SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
CHAPTER 10
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา
ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับ
การออกแบบและผลิตสื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้
ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน
ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้
ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้
ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง
ภารกิจที่ 1
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อ
ให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครู
แต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล
ครูสายใจ
เป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูสายใจ
การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์
ประสิทธิภาพ E1/E2
• เพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอนใน
รูปแบบของตัวเลขเชิงปริมาณ และถือเป็นการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูสายใจ
การประเมินด้านผลผลิต
ด้านเนื้อหา
ความถูกต้องเหมาะสม
เนื้อหาชัดเจน
นาเสนอน่าสนใจ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี
ช่วยให้รู้ถึงคุณภาพของชุดการสอน
และจะได้ปรับปรุง แก้ไขให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
ครูสมหญิง
ครูสอนวิทยาศาสตร์ได้พัฒนา
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูสมหญิง
การประเมินด้านผลผลิตและการประเมินด้านความคิดเห็นของ
ผู้เรียน
การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง
เนื้อหาชัดเจนผู้เรียนมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนความคิดและ
แก้ปัญหาร่วมกัน
ภารกิจช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์
ฐานความ
ช่วยเหลือ
ธนาคารความรู้
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูสมหญิง
เพราะ เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการ
ของการพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ รวมทั้ง
สามารถปรับปรุงสื่อให้มีประสิทธิภาพได้จากผลการ
ประเมินทั้งสองอย่าง
ครูมาโนช
เป็นครูสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูมาโนช
การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์
ประสิทธิภาพ E1/E2
• เพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดสร้างความรู้
ในรูปแบบของตัวเลขเชิงปริมาณและถือเป็น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูมาโนช
การประเมินด้านผลผลิต
ด้านสื่อ
เนื้อหาดึงดูดความสนใจ
ผู้เรียน
มีการออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะที่
เหมาะสม น่าสนใจ
ภาพประกอบสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการ
เรียนรู้
เพราะ สะท้อนให้เห็นถึง
ประสิทธิภาพของชุดการสอน
และจะได้ปรับปรุงให้สื่อดีขึ้น
ครูประพาส
เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ใน
การเรียนของตนเอง
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูประพาส
เกณฑ์มาตรฐาน 90/90
• เพื่อประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรม
สอนในรูปแบบของตัวเลขเชิงปริมาณและถือเป็น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูประพาส
การประเมินด้านผลผลิตและความคิดเห็นของผู้เรียน
เนื้อหา
ความถูกต้องและเหมาะสม
เนื้อหาครอบคลุม ชัดเจน กะทัดรัด
สื่อ
ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน
ออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ
เหมาะสม น่าสนใจ
ภาพประกอบสอดคล้องเนื้อหา
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูประพาส
เพราะ การประเมินข้างต้นทาให้เห็นถึงคุณภาพของ
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ดี และสามารถที่จะนาเอา
ข้อคิดเห็นที่ได้รับไปปรับปรุงแก้ไขสื่อให้ดีขึ้นได้
ภารกิจที่ 2
อธิบายข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน
การประเมิน
สื่อการสอน
• การหาค่าประสิทธิภาพกระบวนการ (E1) / ผลลัพธ์ (E2)
• การหาค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.)
ผลที่ได้
ค่าคะแนนที่
เป็นตัวเลขเชิง
ปริมาณ
ไม่เพียง
พอกับ
กระบวนทัศน์และลักษณะการ
ออกแบบสื่อในปัจจุบันที่เป็นสื่อ
การเรียนรู้ หรือสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการ
ปรับปรุงและพัฒนาให้ผล
ผลิตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
ข้อจากัดของ
การประเมิน
สื่อการสอน
การประเมินเพียงเฉพาะมิติด้านผลสัมฤทธิ์ซึ่งใช้ข้อมูลเชิง
ปริมาณที่เป็นค่าคะแนน หรือตัวเลขอย่างเดียว อาจให้
รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะนามาสู่การปรับปรุงใน
กระบวนการพัฒนา
การประเมินเพื่อ
ปรับปรุง และการ
ประเมินผลลัพธ์
ภารกิจที่ 3
เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิด
การประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้
และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน
สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
1.การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์
(1) ยึดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
(2) ยึด E1/E2
E1 ประสิทธิภาพของกระบวนการ,
E2 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
1.การประเมินด้านผลผลิต เป็นการ
ประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ โดยการตรวจสอบ
คุณภาพด้านต่างๆได้แก่ ด้านเนื้อหา
ด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ ด้านสื่อ และด้านประเมินผล
2.การประเมินโดยค่าดัชนี
ประสิทธิผล
โดยดัชนีประสิทธิผลที่ใช้ได้ควรมีค่า
0.50 ขึ้นไป
E.I. = P2% - P1%
100 – P1%
เมื่อ P1% แทน ร้อยละของผลรวม
ของคะแนนทดสอบก่อน
เรียน
P2% แทน ร้อยละผลรวมของ
คะแนนทดสอบหลังเรียน
การประเมินทั้ง2วิธีข้างต้นผลสัมฤทธิ์
จะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนนที่เป็น
ตัวเลขเชิงปริมาณ
2.การประเมินบริบทการใช้ใน
สภาพจริง เพื่อศึกษาเพื่อหาบริบทที่
เหมาะสมในการใช้สื่อการเรียนรู้และ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในสภาพ
จริง
1) ศึกษาบริบทที่เหมาะสมในการใช้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบน
เครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพใน
สภาพจริง
2) ทดลองใช้เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข
นาข้อคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วย
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบน
เครือข่าย มาเป็นพื้นฐานในการ
ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
3.ประเมินด้านความคิดเห็นของผู้เรียน ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ เป็นส่วนหนึ่งที่สะท้อนเกี่ยวกับ
ประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
การประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ อาศัยพื้นฐาน
ด้านที่สาคัญ ได้แก่
(1) ด้านคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่าย
(2) ด้านเนื้อหาในการเรียนรู้
(3) ด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
4. การประเมินด้านความสามารถทางปัญญาของผู้เรียน
โดยจะมุ่งเน้นการแสดงออกในเชิงพุทธิปัญญา (Cognitive) เปิด
โอกาสให้ผู้เรียนแก้ปัญหา หรือปฏิบัติงานจริง อาจประเมินได้จาก
กระบวนการทางาน กระบวนการคิด (Cognitive process) โดยเฉพาะ
การคิดในระดับสูง
5.การประเมินด้านผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน หรือค่าคะแนนที่ได้จาก
ประเมินได้จากคะแนนจากการทดสอบ
หลังเรียนของผู้เรียนหลังจากการเรียน
ได้แก่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ/
ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ หรือ E1/E2
หรือ ค่าดัชนีประสิทธิผล (Index
effectiveness) ที่จะสะท้อนให้เห็น
ประสิทธิภาพของสื่อ
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
1.นางสาวธัญญารัตน์ พิลาจันทร์ รหัสนักศึกษา 553050079-2
2.นางสาวพชรพร บุญพรม รหัสนักศึกษา 553050087-3
3.นางสาวสุวรรณ พวงยี่โถ รหัสนักศึกษา 553050111-2
4.นางสาวสุพัตรา ผลประสาท รหัสนักศึกษา 553050327-9
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา sec.2

More Related Content

What's hot

การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)Rachabodin Suwannakanthi
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บุคคลสำคัญในท้องถิ่น ป.2+533+55t2his p02 f02-4page
บุคคลสำคัญในท้องถิ่น ป.2+533+55t2his p02 f02-4pageบุคคลสำคัญในท้องถิ่น ป.2+533+55t2his p02 f02-4page
บุคคลสำคัญในท้องถิ่น ป.2+533+55t2his p02 f02-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนสื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนguestdde33c3
 
ใบตอบรับการสนับสนุน
ใบตอบรับการสนับสนุนใบตอบรับการสนับสนุน
ใบตอบรับการสนับสนุนChanabodee Ampalin
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาTaraya Srivilas
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายJaturapad Pratoom
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studioสอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
Collaborative learning
Collaborative learningCollaborative learning
Collaborative learning
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
บุคคลสำคัญในท้องถิ่น ป.2+533+55t2his p02 f02-4page
บุคคลสำคัญในท้องถิ่น ป.2+533+55t2his p02 f02-4pageบุคคลสำคัญในท้องถิ่น ป.2+533+55t2his p02 f02-4page
บุคคลสำคัญในท้องถิ่น ป.2+533+55t2his p02 f02-4page
 
สื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนสื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอน
 
ใบตอบรับการสนับสนุน
ใบตอบรับการสนับสนุนใบตอบรับการสนับสนุน
ใบตอบรับการสนับสนุน
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 

Similar to Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้

การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)Siri Siripirom
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10beta_t
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdfFerNews
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้lalidawan
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้FFon Minoz
 
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2chatruedi
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sattakamon
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 

Similar to Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ (20)

การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)
 
Chapter10mii
Chapter10miiChapter10mii
Chapter10mii
 
241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdf
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
CHAPTER 10
CHAPTER 10CHAPTER 10
CHAPTER 10
 
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
 
บทท 10
บทท   10บทท   10
บทท 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้