SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
• ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการ
ออกแบบและผลิตสื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้
ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
• ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน
• ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้
• ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้
• ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
ภารกิจที่ 1
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับ
ลักษณะของสื่อของครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน
• การประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผล
การวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness
index: E.I.) เป็นอีกวิธีที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อ
การสอน ซึ่งนิยมใช้วิธีของ Goodman, Fletcher and
Schneider (1980)
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์
ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
• ประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง
การประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง หรือเป็นการนาไปทดลองใช้ เพื่อ
ศึกษาเพื่อหาบริบทที่เหมาะสมในการใช้สื่อการเรียนรู้
• การประเมินด้านความสามารถทางปัญญาของผู้เรียน
ความสามารถทางปัญญาของผู้เรียน ถือเป็นอีกมิติหนึ่งที่จะสะท้อนให้เห็น
ประสิทธิภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่ส่งเสริมการสร้าง
ความรู้นอกเหนือจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือ ประสิทธิภาพของ
กระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ หรือ E1/E2 เท่านั้น และสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ในสภาพจริง
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้
• การประเมินด้านผลผลิต
ประเมินผลผลิต เป็นการประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ โดยการตรวจสอบคุณภาพด้านต่างๆโดยผู้เชี่ยวชาญ
ด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ ด้านสื่อ และด้านประเมินผล
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์
ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง
• ประเมินด้านความคิดเห็นของผู้เรียน
ความคิดเห็นของผู้เรียนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ เป็น
ส่วนหนึ่งที่สะท้อนเกี่ยวกับประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ มิใช่
เพียงแต่ค่าคะแนนที่ได้จากผู้เรียนที่ได้เรียนทาได้เช่น ค่า E1/E2 เท่านั้น
นอกจากนี้ผลของความคิดเห็นฯของผู้เรียน สามารถนามาเป็นพื้นฐานใน
การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
ภารกิจที่ 2
อธิบายข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
การวัดและการประเมินผลสื่อการเรียนการสอนที่มีขั้นตอนการตรวจสอบที่พิถีพิถัน
เพื่อให้ได้สื่อที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง ในเบื้องแรก การตรวจสอบแบ่งออกได้เป็นสองส่วน
ใหญ่ คือ การตรวจสอบโครงสร้างภายในสื่อ (Structural) และการตรวจสอบคุณภาพ
สื่อ (Qualitative)
ลักษณะเฉพาะตามประเภทของสื่อ
สื่อแต่ละประเภทมีลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะ สื่อการเรียนการสอนบาง
ประเภทจะทาหน้าที่เพียงให้สาระข้อมูล บางประเภทจะให้ทั้งสาระและกาหนดให้ผู้เรียน
ตอบสนองด้วยในสื่อบางประเภท
มาตรฐานการออกแบบ (Design Standards)
มาตรฐานทางเทคนิควิธี (Technical standards)
เทคนิควิธีการเสนอสื่อ เป็นปัจจัยสาคัญอีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้สื่อมีความน่าสนใจและ
สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
ภารกิจที่ 3
เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อ
การเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
ความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการ
เรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
แนวคิด ความแตกต่าง
แนวคิดการประเมินสื่อการสอน แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้สอดคล้องกับแนวคิดกลุ่ม
พฤติกรรมนิยม ซึ่งเชื่อว่า การเรียนรู้คือการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมาจาก
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับความรู้ที่จะได้รับ
การถ่ายทอดโดยตรงจากครู
แนวคิดสื่อการเรียนรู้และ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
มุ่งเน้นการส่งเสริมกระบวนการรู้คิดหรือกระบวนการ
ทางพุทธิปัญญา (Cognitive process) และ
แนวโน้มในปัจจุบันทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
และกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ที่นิยามการเรียนรู้คือการ
สร้างความรู้ของผู้เรียน ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น
ภายในสมองของผู้เรียน
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
การประเมินสื่อการสอน
สื่อการสอนที่เป็นเพียงตัวกลางที่ถ่ายทอดเนื้อหาหรือความรู้ มีอิทธิพล
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานที่ว่าความรู้เป็นสิ่งที่หยุดนิ่ง ไม่มี
การเปลี่ยนแปลง ดังนั้นหากใครสามารถรับหรือจดจาความรู้ได้มากที่สุดก็ถือ
ว่าผู้นั้นเป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีที่สุดและนั่นคือเป้ าหมายของการจัดการเรียนรู้ของ
ครู แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ดังกล่าวจะสอดคล้องกับแนวคิดกลุ่มพฤติกรรม
นิยม ซึ่งเชื่อว่า การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมาจาก
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งการเรียนรู้นั้นจะคงทนหาก
ได้รับการเสริมแรง การฝึกหัด การทาซ้าๆ เป็นต้น
บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับความรู้ที่จะได้รับการถ่ายทอด
โดยตรงจากครู แนวคิดดังกล่าวนามาซึ่งการพัฒนาเป็นสื่อการสอน ได้แก่
บทเรียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน เป็นต้น
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
แนวคิดสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ภายหลังกระบวนทัศน์การประเมินที่เปลี่ยนแปลงจากสื่อเพื่อการถ่ายทอดมา
สู่สื่อหรือเทคโนโลยีทางปัญญา (Cognitive technology) ที่มุ่งเน้นการ
ส่งเสริมกระบวนการรู้คิดหรือกระบวนการทางพุทธิปัญญา(Cognitive
process) และแนวโน้มในปัจจุบันทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมและกลุ่มคอน
สตรัคติวิสต์ที่นิยามการเรียนรู้คือการสร้างความรู้ของผู้เรียน ซึ่งเป็นกระบวนการที่
เกิดขึ้นภายในสมองของผู้เรียน การประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่า
คะแนนหรือตัวเลขอาจไม่เพียงพอที่จะนามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา
ประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในกระบวนการรู้คิดภายในสมอง ตลอดจนระบบ
สัญลักษณ์ของสื่อที่พิจารณาคุณลักษณ์ของสื่อในลักษณะที่เป็นภาพ เสียง ที่ส่งผล
ต่อการประมวลสารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียน ควรเพิ่มเติมข้อมูลเชิง
คุณภาพ จะช่วยให้สามารถนามาปรับปรุงสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้ หรือสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะนาเสนอหลักการที่
สาคัญที่ควรพิจารณา ประกอบด้วย (1) การประเมินด้านผลผลิต (2) การประเมิน
บริบทการใช้ (3) การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา (4) การประเมินด้าน
ความคิดเห็น (5) การประเมินผลสัมฤทธิ์
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์
สมาชิก
• นางสาวจุฑารัตน์ ตั้งสัตยาวิรุฬห์ 553050279-4
• นางสาวพิมพ์สุภา วุ่นเหลี่ยม 553050307-5
• นางสาวรชยา ราศรี 553050093-8
• นางสาวลภัสรดา ภาราสิริสกุล 553050095-4

More Related Content

What's hot

Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2chatruedi
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdfFerNews
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้lalidawan
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้suwannsp
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10Zhao Er
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้FFon Minoz
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__sinarack
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 

What's hot (17)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
 
บทท 10
บทท   10บทท   10
บทท 10
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdf
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 

Viewers also liked

Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Jutharat_thangsattayawiroon
 
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Jutharat_thangsattayawiroon
 
Make a plan INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
Make a plan   INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIAMake a plan   INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
Make a plan INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIAJutharat_thangsattayawiroon
 
Home Maid Services Vancouver
Home Maid Services VancouverHome Maid Services Vancouver
Home Maid Services VancouverKevinNathan
 
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)Jutharat_thangsattayawiroon
 

Viewers also liked (19)

Testo 330
Testo 330Testo 330
Testo 330
 
Eng
EngEng
Eng
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
Testo 480
Testo 480Testo 480
Testo 480
 
Chapter 2 (introduction technologies)
Chapter 2 (introduction technologies)Chapter 2 (introduction technologies)
Chapter 2 (introduction technologies)
 
Testo 360
Testo 360Testo 360
Testo 360
 
Testo 445
Testo 445Testo 445
Testo 445
 
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
Make a plan INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
Make a plan   INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIAMake a plan   INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
Make a plan INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
Testo 635
Testo 635Testo 635
Testo 635
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 5 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES)
Chapter 5 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES)Chapter 5 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES)
Chapter 5 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES)
 
Chapter 3 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES)
Chapter 3 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES)Chapter 3 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES)
Chapter 3 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES)
 
Testo 308
Testo 308Testo 308
Testo 308
 
Testo 316-317
Testo 316-317Testo 316-317
Testo 316-317
 
Home Maid Services Vancouver
Home Maid Services VancouverHome Maid Services Vancouver
Home Maid Services Vancouver
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Testo 110
Testo 110Testo 110
Testo 110
 
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
โครงงานความสุขของชีวิต (HAPPINESS OF LIFE)
 

Similar to Chapter 10

Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10beta_t
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sattakamon
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อAnn Pawinee
 
สิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟสิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟO-mu Aomaam
 
สิบค่า
สิบค่าสิบค่า
สิบค่าO-mu Aomaam
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10Pronsawan Petklub
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 

Similar to Chapter 10 (18)

Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อ
 
สิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟสิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟ
 
สิบค่า
สิบค่าสิบค่า
สิบค่า
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 

Chapter 10