SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
CHAPTER 7
นวัตกรรมทางการศึกษา
ภารกิจที่1
อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
คือ การออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media)”
กับ “วิธีการ(Methods)”โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ มา
เป็ นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของ
สื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้
ของผู้เรียน
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
สามารถแยกตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อได้ 3
ลักษณะ ดังนี้
ความหมายของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ออกแบบโดยใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็ นพื้นฐาน
ที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายที่
สนองต่อการสร้างความรู้ของผู้เรียน ซึ่งจะสนับสนุน
ผู้เรียนในการเชื่อมโยง ปูพื้นฐานความรู้ที่ช่วยในการ
สร้างความรู้ตลอดจนคุณลักษณะด้านการสื่อสารที่
สามารถใช้แลกเปลี่ยนความรู้ แนวคิดและขยายมุมมอง
ระหว่างกันได้ตลอดเวลา ที่จะสนับสนุนการขยาย
โครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียน
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็ นพื้นฐานในการ
ออกแบบ โดยประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดีย
ที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว และเสียง
รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) โดยมีหลักการ
ที่สาคัญ ดังต่อไปนี้ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการเรียนรู้
ฐานความช่วยเหลือ ผู้ฝึ กสอน และการร่วมมือกัน
แก้ปัญหา
มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็ นพื้นฐานใน
การออกแบบ โดยประสานร่วมกับการนาสื่อประเภท
ต่างๆ มาใช้ร่วมกันโดยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ
จะส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักการและ
องค์ประกอบที่สาคัญได้แก่ สถานการณ์ปัญหา
แหล่งการเรียนรู้ ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกัน
แก้ปัญหาและการโค้ช
ชุดสร้างความรู้
ภารกิจที่2
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
ควรใช้มัลติมีเดีย เพราะสามารถที่จะนาเสนอได้ทั้ง
เสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิ ก ภาพถ่ายวัสดุ
ตีพิมพ์ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ประกอบกับสามารถที่จะ
จาลองภาพของการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้
ด้วยตนเองแบบเชิงรุก ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น
รู้จักการเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ์ นอกจากนี้มัลติมีเดียจะ
สามารถนาเสนอความรู้ได้เสมือนจริงและผู้เรียนสามารถ
เรียนหรือฝึ กซ้าได้
โรงเรียนมหาชัย
ควรใช้ E-Learning เป็ นเทคโนโลยีที่ทาให้มีการเรียน
ดาเนินไป โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่หรือเป็ นการเรียนที่
ไม่พร้อมกันโดยใช้เครื่องมือสาคัญที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตและ
เว็บ นอกจากนี้ยังเป็ นการช่วยให้มีการเรียนรู้อย่างมี
ปฏิสัมพันธ์และการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้แหล่งทรัพยากรที่
อยู่ห่างไกล ที่สามารถเข้าถึงได้ตามเวลาและสถานที่ที่ผู้เรียน
มีความสะดวกหรือต้องการ
และควรใช้การเรียนรู้บนเครือข่ายเป็ นบทเรียนที่นาเสนอผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยคุณลักษณะของสื่อที่
สามารถนาเสนอบทเรียนแบบข้อความหลายมิติ (Hypertext) ที่
ประกอบด้วยสารสนเทศหรือข้อมูลที่เรียกว่า โนด (Node) หลัก
และโนดย่อย โดยมีลักษณะที่ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
โดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทาให้ผู้เรียน
เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาตามต้องการ
โรงเรียนมหาชัย
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
ควรใช้ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอน
สตรัคติวิสต์ เพราะเป็ นการเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
โดยการลงมือกระทาหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด และ
อาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยง
กับประสบการณ์ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้าง
ทางปัญญา ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่เรียนมา
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
และควรใช้มัลติมีเดีย เพราะสามารถที่จะนาเสนอได้ทั้งเสียง
ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิ ก ภาพถ่ายวัสดุตีพิมพ์
ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ประกอบกับสามารถที่จะจาลองภาพ
ของการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
แบบเชิงรุก ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น สามารถ
เรียนรู้ได้ตามที่ต้องการและที่สาคัญเหมาะสมกับศักยภาพของ
ผู้เรียนบางกลุ่มด้วย
สรุป
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
โรงเรียนมหาชัย
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
มัลติมีเดีย
E-Learning
การเรียนรู้บนเครือข่าย
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
มัลติมีเดีย
ควรใช้
ควรใช้
ควรใช้
ภารกิจที่3
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่
7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่
สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติ
หน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
สาหรับการเลือกใช้นวัตกรรมที่สอดคล้องกับ
ลักษณะวิชาเอกคือวิชาคณิตศาสตร์ สามารถ
เลือกใช้นวัตกรรม คือ
การเรียนรู้บนเครือข่าย
มัลติมีเดีย
E-Learning
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
ในการบูรณาการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7
ในวิชาคณิตศาสตร์ สามารถบูรณาการใช้ได้ทั้ง 4
ประเภทคือ สามารถนามาใช้ร่วมกันหรือสับเปลี่ยนกัน
ใช้ได้ ซึ่งจะทาให้การเรียนการสอนสามารถสัมฤทธิ์
ผลได้อย่าง มีประสิทธิภาพเพราะนวัตกรรมแต่ละ
ประเภทต่างมีข้อดีข้อเด่นที่ช่วยเติมเต็มศักยภาพของ
ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ที่ดีและมีประสิทธิภาพได้
ด้วยกันทั้งสิ้น
สมาชิก
นายจาตุรันต์ น้อยตาแสง 553050277-8
นางสาวพัชริดา หวานคา 553050305-9
นางสาววิจิตตรา หอพิกลาง 553050317-2

More Related Content

Similar to Chapter 7

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7beta_t
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7FerNews
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7Bee Bie
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learnerKruBeeKa
 
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีKidneepper Nana
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 

Similar to Chapter 7 (20)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
241203 chapter07
241203 chapter07241203 chapter07
241203 chapter07
 
บท7
บท7บท7
บท7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 

More from การัน นามสมมุติ (15)

แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วยแผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
 
ความสุขของชีวิต
ความสุขของชีวิตความสุขของชีวิต
ความสุขของชีวิต
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)
 
Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Print
PrintPrint
Print
 
L3
L3L3
L3
 
L2
L2L2
L2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

Chapter 7