นความผิด" ดังนั้น ผู้ใดลักทรัพย์ก็ย่อมมีความผิด
เช่นเดียวกัน
(2).เป็นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง ถ้าหากในขณะที่มีการกระทาสิ่งใดยังไม่มีกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็น
ความผิด แม้ต่อมาภายหลังจะมีกฎหมายบัญญัติว่า การกระทาอย่างเดียวกันนั้นเป็นความผิดก็จะนากฎหมาย
ใหม่มาใช้กับการกระทาครั้งแรกไม่ได้
1. ความผิดต่อแผ่นดิน หมายถึง ความผิดในทางอาญา ซึ่งนอกจากเรื่องนั้นจะมีผลต่อตัวผู้รับผลร้าย
แล้ว ยังมีผลกระทบที่เสียหายต่อสังคมอีกด้วย และรัฐจาเป็นต้องป้องกันสังคมเอาไว้ด้วยการยื่นมือ
เข้ามาเป็นผู้เสียหายเอง ดังนั้นแม้ผู้รับผลร้ายจากการกระทาโดยตรงจะไม่ติดใจเอาความ แต่ก็ยังต้อง
เข้าไปดาเนินคดีฟ้องร้องเอาตัวผู้กระทาผิดมาลงโทษให้ได้
กรณีตัวอย่างที่ 1 นายมังคุดทะเลาะกับนายทุเรียน นายมังคุดบันดาลโทสะใช้ไม้ตีศีรษะนายทุเรียน
แตก นายทุเรียนไปแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ตารวจให้ดาเนินคดีกับนายมังคุดในข้อหาทาร้ายร่างกาย
ผู้อื่น ต่อมานายทุเรียนหายโกรธนายมังคุดก็ไม่ติดใจเอาเรื่องกับนายมังคุด แต่เจ้าหน้าที่ตารวจ
จะต้องดาเนินคดีกับนายทุเรียนต่อไปเพราะเป็นความผิดต่อแผ่นดิน
กรณีตัวอย่างที่ 2 นายแตงโมขับรถยนต์ด้วยความประมาทไปชนเด็กชายแตงไทยถึงแก่ความตาย
เป็นความผิดอาญาฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต่อมานายแตงกวาและ
นางแต่งอ่อนบิดามารดาของเด็กชายแตงไทย ได้รับชดใช้ค่าเสียหายจากนายแตงโมเป็นเงิน
200,000 บาทแล้ว จึงไม่ติดใจเอาความกับนายแตงโม แต่เจ้าหน้าที่ตารวจจะต้องดาเนินคดีกับ
นายแตงโมต่อไป เพราะความผิดฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายเป็น
ความผิดต่อแผ่นดิน
2. ความผิดอันยอมความกันได้หมายถึง ความผิดในทางอาญาซึ่งไม่ได้มีผลร้ายกระทบต่อสังคม
โดยตรง หากตัวผู้รับผลร้ายไม่ติดใจเอาความแล้ว รัฐก็ไม่อาจยื่นมือเข้าไปดาเนินคดีกับผู้กระทา
ความผิดได้และถึงแม้จะดาเนินคดีไปแล้ว เมื่อตัวผู้เสียหายพอใจยุติคดีเพียงใดก็ย่อมทาได้ด้วยการ
ถอนคาร้องทุกข์ถอนฟ้อง หรือยอมความ เช่น ความผิดฐานหมิ่นประมาท ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพ
เป็นต้น
กรณีตัวอย่างที่ 1 นายโก๋และนางกี๋ลักลอบได้เสียกัน นายแฉแอบเห็นเข้า จึงได้นาความไปเล่าให้
นายเชยผู้เป็นเพื่อนฟัง การกระทาของนายแฉมีความผิดฐานหมิ่นประมาท เมื่อนายโก๋และนางกี๋รู้เข้า
จึงไปแจ้งความที่สถานีตารวจ นายแฉไปหานายโก๋และนางกี๋ เพื่อขอขมานายโก๋และนางกี๋จึงถอนคา
ร้องทุกข์ดังนั้น เจ้าหน้าที่ตารวจจึงไม่มีอานาจดาเนินคดีกับนายแฉอีกต่อไป ถือว่าเป็นความผิดอัน
ยอมความกันได้
กรณีตัวอย่างที่ 2 นายตาลึงล่ามโซ่ใส่กุญแจประตูใหญ่บ้านของนายมะกรูด ทาให้นายมะกรูดออก
จากบริเวณบ้านไม่ได้นายมะกรูดต้องปีนกาแพงรั้งกระโดลงมา การกระทาของนายตาลึงเป็น
ความผิดฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังทาให้ปราศจากเสรีภาพ นายมะกรูดจึงไปแจ้งความยังสถานีตารวจ
นายตาลึงได้ไปหานายมะกรูดยอมรับความผิด และขอร้องไม่ให้นายตาลึงเอาความกับตนเอง นาย
ตาลึงเห็นใจจึงไปถอนคาร้องทุกข์ทางเจ้าหน้าที่ตารวจก็จะดาเนินคดีต่อไปอีกไม่ได้เพราะเป็น
ความผิดอันยอมความกันได้
ความผิดทางอาญา คือ การกระทาที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคม หรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ
หากปล่อยให้ผู้ใดกระทาผิดแล้วมีการลงโทษหรือแก้แค้น ล้างแค้นกันเอง จะทาให้มีการกระทา
ความผิดอาญามากขึ้น บ้านเมืองจะไม่มีความสุข ทุกคนจะหันมาจับอาวุธป้องกันตัวเอง คนที่
แข็งแรงกว่าจะรังแกคนที่อ่อนแอกว่า กฎหมู่หรือการเล่นพวกจะเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ดังนั้น รัฐจึง
จาเป็นต้องยื่นมือเข้ามาลงโทษผู้กระทาผิดเสียเองโดยโทษที่จะลงต้องเป็น โทษที่กฎหมายได้
กาหนดไว้
2. ลักษณะสาคัญของความผิดทางอาญา
(1).เป็นกฎหมายที่ชัดแจ้ง ในขณะที่กระทาความผิดต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วอย่างชัดแจ้งว่า
การกระทานั้นเป็นความผิด เจ้าหน้าที่ผู้ใช้กฎหมายจะสร้างกฎหมายใหม่ขึ้นมาใช้บังคับแก่
ประชาชนคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะไม่ได้เช่น กฎหมายบัญญัติว่า "การลักทรัพย์เป็นความผิด"
ดังนั้น ผู้ใดลักทรัพย์ก็ย่อมมีความผิดเช่นเดียวกัน
(2).เป็นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง ถ้าหากในขณะที่มีการกระทาสิ่งใดยังไม่มีกฎหมายอาญา
บัญญัติว่าเป็นความผิด แม้ต่อมาภายหลังจะมีกฎหมายบัญญัติว่า การกระทาอย่างเดียวกันนั้นเป็น
ความผิดก็จะนากฎหมายใหม่มาใช้กับการกระทาครั้งแรกไม่ได้
3. โทษทางอาญา มีอะไรบ้าง
โทษทางอาญา ที่จะใช้ลงโทษผู้กระทาผิดมีอยู่5 ชนิดเท่านั้น หากผู้ใดกระทาความผิดทางอาญา
เมื่อจะมีลงโทษผู้ลงโทษจะสรรหาวิธีการลงโทษแปลก ๆ มาลงโทษผู้กระทาผิดไม่ได้ต้องใช้โทษ
อย่างใดอย่างหนึ่งที่กฎหมายกาหนดไว้ลงโทษ ซึ่งเรียงจากโทษหนักไปหาโทษเบา คือ
(1) โทษประหารชีวิต ได้แก่ การเอาไปยิงเสียให้ตาย
(2) โทษจาคุก ได้แก่ การเอาตัวไไปขังในเรือนจา
(3) โทษกักขัง ได้แก่ การเอาตัวไปกักขังหรือควบคุมไว้ในสถานที่กักขัง ซึ่งกาหนดไว้อันมิใช่
เรือนจา
(4) โทษปรับ ได้แก่ การลงโทษด้วยการปรับให้ผู้กระทาความ ความผิดจ่ายเงิน ให้แก่รัฐ
(5) ให้ริบทรัพย์สิน ได้แก่ การลงโทษริบเอาข้าของเงินทองของผู้กระทาผิดมาเป็นของรัฐ

More Related Content

Viewers also liked

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Viewers also liked (11)

หลักความเป็นธรรมของกฎหมาย
หลักความเป็นธรรมของกฎหมายหลักความเป็นธรรมของกฎหมาย
หลักความเป็นธรรมของกฎหมาย
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Howie grace
Howie graceHowie grace
Howie grace
 
บทความการบริการสาธารณใหม่
บทความการบริการสาธารณใหม่บทความการบริการสาธารณใหม่
บทความการบริการสาธารณใหม่
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 4
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
Biodiversity definition and concept
Biodiversity definition and conceptBiodiversity definition and concept
Biodiversity definition and concept
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
ลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญาลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญา
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word   ปกเอกสารประกอบการสอนMicrosoft word   ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
 

การกระทำผิดทางอาญา

  • 1. การกระทาความผิดลักษณะใดบ้าง จัดเป็นความผิดทางอาญา ความผิดทางอาญามี 2 ประเภทคือ 1.ความผิดในตัวเอง (ละติน:mala in se) คือความผิดที่คนทั่วไปเห็นชัดเจนว่าเป็นความผิดต่อ ศีลธรรมอันดีของประชาชน 2.ความผิดเพราะกฎหมายห้าม (ละติน:mala prohibita) คือความผิดที่เกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติ ให้เป็นความผิด โดยอาจมิได้เกี่ยวกับศีลธรรมเลย ซึ่งหากกล่าวถึงทฤษฎีกฎหมายสามยุค ความผิดเพราะ กฎหมายห้ามอยู่ในยุคกฎหมายเทคนิค ลักษณะสาคัญของความผิดทางอาญา (1).เป็นกฎหมายที่ชัดแจ้ง ในขณะที่กระทาความผิดต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วอย่างชัดแจ้งว่าการกระทา นั้นเป็นความผิด เจ้าหน้าที่ผู้ใช้กฎหมายจะสร้างกฎหมายใหม่ขึ้นมาใช้บังคับแก่ประชาชนคนใดคนหนึ่ง โดยเฉพาะไม่ได้เช่น กฎหมายบัญญัติว่า "การลักทรัพย์เป็นความผิด" ดังนั้น ผู้ใดลักทรัพย์ก็ย่อมมีความผิด เช่นเดียวกัน (2).เป็นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง ถ้าหากในขณะที่มีการกระทาสิ่งใดยังไม่มีกฎหมายอาญาบัญญัติว่าเป็น ความผิด แม้ต่อมาภายหลังจะมีกฎหมายบัญญัติว่า การกระทาอย่างเดียวกันนั้นเป็นความผิดก็จะนากฎหมาย ใหม่มาใช้กับการกระทาครั้งแรกไม่ได้ 1. ความผิดต่อแผ่นดิน หมายถึง ความผิดในทางอาญา ซึ่งนอกจากเรื่องนั้นจะมีผลต่อตัวผู้รับผลร้าย แล้ว ยังมีผลกระทบที่เสียหายต่อสังคมอีกด้วย และรัฐจาเป็นต้องป้องกันสังคมเอาไว้ด้วยการยื่นมือ เข้ามาเป็นผู้เสียหายเอง ดังนั้นแม้ผู้รับผลร้ายจากการกระทาโดยตรงจะไม่ติดใจเอาความ แต่ก็ยังต้อง เข้าไปดาเนินคดีฟ้องร้องเอาตัวผู้กระทาผิดมาลงโทษให้ได้ กรณีตัวอย่างที่ 1 นายมังคุดทะเลาะกับนายทุเรียน นายมังคุดบันดาลโทสะใช้ไม้ตีศีรษะนายทุเรียน แตก นายทุเรียนไปแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ตารวจให้ดาเนินคดีกับนายมังคุดในข้อหาทาร้ายร่างกาย ผู้อื่น ต่อมานายทุเรียนหายโกรธนายมังคุดก็ไม่ติดใจเอาเรื่องกับนายมังคุด แต่เจ้าหน้าที่ตารวจ จะต้องดาเนินคดีกับนายทุเรียนต่อไปเพราะเป็นความผิดต่อแผ่นดิน กรณีตัวอย่างที่ 2 นายแตงโมขับรถยนต์ด้วยความประมาทไปชนเด็กชายแตงไทยถึงแก่ความตาย เป็นความผิดอาญาฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต่อมานายแตงกวาและ นางแต่งอ่อนบิดามารดาของเด็กชายแตงไทย ได้รับชดใช้ค่าเสียหายจากนายแตงโมเป็นเงิน 200,000 บาทแล้ว จึงไม่ติดใจเอาความกับนายแตงโม แต่เจ้าหน้าที่ตารวจจะต้องดาเนินคดีกับ
  • 2. นายแตงโมต่อไป เพราะความผิดฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายเป็น ความผิดต่อแผ่นดิน 2. ความผิดอันยอมความกันได้หมายถึง ความผิดในทางอาญาซึ่งไม่ได้มีผลร้ายกระทบต่อสังคม โดยตรง หากตัวผู้รับผลร้ายไม่ติดใจเอาความแล้ว รัฐก็ไม่อาจยื่นมือเข้าไปดาเนินคดีกับผู้กระทา ความผิดได้และถึงแม้จะดาเนินคดีไปแล้ว เมื่อตัวผู้เสียหายพอใจยุติคดีเพียงใดก็ย่อมทาได้ด้วยการ ถอนคาร้องทุกข์ถอนฟ้อง หรือยอมความ เช่น ความผิดฐานหมิ่นประมาท ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพ เป็นต้น กรณีตัวอย่างที่ 1 นายโก๋และนางกี๋ลักลอบได้เสียกัน นายแฉแอบเห็นเข้า จึงได้นาความไปเล่าให้ นายเชยผู้เป็นเพื่อนฟัง การกระทาของนายแฉมีความผิดฐานหมิ่นประมาท เมื่อนายโก๋และนางกี๋รู้เข้า จึงไปแจ้งความที่สถานีตารวจ นายแฉไปหานายโก๋และนางกี๋ เพื่อขอขมานายโก๋และนางกี๋จึงถอนคา ร้องทุกข์ดังนั้น เจ้าหน้าที่ตารวจจึงไม่มีอานาจดาเนินคดีกับนายแฉอีกต่อไป ถือว่าเป็นความผิดอัน ยอมความกันได้ กรณีตัวอย่างที่ 2 นายตาลึงล่ามโซ่ใส่กุญแจประตูใหญ่บ้านของนายมะกรูด ทาให้นายมะกรูดออก จากบริเวณบ้านไม่ได้นายมะกรูดต้องปีนกาแพงรั้งกระโดลงมา การกระทาของนายตาลึงเป็น ความผิดฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังทาให้ปราศจากเสรีภาพ นายมะกรูดจึงไปแจ้งความยังสถานีตารวจ นายตาลึงได้ไปหานายมะกรูดยอมรับความผิด และขอร้องไม่ให้นายตาลึงเอาความกับตนเอง นาย ตาลึงเห็นใจจึงไปถอนคาร้องทุกข์ทางเจ้าหน้าที่ตารวจก็จะดาเนินคดีต่อไปอีกไม่ได้เพราะเป็น ความผิดอันยอมความกันได้ ความผิดทางอาญา คือ การกระทาที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคม หรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ หากปล่อยให้ผู้ใดกระทาผิดแล้วมีการลงโทษหรือแก้แค้น ล้างแค้นกันเอง จะทาให้มีการกระทา ความผิดอาญามากขึ้น บ้านเมืองจะไม่มีความสุข ทุกคนจะหันมาจับอาวุธป้องกันตัวเอง คนที่ แข็งแรงกว่าจะรังแกคนที่อ่อนแอกว่า กฎหมู่หรือการเล่นพวกจะเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ดังนั้น รัฐจึง จาเป็นต้องยื่นมือเข้ามาลงโทษผู้กระทาผิดเสียเองโดยโทษที่จะลงต้องเป็น โทษที่กฎหมายได้ กาหนดไว้ 2. ลักษณะสาคัญของความผิดทางอาญา (1).เป็นกฎหมายที่ชัดแจ้ง ในขณะที่กระทาความผิดต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วอย่างชัดแจ้งว่า การกระทานั้นเป็นความผิด เจ้าหน้าที่ผู้ใช้กฎหมายจะสร้างกฎหมายใหม่ขึ้นมาใช้บังคับแก่ ประชาชนคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะไม่ได้เช่น กฎหมายบัญญัติว่า "การลักทรัพย์เป็นความผิด"
  • 3. ดังนั้น ผู้ใดลักทรัพย์ก็ย่อมมีความผิดเช่นเดียวกัน (2).เป็นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง ถ้าหากในขณะที่มีการกระทาสิ่งใดยังไม่มีกฎหมายอาญา บัญญัติว่าเป็นความผิด แม้ต่อมาภายหลังจะมีกฎหมายบัญญัติว่า การกระทาอย่างเดียวกันนั้นเป็น ความผิดก็จะนากฎหมายใหม่มาใช้กับการกระทาครั้งแรกไม่ได้ 3. โทษทางอาญา มีอะไรบ้าง โทษทางอาญา ที่จะใช้ลงโทษผู้กระทาผิดมีอยู่5 ชนิดเท่านั้น หากผู้ใดกระทาความผิดทางอาญา เมื่อจะมีลงโทษผู้ลงโทษจะสรรหาวิธีการลงโทษแปลก ๆ มาลงโทษผู้กระทาผิดไม่ได้ต้องใช้โทษ อย่างใดอย่างหนึ่งที่กฎหมายกาหนดไว้ลงโทษ ซึ่งเรียงจากโทษหนักไปหาโทษเบา คือ (1) โทษประหารชีวิต ได้แก่ การเอาไปยิงเสียให้ตาย (2) โทษจาคุก ได้แก่ การเอาตัวไไปขังในเรือนจา (3) โทษกักขัง ได้แก่ การเอาตัวไปกักขังหรือควบคุมไว้ในสถานที่กักขัง ซึ่งกาหนดไว้อันมิใช่ เรือนจา (4) โทษปรับ ได้แก่ การลงโทษด้วยการปรับให้ผู้กระทาความ ความผิดจ่ายเงิน ให้แก่รัฐ (5) ให้ริบทรัพย์สิน ได้แก่ การลงโทษริบเอาข้าของเงินทองของผู้กระทาผิดมาเป็นของรัฐ