SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา
ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการออกแบบ
และผลิตสื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมา
นั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
• ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน
• ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
• ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้
• ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง
ภารกิจที่ 1
• 1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้อง
กับลักษณะของสื่อของครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้
เหตุผล
1. ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน
การประเมินคุณภาพสื่อของครูสมใจจึงเหมาะสมในการเลือกใช้วิธ
การประเมินสื่อการสอน เพราะเป็นสื่อการสอนที่ครูผู้สอนจัดทาขึ้นเองใช้
ในการประกอบการเรียนการสอนโดยบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้ที่รอรับ
ความรู้ที่จะได้รับการถ่ายทอดโดยตรงจากครู ดังนั้นสื่อการสอนจึงต้องมี
วิธีการในการประเมินคุณภาพของสื่อ โดยในปัจจุบันนิยมใช้การประเมิน 2
แนวทางปฏิบัติ คือ
1.1 การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์
แนวคิดการประเมินโดยอาศัยเกณฑ์จะมีการกาหนดค่าตัวเลขขึ้นมาเพื่อเป็นสิ่งที่จะระบุถึง
ประสิทธิภาพของสื่อ ในปัจจุบันการกาหนดเกณฑ์นิยมปฏิบัติใน 2 แนวทาง คือ (1) ยึดเกณฑ์
มาตรฐาน 90/90 ของเปรื่อง กุมุท และ (2) ยึด E1/E2 ของชัยยงค์พรหมวงศ์ (มนตรี แย้มกสิกร,
2550)
(1) เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน
โปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning) นิยามของเกณฑ์
มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า
90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ
นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียน
โปรแกรมถึงเกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า (เปรื่อง กุมุท, 2519)
90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่าร้อยละ 90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตามมุ่งหมายแต่ละ
ข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม
วิธีการคานวณค่าประสิทธิภาพสื่อ
• 1. สร้างตารางบันทึกผลการสอบหลังเรียน โดยนาผลการทดสอบหลังเรียนของ
ผู้เรียนมาบันทึกค่าคะแนนไปในแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้
• 2. ตรวจผลการสอบของผู้เรียนแต่ละคน ดาเนินการตรวจผลการสอบว่าผู้เรียนแต่
ละคนได้คะแนนจากการสอบหลังเรียนกี่คะแนน
• 3. พิจารณาผลการสอบว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เท่าใด ดาเนินการพิจารณาผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีวัตถุประสงค์ใดบ้างที่ผ่านและ
ไม่ผ่านเกณฑ์
4. คานวณประสิทธิภาพโดยใช้สูตรคานวณดังนี้
90 ตัวแรก ={(ΣX /N) X 100)}/R
90 ตัวแรก หมายถึง จานวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน
ΣX หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทาได้ถูกต้องจากการทดสอบ
หลังเรียน
N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพครั้งนี้
R หมายถึง จานวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N
90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์
Y หมายถึง จานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์
N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพครั้งนี้
(2) การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เป็นแนวคิดการ
ประเมินที่เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภท
ต่างๆ ยกเว้น บทเรียนโปรแกรม ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ต้องการ
ประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียนใน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ)
และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกาหนดค่าประสิทธิภาพเป็น E1 (ประสิทธิภาพ
ของกระบวนการ) E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์) นิยามประสิทธิภาพ E1/E2
E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทากิจกรรมระหว่างเรียนจากชุด
การสอนหรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้)
E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทาแบบทดสอบหลังการเรียน
ของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้)
การคานวณโดยใช้สูตร
E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้
ΣX หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน)
N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้
A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน
E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้
ΣF หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน)
N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้
B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
1.2 การประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผล
การวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index: E.I.) เป็นอีกวิธีที่ใช้ในการ
ประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอน ซึ่งนิยมใช้วิธีของ Goodman, Fletcher and
Schneider (1980) โดยดัชนีประสิทธิผลที่ใช้ได้ควรมีค่า 0.50 ขึ้นไป
สูตรการหาค่าดัชนีประสิทธิผล
จะเขียนในรูปของร้อยละ ซึ่งผลการคานวณจะได้เท่ากับผลการคานวณจากคะแนนดิบ
ดัชนีประสิทธิผล = ร้อยละของผลรวมของคะแนน – ร้อยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรียน
100 – ร้อยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรียน
E.I. = P2% - P1%
100 – P1%
เมื่อ P1% แทน ร้อยละของผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน
P2% แทน ร้อยละผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน
ตัวอย่างการคานวณค่าดัชนีประสิทธิผล คน
2. ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อของครูสมหญิงจึงเหมาะกับการใช้การประเมินสื่อการ
เรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ เพราะเป็นสื่อเพื่อการถ่ายทอดมาสู่สื่อหรือ
เทคโนโลยีทางปัญญา (Cognitive technology) ที่มุ่งเน้นการส่งเสริม
กระบวนการรู้คิดหรือกระบวนการทางพุทธิปัญญา(Cognitive process) และ
แนวโน้มในปัจจุบันทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมและกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ที่นิยาม
การเรียนรู้คือการสร้างความรู้ของผู้เรียน ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมอง
ของผู้เรียน การประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลขอาจไม่
เพียงพอที่จะนามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นใน
กระบวนการรู้คิดภายในสมอง ตลอดจนระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่พิจารณาคุณลักษณ์
ของสื่อในลักษณะที่เป็นภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวลสารสนเทศในกระบวนการ
รู้คิดของผู้เรียน
ดังนั้น การประเมินและพัฒนาสื่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้มี
คุณภาพหรือประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะนาเสนอหลักการที่สาคัญที่ควร
พิจารณา ประกอบด้วย (1) การประเมินด้านผลผลิต (2) การประเมินบริบท
การใช้(3) การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา (4) การประเมิน
ด้านความคิดเห็น (5) การประเมินผลสัมฤทธิ์
3.ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้
วิธีการในการประเมินสื่อของครูมาโนชที่เหมาะสมคือประเมินบริบทการใช้ใน
สภาพจริง
ซึ่งเป็นการประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง หรือเป็นการนาไปทดลองใช้ เพื่อ
ศึกษาเพื่อหาบริบทที่เหมาะสมในการใช้สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ในสภาพจริง เช่น จานวนสมาชิกในกลุ่มที่เรียนแบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่มี
ประสิทธิภาพสูงสุด ในกิจกรรมการแก้ปัญหาที่ใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน
เครือข่าย (Web-based learning environment) เพราะสื่อที่ครูมาโนช
ทาขึ้นนั้นเป็นชุดสร้างความรู้จึงจาเป็นต้องใช้การประเมินโยการทดลองใช้จริงว่าจะมี
ประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด
4. ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง
วิธีการมี่ใช้ในการประเมินสื่อการสอนของครูประพาสคือประเมินผลผลิต เป็น
ประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ โดยการตรวจสอบคุณภาพด้านต่างๆ
โดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ ด้านสื่อ และด้านประเมินผล ซึ่งมีรายละเอียดและหลักการที่สาคัญในแต่ละด้าน
ดังนี้
ด้านเนื้อหา
เป็นการตรวจสอบเนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จะทาการตรวจสอบเนื้อหาในด้านต่างๆผู้เชี่ยวชาญอาจเป็น
ครูผู้สอน หรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ หรือมีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องที่จะประเมิน หลักการสาคัญที่นามา
เป็นพื้นฐานในการพิจารณาเนื้อหาที่นามาใช้ในการเรียนรู้ (Khan, Badrul H,1997; Hannafin and
Other,1999) ดังรายละเอียดต่อไปนี้
• ความถูกต้อง
• ความน่าสนใจ
• ความเหมาะสมกับสาระในสาขาวิชา
• มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
• เนื้อหา มีความครอบคลุมเรื่องที่จะศึกษา มีความชัดเจน และเอื้อต่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ หรือการสร้าง
ความรู้ของผู้เรียน
• ภาษาที่ใช้สามารถสื่อได้ตรงกับความคิดรวบยอด(Concept)ในการเรียนรู้ หรือความ
• กะทัดรัด เป็นลาดับขั้นและง่ายต่อการทาความเข้าใจ
• ความเหมาะสมกับวิธีการหรือหลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้
• รูปแบบการนาเสนอเนื้อหา การนาเสนอเนื้อหามีรูปแบบการนาเสนอที่น่าสนใจ ประมวลสารสนเทศได้ง่าย และ
ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี
• ความสอดคล้องของเนื้อหาภาพประกอบและช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี
(2) ด้านสื่อ
ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อ จะทาการตรวจสอบเกี่ยวกับคุณภาพการออกแบบสื่อ คุณลักษณะของสื่อชนิดต่างๆ ซึ่งจะแตกต่างกันไป เช่น สื่อบน
เครือข่าย มัลติมีเดีย สื่อสิ่งพิมพ์ในที่นี้ผู้เขียนนาเสนอตัวอย่างหลักการพื้นฐานที่ใช้ในการพิจารณาสื่อบนเครือข่ายของ Khan, B.H,
Vega R. (1997), Hannafin (1999) และ ชุดสร้างความรู้ ดังมีรายละเอียด ต่อไปนี้
2.1 สื่อบนเครือข่าย
2.1.1 การออกแบบเครื่องนาทาง (Navigator) ช่วยในการค้นหาหาสารสนเทศ
2.1.2 การออกแบบเครื่องนาทางมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันและมีความคงที่
2.1.3 สัญลักษณ์ที่เป็นไอคอน (Icon) สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศต่างๆ
2.1.4 การเชื่อมโยง (Link) ช่วยให้สามารถเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ
2.1.5 ประสิทธิภาพของ รูปแบบการสนทนา (post) ผ่านเครือข่าย (web)
2.1.6 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ (architecture) บนเครือข่ายมีความเหมาะสมสะดุดตา น่าสนใจ
2.1.7 ภาพและขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้
2.2 ชุดสร้างความรู้
มีหลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้
2.2.1 การนาเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มีการเน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง
2.2.2 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสมสะดุดตา น่าสนใจ
2.2.3 ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้ขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา
(3) การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ในการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จะทาการตรวจสอบการ
ออกแบบการสอนที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ซึ่งนาหลักการสาคัญของ ทฤษฎีคอนสตรัค
ติวิสต์เชิงปัญญา ของ Piajet และ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของ Vygotsky มาเป็น
พื้นฐานในการออกแบบ หรือเรียกว่า การนาทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบที่สาคัญ
ได้แก่ สถานการณ์ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐานการช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ดังรายละเอียด
ต่อไปนี้ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551)
3.1 การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง
3.2 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง (Learner control)
3.3 สถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรือค้นหา ค้นพบ
คาตอบด้วยตนเอง
3.4 ระดับภารกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสูง
3.5 ภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็นปัญหาที่ต้องการค้นหาคา
ตอบ
3.5 ธนาคารความรู้ (Resource) มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียนสามารถค้นหา
สารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลายเพื่อนามาใช้ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่กาหนดให้รวมทั้ง
ช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของผู้เรียน
3.6 เครื่องมือทางปัญญา (Cognitive tool) ในการเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนและเกิด
ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเรียน
3.7 ฐานการช่วยเหลือ (scaffolding) ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความพยายามในการเรียนรู้
3.8 กรณีใกล้เคียง (Related case) ส่งเสริมให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการ
แก้ปัญหาได้
3.9 ห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุนให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน
3.10 การโค้ช (coaching) โดยครูผู้สอนทาการวิเคราะห์ผู้เรียนสามารถสื่อสารและสะท้อนผล
เกี่ยวกับผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ และกระตุ้นให้ผู้เรียนกระทาภารกิจการเรียนรู้อย่างตื่นตัว
ภารกิจที่2
2. อธิบายข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน
ข้อจากัดในการประเมินสื่อการสอนคือ การประเมินประสิทธิภาพดังกล่าว ล้วน
แต่เป็นค่าที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ซึ่งจะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนน
ที่เป็นตัวเลขเชิงปริมาณซึ่งหากเราพิจารณาความสอดคล้องกับกระบวนทัศน์และ
ลักษณะการออกแบบสื่อในปัจจุบันที่เป็นสื่อการเรียนรู้ หรือ สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการปรับปรุงและพัฒนาให้ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ดังนั้นการ
ประเมินที่นามาใช้ควรมีลักษณะที่สอดคล้อง คือ การประเมินเพื่อปรับปรุง และการ
ประเมินผลลัพธ์ ด้วยเหตุนี้การประเมินเพียงเฉพาะมิติด้านผลสัมฤทธิ์ซึ่งใช้ข้อมูลเชิง
ปริมาณที่เป็นค่าคะแนน หรือตัวเลข อย่างเดียว อาจให้รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะ
นามาสู่การปรับปรุงในกระบวนการพัฒนา
ภารกิจที่3
3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการ
ประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การประเมินสื่อการสอน
การประเมินสื่อการเรียนรู้ละ
สื่อสิ่งแวดล้อม
การประเมินเพียงเฉพาะมิติ
ด้านผลสัมฤทธิ์ซึ่งใช้ข้อมูลเชิง
ปริมาณที่เป็นค่าคะแนน หรือ
ตัวเลข อย่างเดียว
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทั้ง
ในทางปริมาณและคุณภาพ
ของผู้เรียน เพื่อให้ประสิทธิ์ภาพ
ในการใช้สื่อและการเรียนการ
สอนดียิ่งขึ้น
สมาชิก
นายจาตุรันต์ น้อยตาแสง รหัสนักศึกษา 553050277-8
นางสาวพัชริดา หวานคา รหัสนักศึกษา 553050305-9
นางสาววิจิตตรา หอพิกลาง รหัสนักศึกษา 553050317-2

More Related Content

What's hot

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนWiparat Khangate
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3lalidawan
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 

What's hot (20)

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Team-based Learning
Team-based LearningTeam-based Learning
Team-based Learning
 
1
11
1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
Flipped 2014
Flipped 2014Flipped 2014
Flipped 2014
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 

Similar to Chapter 10

การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sattakamon
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อAnn Pawinee
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10Pronsawan Petklub
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้suwannsp
 
1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)Siri Siripirom
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10Zhao Er
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10beta_t
 

Similar to Chapter 10 (20)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อ
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter10mii
Chapter10miiChapter10mii
Chapter10mii
 
1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 

More from การัน นามสมมุติ (15)

แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วยแผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
 
ความสุขของชีวิต
ความสุขของชีวิตความสุขของชีวิต
ความสุขของชีวิต
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)
 
Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Print
PrintPrint
Print
 
L3
L3L3
L3
 
L2
L2L2
L2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

Chapter 10