SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการออกแบบ 
และผลิตสื่อ วันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทา ให้รู้ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมี 
คุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 
ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน 
ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ 
ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ใน 
การเรียนของตนเอง
1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ 
ของครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล 
2. อธิบายข้อจา กัดของการประเมินสื่อการสอน 
3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน 
สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ 
ของครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล 
ครูสายใจ เป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน 
ใช้การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 
เพราะเป็นแนวคิดประเมินที่เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอน 
และสื่อการสอนประเภทต่างๆ ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ 
ต้องการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียนใน2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง 
(กระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดย กา หนดค่าประสิทธิภาพ 
เป็น E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์)
คำนวณโดยกำรใช้สูตร ดังนี้ 
E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ 
ΣX หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) 
N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ 
A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน 
E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ 
ΣF หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) 
N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอน ครั้งนี้ 
B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
ครูสมหญิง เป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนา 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสอนที่สอดคล้องกับครูสมหญิง คือ การ 
ออกแบบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ในการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จะ ทา การตรวจสอบการออกแบบการสอนที่อาศัย 
พื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่ง นา หลักการสาคัญของCognitive 
constructivism ของ Piajet และ Social constructivism ของ 
Vygotsky มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ หรือเรียกว่า การนา ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 
ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบที่สา คัญ ได้แก่ สถานการณ์ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐาน 
การช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ดังรายละเอียด ต่อไปนี้
1.การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง 
2.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง 
3.สถานการณ์ปัญหา กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรือ 
ค้นหา ค้นพบคา ตอบด้วยตนเอง 
4.ระดับภารกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสูง 
ภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็นปัญหาที่ 
ต้องการค้นหาคา ตอบ 
5.ธนาคารความรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียนสามารถ ค้นหา 
สารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลาย เพื่อนามาใช้ในการแก้ สถานการณ์ปัญหา 
ที่กา หนดให้รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของผู้เรียน
ครูมาโนช เป็นครูสอนวิชาภาษาได้ พัฒนา 
ชุดสร้างความรู้ 
วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสอนที่สอดคล้องกับครูสมหญิง คือ การ 
ออกแบบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
การประเมินด้านผลผลิต(ด้านสื่อ) ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อจะทา การตรวจสอบ 
เกี่ยวกับคุณภาพการออกแบบสื่อ 
มีหลักการสา คัญที่นา มาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้ 
• การนา เสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มีการ 
เน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง 
• การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ
• ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้ ขนาดของ 
ตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา 
• การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย 
• ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทา ให้ 
สามารถเรียนรู้ได้ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น 
• การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ
ครูประพาส เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนา 
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ 
ในการเรียนของตนเอง 
วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสอนที่สอดคล้องกับครูสมหญิง คือ บทเรียน 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 
• เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมิน ประสิทธิภาพ 
ของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ 
นิยามของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า 
90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จ 
ให้คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละ เฉลี่ย 
ของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้อง เป็น 90 หรือ 
สูงกว่า 90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียน ทั้งหมด ได้รับ 
ผลสัมฤทธ์ิตามมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม
• วิธีการคา นวณค่าประสิทธิภาพสื่อ 
1. สร้างตารางบันทึกผลการสอบหลังเรียน โดยนา ผลการทดสอบหลังเรียนของ ผู้เรียนมาบันทึกค่า 
คะแนนไปในแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กา หนดไว้ 
2. ตรวจผลการสอบของผู้เรียนแต่ละคน ดา เนินการตรวจผลการสอบว่าผู้เรียนแต่ ละคนได้คะแนนจาก 
การสอบหลังเรียนกี่คะแนน 
3. พิจารณาผลการสอบว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กา หนดไว้ในวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมเท่าใด ดา เนินการ 
พิจารณาผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีวัตถุประสงค์ใดบ้าง ที่ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์ 
4. คา นวณประสิทธิภาพโดยใช้สูตรคา นวณดังนี้ 
90 ตัวแรก ={(ΣX /N) X 100)}/R 
• 90 ตัวแรก หมายถึง จา นวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน 
• ΣX หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทา ได้ถูกต้องจาก การทดสอบหลังเรียน 
• N หมายถึง จา นวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคา นวณ ประสิทธิภาพครั้งนี้ 
• R หมายถึง จา นวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N 
• 90 ตัวหลัง หมายถึง จา นวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทา แบบทดสอบผ่าน 
ทุกวัตถุประสงค์ 
• Y หมายถึง จา นวนผู้เรียนที่สามารถทา แบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ 
• N หมายถึง จา นวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคา นวณ 
ประสิทธิภาพ ครั้งนี้
2. อธิบายข้อจา กัดของการประเมินสื่อการสอน 
ข้อจา กัดของการประเมินสื่อการสอน 
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อการสอนมีขั้นตอนการหาประสิทธิภาพ 
เริ่มตั้งแต่ การทดลองแบบกลุ่มต่อหนึ่ง (One to one testing) แล้วนา สื่อ 
มา ทดลองกับกลุ่มเล็ก (Small group testing) และท้ายสุดทา การ 
ทดลองภาคสนาม (Field testing) และอาจใช้วิธีการหาค่าประสิทธิภาพ 
กระบวนการ (E1)/ผลลัพธ์ (E2) หรืออาจใช้วิธีการหาค่าดัชนีประสิทธิผล 
(Effectiveness index หรือ E.I.) ค่าประสิทธิภาพดังกล่าว ล้วนแต่เป็น 
ค่าที่ได้จากการทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ซึ่งจะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนนที่ 
เป็นตัวเลขเชิงปริมาณเท่านั้น
3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน 
สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
การประเมินสื่อการสอน หมายถึง การนา ผลจากการวัดผลสื่อ 
การเรียนการสอน มา ตีความหมาย และตัดสินคุณค่า เพื่อที่จะรู้ ว่าสื่อนั้น 
ทา หน้าที่ตามที่วัตถุประสงค์กา หนดไว้ได้แค่ไหน มีคุณภาพดีหรือไม่ดี 
เพียงใด มีลักษณะถูกต้องตรงตามที่ต้องการหรือไม่ ประการใด จะเห็นว่า 
การประเมินผลสื่อการเรียนการสอน กระทา ได้โดยการ พิจารณาข้อมูลที่ 
ได้จากการวัดผลสื่อนั้นเทียบกับวัตถุประสงค์ ที่กา หนดไว้ ข้อมูลที่ ได้จาก 
การวัดผลสื่อจึงมีความสา คัญ การวัดผลจึงต้องกระทา อย่างมีหลักการ 
เหตุผลและเป็นระบบเพื่อที่จะได้ข้อมูล ที่เที่ยงตรง สามารถบอกศักยภาพ 
ของสื่อได้ ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเพื่อประโยชน์ของการ 
ประเมินผลสื่ออย่างเที่ยงตรง ต่อไป
การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เป็นการ 
ประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลข ตลอดจน 
สัญลักษณ์ของสื่อที่พิจารณาคุณลักษณะของสื่อในลักษณะภาพ เสียง ที่ส่งผล 
ต่อการประมวลสารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียนรวมทั้งยังอาศัย 
ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งจะช่วยให้สามารถนา มาปรับปรุงสื่อนวัตกรรมการ 
เรียนรู้หรือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือมีประสิทธิภาพเพิ่ม 
มากขึ้น 
หลักการสาคัญที่ควรพิจารณา ได้แก่ การประเมินด้านผลผลิต , การประเมิน 
บริบท,การประเมินด้านความคิดเห็น ,การประเมินด้านความ 
สามารถทางสติปัญญา และการประเมินผลสัมฤทธ์ิ
งานกลุ่ม Chapter 10

More Related Content

What's hot

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_SiwadolChaimano
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้jamrat
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดarisara
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้jamrat
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa educationpratanago
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5jamrat
 

What's hot (20)

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 
Flipped 2014
Flipped 2014Flipped 2014
Flipped 2014
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัด
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa education
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 

Similar to งานกลุ่ม Chapter 10

Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้pohn
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__sinarack
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sattakamon
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อAnn Pawinee
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.Pattarapong Worasakmahasan
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 

Similar to งานกลุ่ม Chapter 10 (20)

Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อ
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 

More from Pronsawan Petklub

นางสาวพรสวรรค์ เพชรกลับ รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)
นางสาวพรสวรรค์  เพชรกลับ  รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)นางสาวพรสวรรค์  เพชรกลับ  รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)
นางสาวพรสวรรค์ เพชรกลับ รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)Pronsawan Petklub
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Pronsawan Petklub
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6Pronsawan Petklub
 
งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5Pronsawan Petklub
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4Pronsawan Petklub
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3Pronsawan Petklub
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3Pronsawan Petklub
 
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอนวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอPronsawan Petklub
 

More from Pronsawan Petklub (9)

นางสาวพรสวรรค์ เพชรกลับ รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)
นางสาวพรสวรรค์  เพชรกลับ  รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)นางสาวพรสวรรค์  เพชรกลับ  รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)
นางสาวพรสวรรค์ เพชรกลับ รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอนวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
 

งานกลุ่ม Chapter 10

  • 1.
  • 2.
  • 3. ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการออกแบบ และผลิตสื่อ วันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทา ให้รู้ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมี คุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ใน การเรียนของตนเอง
  • 4. 1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ ของครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล 2. อธิบายข้อจา กัดของการประเมินสื่อการสอน 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
  • 5. 1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ ของครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล ครูสายใจ เป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน ใช้การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เพราะเป็นแนวคิดประเมินที่เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอน และสื่อการสอนประเภทต่างๆ ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ ต้องการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียนใน2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดย กา หนดค่าประสิทธิภาพ เป็น E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์)
  • 6. คำนวณโดยกำรใช้สูตร ดังนี้ E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ ΣX หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ ΣF หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอน ครั้งนี้ B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
  • 7. ครูสมหญิง เป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนา สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสอนที่สอดคล้องกับครูสมหญิง คือ การ ออกแบบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ในการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จะ ทา การตรวจสอบการออกแบบการสอนที่อาศัย พื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่ง นา หลักการสาคัญของCognitive constructivism ของ Piajet และ Social constructivism ของ Vygotsky มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ หรือเรียกว่า การนา ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบที่สา คัญ ได้แก่ สถานการณ์ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐาน การช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ดังรายละเอียด ต่อไปนี้
  • 8. 1.การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง 2.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง 3.สถานการณ์ปัญหา กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรือ ค้นหา ค้นพบคา ตอบด้วยตนเอง 4.ระดับภารกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสูง ภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็นปัญหาที่ ต้องการค้นหาคา ตอบ 5.ธนาคารความรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียนสามารถ ค้นหา สารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลาย เพื่อนามาใช้ในการแก้ สถานการณ์ปัญหา ที่กา หนดให้รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของผู้เรียน
  • 9. ครูมาโนช เป็นครูสอนวิชาภาษาได้ พัฒนา ชุดสร้างความรู้ วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสอนที่สอดคล้องกับครูสมหญิง คือ การ ออกแบบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การประเมินด้านผลผลิต(ด้านสื่อ) ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อจะทา การตรวจสอบ เกี่ยวกับคุณภาพการออกแบบสื่อ มีหลักการสา คัญที่นา มาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้ • การนา เสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มีการ เน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง • การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ
  • 10. • ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้ ขนาดของ ตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา • การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย • ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทา ให้ สามารถเรียนรู้ได้ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น • การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ
  • 11. ครูประพาส เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ ในการเรียนของตนเอง วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสอนที่สอดคล้องกับครูสมหญิง คือ บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน • เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมิน ประสิทธิภาพ ของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ นิยามของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า 90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จ ให้คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละ เฉลี่ย ของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้อง เป็น 90 หรือ สูงกว่า 90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียน ทั้งหมด ได้รับ ผลสัมฤทธ์ิตามมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม
  • 12. • วิธีการคา นวณค่าประสิทธิภาพสื่อ 1. สร้างตารางบันทึกผลการสอบหลังเรียน โดยนา ผลการทดสอบหลังเรียนของ ผู้เรียนมาบันทึกค่า คะแนนไปในแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กา หนดไว้ 2. ตรวจผลการสอบของผู้เรียนแต่ละคน ดา เนินการตรวจผลการสอบว่าผู้เรียนแต่ ละคนได้คะแนนจาก การสอบหลังเรียนกี่คะแนน 3. พิจารณาผลการสอบว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กา หนดไว้ในวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมเท่าใด ดา เนินการ พิจารณาผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีวัตถุประสงค์ใดบ้าง ที่ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์ 4. คา นวณประสิทธิภาพโดยใช้สูตรคา นวณดังนี้ 90 ตัวแรก ={(ΣX /N) X 100)}/R • 90 ตัวแรก หมายถึง จา นวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน • ΣX หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทา ได้ถูกต้องจาก การทดสอบหลังเรียน • N หมายถึง จา นวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคา นวณ ประสิทธิภาพครั้งนี้ • R หมายถึง จา นวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
  • 13. 90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N • 90 ตัวหลัง หมายถึง จา นวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทา แบบทดสอบผ่าน ทุกวัตถุประสงค์ • Y หมายถึง จา นวนผู้เรียนที่สามารถทา แบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ • N หมายถึง จา นวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคา นวณ ประสิทธิภาพ ครั้งนี้
  • 14. 2. อธิบายข้อจา กัดของการประเมินสื่อการสอน ข้อจา กัดของการประเมินสื่อการสอน การประเมินประสิทธิภาพของสื่อการสอนมีขั้นตอนการหาประสิทธิภาพ เริ่มตั้งแต่ การทดลองแบบกลุ่มต่อหนึ่ง (One to one testing) แล้วนา สื่อ มา ทดลองกับกลุ่มเล็ก (Small group testing) และท้ายสุดทา การ ทดลองภาคสนาม (Field testing) และอาจใช้วิธีการหาค่าประสิทธิภาพ กระบวนการ (E1)/ผลลัพธ์ (E2) หรืออาจใช้วิธีการหาค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index หรือ E.I.) ค่าประสิทธิภาพดังกล่าว ล้วนแต่เป็น ค่าที่ได้จากการทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ซึ่งจะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนนที่ เป็นตัวเลขเชิงปริมาณเท่านั้น
  • 15. 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การประเมินสื่อการสอน หมายถึง การนา ผลจากการวัดผลสื่อ การเรียนการสอน มา ตีความหมาย และตัดสินคุณค่า เพื่อที่จะรู้ ว่าสื่อนั้น ทา หน้าที่ตามที่วัตถุประสงค์กา หนดไว้ได้แค่ไหน มีคุณภาพดีหรือไม่ดี เพียงใด มีลักษณะถูกต้องตรงตามที่ต้องการหรือไม่ ประการใด จะเห็นว่า การประเมินผลสื่อการเรียนการสอน กระทา ได้โดยการ พิจารณาข้อมูลที่ ได้จากการวัดผลสื่อนั้นเทียบกับวัตถุประสงค์ ที่กา หนดไว้ ข้อมูลที่ ได้จาก การวัดผลสื่อจึงมีความสา คัญ การวัดผลจึงต้องกระทา อย่างมีหลักการ เหตุผลและเป็นระบบเพื่อที่จะได้ข้อมูล ที่เที่ยงตรง สามารถบอกศักยภาพ ของสื่อได้ ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเพื่อประโยชน์ของการ ประเมินผลสื่ออย่างเที่ยงตรง ต่อไป
  • 16. การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เป็นการ ประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลข ตลอดจน สัญลักษณ์ของสื่อที่พิจารณาคุณลักษณะของสื่อในลักษณะภาพ เสียง ที่ส่งผล ต่อการประมวลสารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียนรวมทั้งยังอาศัย ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งจะช่วยให้สามารถนา มาปรับปรุงสื่อนวัตกรรมการ เรียนรู้หรือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือมีประสิทธิภาพเพิ่ม มากขึ้น หลักการสาคัญที่ควรพิจารณา ได้แก่ การประเมินด้านผลผลิต , การประเมิน บริบท,การประเมินด้านความคิดเห็น ,การประเมินด้านความ สามารถทางสติปัญญา และการประเมินผลสัมฤทธ์ิ