SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
บทที่ 2
นิติกรรม
นิติกรรม
ปพพ. มาตรา 149
“นิติกรรม หมายความว่า การใด ๆ อันทาลงโดย
ชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อ
การผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ”
ลักษณะทั่วไปของนิติกรรม
 1. ต้องเป็นการกระทาของบุคคลโดยการแสดงเจตนา
 2. ต้องเป็นการกระทาโดยชอบด้วยกฎหมาย
 3. ต้องเป็นการกระทามี่มุ่งประสงค์จะผูกนิติสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคล
 4. ต้องเป็นการกระทาโดยสมัครใจ
 5. ต้องมีวัตถุประสงค์ที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือ
ระงับซึ่งสิทธิ
 การกระทาของบุคคล หรือเป็นการแสดงเจตนาของบุคคลเพื่อให้เกิด
นิติกรรม
 การแสดงเจตนาของสัตว์ไม่เกิดนิติกรรม
 นิติกรรมมี 2 ประเภท คือ
 นิติกรรมฝ่ ายเดียว คือการแสดงเจตนาฝ่ ายเดียว เช่น พินัยกรรม
 นิติกรรมสองฝ่ าย คือการแสดงเจตนาสองฝ่ าย เช่น สัญญาต่าง ๆ
 การใดๆ
 ผู้เยาว์
 คนไร้ความสามารถ
 คนเสมือนไร้ความสามารถ
 คู่สมรสในเรื่องการจัดการสินสมรสบางประการตามที่กฎหมายกาหนดไว้
 ความสามารถของบุคคลในการทานิติกรรม มี 4 ประเภท
ผู้แทนโดยชอบธรรม
ผู้อนุบาล
ผู้พิทักษ์
สามี ภริยา จัดการทรัพย์สินร่วมกัน
โมฆะ คือ สิ้นสภาพตั้งแต่เริ่มต้น
โมฆียะ คือ สมบรูณ์เมื่อให้สัตยาบัน ตกเป็นโมฆะเมื่อมีการบอกล้าง
สมบรูณ์ คือ สมบรูณ์ บริบรูณ์
ผลของกฎหมาย
สมบรูณ์ โมฆียะ โมฆะ
นิติกรรม
สัญญา
สัญญาทุกสัญญาเป็นนิติกรรม
แต่นิติกรรมทุกนิติกรรมไม่เป็นสัญญา
วัตถุประสงค์ของการทานิติกรรม
หมายถึง ประโยชน์อันเป็ นผลสุดท้ายที่
ผู้แสดงเจตนาทานิติกรรม ประสงค์จะ
ให้เกิดหรือเป็ นผลขึ้นมา เช่น ทา
สัญญาซื้อบ้านผู้ซื้อต้องการได้
กรรมสิทธิ์ในบ้านมาเป็ นของตน ฝ่ าย
ผู้ขายต้องการได้เงินจากการขายบ้าน
เป็ นต้น
โดยวัตถุประสงค์ของการทานิติกรรม
 นิติกรรม หมายถึง ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ผู้แสดง
เจตนาทานิติกรรมประสงค์จะให้เกิดหรือให้เป็นผลขึ้นมา เช่น
การทาสัญญาซื้อบ้าน ผู้ซื้อต้องการได้บ้าน ผู้ขายต้องการได้เงิน
 หากนิติกรรมนั้นมีวัตถุประสงค์ไม่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว นิติ
กรรมเป็นโมฆะ

วัตถุประสงค์ของนิติกรรม
 กฎหมาย ถือ “หลักความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนา คือ ต้องถูกกฎหมาย”
 การกระทาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผลเป็นโมฆะ
 การกระทาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย คือกฎหมายไม่ให้ทา
 เป็นการพ้นวิสัย คือ สิ่งที่เป็นไปไม่ได้โดยแน่แท้
 เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน เช่น รับจ้างอุ้มบุญ
 นิติกรรมกระทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย
ฝ่ าฝืน ผล เป็น
โมฆะ
การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
เป็นการพ้นวิสัย หมายถึง สิ่งที่เป็นไปไม่ได้โดยแน่แท้ หรือ
เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม อันดีของประชาชน การนั้น
วัตถุประสงค์ของนิติกรรมไม่ชอบด้วยกฎหมาย
เป็น
โมฆะ
กู้ยืมอัตราดอกเบี้ยเกิน 15%
ต่อปี
ขายแจกันซึ่งแตกแล้ว จ้างแต่งงาน
1
2
3
1
2 3
ผู้ทานิติกรรมต้องทาด้วยสมัครใจ ไม่มีใครมาบังคับ มา
หลอกลวง
หาก โดนบังคับ หลอกลวง เข็ญให้หลงผิด เพื่อทานิติกรรม
 กระทาด้วยใจสมัคร
มีความผูกพันกันทางกฎหมายระหว่างบุคคล
การกระทาที่ไม่ใช่ การผูกนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ลูกร้องไห้ แม่บอกว่าอย่าร้อง เดี๋ยวซื้อตุ๊กตาให้
น้องล่า สั่งสุนัขให้เฝ้าบ้านและสัญญาจะซื้อเหนียวไก่มาให้
 มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล
* ก่อ = การกู้ยืมเงิน
 เปลี่ยนแปลง = การเปลี่ยนแปลงทรัพย์ที่ชาระหนี้
 โอน = โอนความเป็นเจ้าหนี้
 สงวน = ทาหนังสือรับสภาพหนี้เพื่อให้อายุความสะดุดหยุดลง
 ระงับ = การปลดหนี้
 กระทาเพื่อจะ ก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
ทรัพย์
อสังหาริมทรัพย์
สังหาริมทรัพย์
บุคคลผู้แสดงเจตนาในการทานิติกรรม มี 2 ประเภท
ความสามารถของบุคคลในการทานิติกรรม
การใด มิได้ เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยความสามารถ
ของบุคคล การนั้น เป็นโมฆียะ
บุคคลธรรมดา
และ นิติบุคคล
อย่าลืม โมฆียะ
!!!!!
การใดมิได้ทาถูกต้องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้ การนั้น
แบบแห่งนิติกรรม
แบบแห่งนิติกรรม มี 5 แบบ
1) แบบทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่(ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์)
2) แบบต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ( การจดทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท, จด
ทะเบียนรับรองสถานะของบุคคล เช่น การเกิด การตาย สมรส เป็นต้น)
3) แบบต้องทาเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (พินัยกรรมฝ่ ายเมืองหรือแบบลับ)
4) แบบต้องทาหนังสือระหว่างกันเอง (การโอนหนี้,สัญญาเช่าซื้อ)
5) แบบอื่นๆตามที่กฎหมายกาหนด (เช็ค ตั๋วเงิน)
เป็นโมฆะ
การแสดงเจตนา คือ การกระทาของบุคคลที่ทาให้อีกฝ่ ายรู้ถึงความ
ประสงค์ที่จะผูกนิติสัมพันธ์ เรื่องการแสดงเจตนา มี 6 ประการทาให้
นิติกรรมไม่สมบูรณ์
1) เจตนาซ่อนเร้น
2) เจตนาลวง
3) นิติกรรมอาพราง
4) การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิด
5) การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล
6) การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่
การแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรม
 เจตนาที่แท้จริงในใจ กับ เจตนาที่แสดงออกไม่ตรงกัน
 เจตนาซ่อนเร้น
เสนอ
ขาย
ซื้อจริงๆ ซื้อหลอกๆ
เจตนา
สมบรูณ์
รู้ =โมฆะ
**หากณเดชน์ รู้ ว่าหลุยส์มีนิสัย โอ้อวด อยากซื้อหลอกๆ ผลตกเป็นโมฆะ
แต่ ถ้าณเดชน์ ไม่รู้ ผลตกเป็นสมบรูณ์
ไม่รู้ =
สมบรูณ์
 การแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กับคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง ผล
 ผู้แสดงเจตนารู้ตัวขณะแสดงเจตนาออกไม่ตรงกับเจตนาที่แท้จริงของตน
 เจตนาลวง เป็น
โมฆะ
ทวงหนี้ 10
ล้าน
ขายบ้าน
หลอกๆ
**ผลตกเป็น โมฆะ
 คู่สัญญาทานิติกรรมลวง เพื่อปกปิดนิติกรรมที่แท้จริง จึงมีนิติกรรมเกี่ยวข้องกันสองนิติกรรม
 นิติกรรมฉบับแรก คือ นิติกรรมฉบับหลอกๆ ผล ตกเป็น “โมฆะ”
 นิติกรรมฉบับที่สอง คือ นิติกรรมที่เอาจริงแต่ปกปิดไว้ เรียกว่า “นิติกรรมอาพราง”
ผล ตกเป็น “สมบรูณ์”
 นิติกรรมอาพราง
สัญญาขาย
สัญญายกให้
**สัญญายกให้ จึงสมบรูณ์ เรียกว่า นิติกรรมอาพราง
ส่วน สัญญาซื้อขาย ตกเป็นโมฆะ
หลอก
 การใจผิด หลงผิด หรือพลาดไป
 การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิด
สาคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสาคัญแห่งนิติกรรม
สาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน
1. สาคัญผิดในลักษณะแห่งนิติกรรม
2. สาคัญผิดในตัวบุคคลที่เป็นคู่กรณี
3. สาคัญผิดในตัวทรัพย์สินที่เป็น
วัตถุแห่งนิติกรรม
การสาคัญผิด ใน คุณสมบัติของ
บุคคลหรือทรัพย์สิน
ผล โมฆะ
ผล โมฆียะ
สาคัญผิดในลักษณะแห่งนิติกรรม
ทาสัญญาขายบ้าน
**ลายองเข้าใจผิดคิดว่า ทาสัญญากู้ยืม ผล ตกเป็นโมฆะ
สาคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสาคัญแห่งนิติกรรม
สาคัญผิดในตัวบุคคลที่เป็นคู่กรณี
ทาสัญญาขายบ้าน
**เสี่ยกวง เข้าใจผิดคิดว่าลายองเป็นเจ้าของบ้าน ผล ตกเป็นโมฆะ
สาคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสาคัญแห่งนิติกรรม
สาคัญผิดในตัวทรัพย์สินที่เป็นวัตถุแห่งนิติกรรม
ต้องการซื้อ
**หลุยส์เข้าใจผิดคิดว่า ลา คือ ม้า ผล ตกเป็นโมฆะ
ส่งมอบ
สาคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสาคัญแห่งนิติกรรม
ต้องการจ้างมาสร้าง
**ป๋ อ เข้าใจผิดคิดว่า อนันดา ชานาญเรื่องการสร้างบ้านไม้
แท้จริง อนันดา ชานาญสร้างบ้านปูน ผล ตกเป็นโมฆียะ
แต่สร้างได้
สาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน
 การใช้อุบายหลอกอีกฝ่ ายหนึ่งเพื่อให้หลงผิด เข้าใจผิด ผล ตกเป็น
 การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล
หลอกขาย
** คิมเบอลี่ หลอกขายรถแก่ โดนัท บอกว่า รถโบราณ ผลตกเป็นโมฆียะ
โมฆียะ
 ผล ตกเป็น
 การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่
1. ภัยที่ข่มขู่ต้องเป็นภัยที่ใกล้จะถึง
2. ภัยที่ข่มขู่ต้องร้ายแรงถึงขนาดเอาชีวิต
โมฆียะ
สวัสดี

More Related Content

Similar to Lesson2

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมChi Wasana
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายKroo Mngschool
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
งาน กฎหมาย
งาน  กฎหมายงาน  กฎหมาย
งาน กฎหมายmaykai
 
คู่ความ
คู่ความคู่ความ
คู่ความAtom Asin
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 

Similar to Lesson2 (17)

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรม
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
งาน กฎหมาย
งาน  กฎหมายงาน  กฎหมาย
งาน กฎหมาย
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
คู่ความ
คู่ความคู่ความ
คู่ความ
 
9789740328735
97897403287359789740328735
9789740328735
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 

More from pattanan sabumoung (20)

Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5
 
เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4
 
เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3
 
เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2
 
เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1
 
เนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressedเนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressed
 
เนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressedเนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressed
 
เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2
 
เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1
 
เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3
 
เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2
 

Lesson2