SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
คาศัพท์การตัดต่อภาพ




                        อภิดา รุณวาทย์
สาขาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชั่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คาศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
       การตัดต่อภาพเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญ เนื่องจากเป็นขั้นตอนในการนาภาพมาลาดับเหตุการณ์
ในการนาเสนอเพื่อสื่อสารให้ผู้ชมเข้าใจ รวมถึงการใช้เทคนิคประกอบเพื่อให้ผลงานเกิดความน่าสนใจยิ่งขึ้น
อย่างไรก็ตาม เครื่องมือที่ใช้ใ นการสร้างเทคนิคต่างๆ มีความก้าวหน้าไปมาก ทั้งทางด้านอุปกรณ์และ
ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป จึงเกิดเทคนิคภาพมากมายและแตกต่างกั นไปตามผู้ผลิต ดังนั้นจึงนาเสนอเฉพาะ
คาศัพท์ที่เป็นพืนฐานที่ใช้ในการตัดต่อภาพ โดยแบ่งประเภทดังนี้
                ้
       การเปลี่ยนภาพ (Transition)
       การเปลี่ยนรูปทรงของภาพ (Resize)
       ทิศทางการเคลื่อนที่ (Motion)
       การทาสีภาพ (Tint)
       การขึ้นซ้อนภาพ และการคีย์ (Superimposition and keys)
       การเปลี่ยนความเร็วของภาพ (Speed)
       การคั่นภาพ (Intervention)



การเปลี่ยนภาพ (Transition)

       อุปกรณ์ตัดต่อวีดิทัศน์นั้นมีคาสั่งพื้นฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนภาพ (Transition patterns) ทาหน้าที่
สร้างเทคนิคการเปลี่ยนภาพจากช็อตหนึ่งไปยังอีกช็อตหนึ่งด้วยรูปแบบที่แตกต่างกัน

การตัดภาพ (Cut)
      เป็นการเปลี่ยนภาพจากภาพหนึ่งไปยังอีกภาพหนึ่ง ทันที นิยมใช้กับการตัดภาพทั่วไป เน้นความ
กระฉับกระเฉง และความตื่นตัว เป็นต้น

การจางภาพเข้า (Fade in)
         เป็นการค่อยๆ นาภาพเข้ามา เริ่มจากภาพพื้นดาแล้วค่อยๆ เห็นภาพทั้งหมดชัดเจน นิยมใช้ในการ
เปิดเข้าเรื่อง เริ่มต้นใหม่ แนะนาสถานที่แห่งใหม่ เป็นต้น
การจางภาพออก (Fade out)
      เป็นการค่อยๆ นาภาพที่ปรากฏอยู่จางหายไปจนเป็นพื้นดา นิยมใช้ในการจบเรื่อง ปิดฉาก หมดวัน
และการสินสุด เป็นต้น
        ้

การจางซ้อนภาพ (Dissolve)
         เป็นการเปลี่ยนภาพโดยขณะที่ช็อตแรกกาลังจางลง ช็อตต่อมาค่อยๆปรากฏขึ้นมาแทนที่จนเต็ม
พร้อมกั บช็อตแรกจางหายไปในที่สุด นิย มใช้กั บการบอกวันเวลาที่ค่อยๆ ผ่านไป ความเชื่องช้า ความ
อ้อยอิ่ง ความอ่อนหวานละมุนละไม และความโรแมนติก เป็นต้น

การกวาดภาพ (Wipe)
       เป็นการเปลี่ยนภาพโดยการปาดภาพในแนวตั้ง แนวนอน หรือแนวเฉียง การกวาดภาพนิยมใช้กับ
การเปรียบเทียบระหว่างสิ่งของสองสิ่ง เปรียบเทียบเหตุการณ์สองเหตุการณ์ที่กาลังดาเนินไปพร้อมกันแต่
คนละสถานที่ การพูดโทรศัพท์ตอบโต้กัน เป็นต้น

การเลื่อนสไลด์ภาพ (Slide effect)
        เป็นการเปลี่ยนเลื่อนภาพใหม่เข้ามาแทนที่ภาพเดิม การเลื่อนภาพอาจดูคล้ายการปาดภาพ แต่การ
เลื่อนภาพเป็นลักษณะเคลื่อนหรือดันภาพแรกออกไปทั้งภาพ ส่วนการปาดภาพนั้นภาพแรกอยู่กับที่แล้ว
ภาพใหม่ปาดเข้ามาแทนที่

การพลิกภาพสามมิติ (3D effect)
      เป็นการเปลี่ยนภาพที่มีมิติความลึกเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยเกิดจากการหมุนแกนภาพ (Rotate effect)
และการม้วนภาพ (Peel or roll effect) ได้แก่ การหมุนภาพแนวตั้ง (Flip) การหมุนภาพแนวนอน (Tumble)
การหมุนภาพตีลังกา (Spin) และการพลิกหน้า (Peel) เป็นต้น

การเปลี่ยนรูปทรงของภาพ (Resize)

       การเปลี่ยนรูปทรงของภาพ เป็นการทาเทคนิคภาพให้ภาพขนาดเต็มจอ มีการย่อ -ขยาย ในรูปแบบ
ต่างๆ ได้แก่ การยืดภาพในแนวต่างๆ (Stretching) การย่อขยายภาพ (Shrinking and expanding) การย่อ
ภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยมหลายๆ รูป (Snapshots) และการบีบอัดภาพในรูปทรงต่างๆ (Compression) เช่น ทรง
ลูกบอล ทรงสี่เหลี่ยมลูกเต๋า ฯลฯ เทคนิคเหล่านีนิยมใช้กับรายการเกมโชว์ รายการวาไรตี้ รายการข่าว เป็น
                                             ้
ต้น
ทิศทางการเคลื่อนที่ (Motion)

        การท าเทคนิค ภาพการพลิก ภาพสามมิติ การเลื่อนภาพ และการเปลี่ย นรูป ทรงของภาพ อาจ
ตามมาด้วยการใช้คาสั่งเกี่ยวกับการสร้างทิศทางการเคลื่อนที่เข้าออกของภาพ เช่น การกระเด้ง (Bounce
effect) การปลิวเข้ามา (Fly effect) การพุ่งภาพเข้า-ออก เป็นต้น

การทาสีภาพ (Tint)

        การทาเทคนิคทาสีภาพเป็นการปรับสีภาพให้ผิดไปจากภาพต้นฉบับ เช่น ภาพขาว-ดา (Black and
white) ภาพย้อมสีต่างๆ (Dye) การทาโมเสกภาพ (Mosaic) การย้อมสีภาพแบบเนกาทีฟ (Solarise) การ
ย้อมสีเป็นเกรนแตกๆ (Posterise) เป็นต้น การทาเทคนิคทาสีภาพสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
เช่น ภาพขาวดาใช้ในกรณีย้อนอดีต ภาพย้อมสีแดงอาจใช้ในฉากแสดงความรุนแรง และภาพโมเสกใช้ใ น
การทาเซ็นเซอร์ เป็นต้น

การขึนซ้อนภาพ และการคีย์ (Superimposition and keys)
     ้

      การทาเทคนิคภาพขึ้นซ้อนภาพเป็นการซ้อนภาพใหม่ขึ้นมาค้างไว้บนภาพเก่า โดยภาพเก่ายังไม่ได้
หายไปไหน เทคนิคในกลุ่มนี้ ได้แก่

การขึ้นซ้อนภาพ (Superimposition)

      เป็นภาพในลักษณะที่ภาพหนึ่งซ้อนทับอยู่อีกบนภาพหนึ่ง ลักษณะคล้ายกับช่วงระหว่างเปลี่ยนผ่าน
ของภาพจางซ้อ น (Dissolve) ที่ภ าพสองภาพซ้ อนทับ กั นอยู่ นิย มใช้ใ นฉากความคิ ด ความฝัน หรื อ
จินตนาการ

การคีย์ (Key)

         การใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการตัดภาพพื้นหลังบางส่วนเป็นช่องออกไป แล้วเติมสีหรือภาพ
อื่นเข้าไปแทนที่ ภาพที่ออกมาจึงเห็นทั้งภาพพื้นหลังเดิมไปพร้อมๆ กับภาพที่เติมเข้าไปใหม่ การคีย์ส่วน
ใหญ่ คือ การซ้อนภาพเข้าไปในช่องของตัวหนังสือต่างๆ เช่น ไตเติ้ล (Title) และเครดิตชื่อ (Credits) หรือ
การตัดภาพอีกภาพซ้อนเข้าไปอยู่ในภาพพื้นหลังบางส่วน เช่น การคีย์บนกรอบภาพหัวข่าว เป็นต้น
โครมาคีย์ (Chroma key effect)

        การซ้อนภาพโดยการกัดสีฉากพื้นหลังที่เป็นส่วนบลูสกรีน (Blue screen) ออกไปแล้วแทนที่ด้วย
ภาพอื่น สิ่งสาคัญในการทาเทคนิ คโครมาคีย์ คือ ห้ามวัตถุหลักที่อยู่หน้าฉากเป็นสีเดียวกับฉากหลังบลู
สกรี น ที่ ต้ อ งการคี ย์ เพราะพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น บลู ส กรี น จะถู ก กั ด สี อ อกไป เทคนิ ค บลู ส กรี น พบได้ ใ นรายการ
พยากรณ์อากาศ เป็นต้น

การเปลี่ยนความเร็วของภาพ (Speed)

         ภาพที่ถ่ายทามาด้วยความเร็วปกติเหมือนที่สายตารับรู้ทั่วไป สามารถปรับให้เร็ว ช้า ถอยหลัง หรือ
หยุดนิ่งได้ในขั้นตอนตัดต่อ เทคนิคในกลุ่มนี้ ได้แก่

 ภาพช้า (Slow motion)

      เป็นการทาให้สิ่งที่อยู่ในภาพเคลื่อนที่ช้ากว่าเดิม การใช้เทคนิคนี้จะทาให้ภาพมีความยาวมากกว่า
ภาพต้นฉบับ นิยมใช้ในฉากที่เน้นความอาดูร รันทด ตะลึงพรึงเพริด งดงามอ่อนช้อย เป็นต้น

ภาพเร็ว (Fast motion)

      เป็นการทาให้สิ่งที่อยู่ในภาพเคลื่อนที่ เร็วกว่าเดิม การใช้เทคนิคนี้จะทาให้ภาพมีความยาวสั้นกว่า
ภาพต้นฉบับ นิยมใช้ในฉากแอ็กชั่น สงคราม ต่อสู้ ตลก สกู๊ปกีฬาความเร็ว เป็นต้น

ภาพหยุดเป็นจังหวะ (Strobe or stop motion)

        เป็นการทาให้ภาพต้นฉบับที่เคลื่อนไหวปกติหยุดเป็นระยะๆ สลับกับการเคลื่อนไหวเป็นระยะๆ ทา
ให้ภาพออกมาดูกระตุกๆ แต่ภาพยังคงเคลื่อนไปข้างหน้าเหมือนต้นฉบับและความยาวภาพยังคงเท่าเดิม
นิยมใช้ในฉากสงครามที่มีระเบิดลงมาจนผู้คนแตกตื่นหนีตายกัน จ้าละหวั่น และฉากความรู้สึกลุ้นกับสิ่งที่
กาลังจะเกิดขึ้นต่อไป เป็นต้น

การหยุดภาพนิ่ง (Freeze)

        เป็นการทาให้ภาพที่กาลังเคลื่อนไหวหยุดอยู่ที่เฟรมใดเฟรมหนึ่งค้างไว้ นิยมใช้ในการหยุดภาพ
สุดท้ายตอนขึ้นเครดิตจบรายการ และฉากที่ต้องการให้เห็นภาพในจังหวะใดจังหวะหนึ่ งชัดๆ เช่น ภาพเข้า
เส้นชัยแบบสูสีจนต้องหยุดดูทีละเฟรม เป็นต้น
ภาพที่ผ่านย้อนกลับ (Reverse)
        เป็นการทาให้ภาพที่ถ่ายทามามีการเคลื่อนไหวในลักษณะถอยย้อนกลับไปเหมือนดูเทปถอยหลัง
นิยมใช้กับการถอยภาพเพื่อย้อนกลับไปดูอะไรบางอย่างที่ผ่าน รายการตลก และสปอตรณรงค์ประเภทการ
เตือนสติ เป็นต้น

การคั่นภาพ (Intervention)

       การคั่นภาพเป็นการตัดภาพที่ไม่ได้เน้นเรื่องเทคนิคภาพ แต่เป็นการตัดภาพหรือเปลี่ยนภาพเพื่อ
เสริมความหมายของเรื่องราวที่กาลังนาเสนอให้ชัดเจน และครอบคลุมมากขึน ได้แก่
                                                                    ้

Cutaway

           การเลือกตัดภาพไปยังจุดอื่นที่ไม่ได้เป็นเหตุการณ์หลัก เทคนิคนี้ไม่ได้มุ่งเปลี่ยนภาพในเชิงเทคนิค
แต่ เ ป็ น การเปลี่ ย นภาพที่ เ น้ น การเสริ ม เรื่ อ งราวให้ ค รอบคลุ ม มากขึ้ น เช่ น การแข่ ง ขั น กี ฬ าในสนาม
เหตุการณ์หลักเกิดขึ้นในสนาม แต่การตัดภาพไปยังผู้ชมข้างสนาม เพื่อช่วยเสริมเหตุการณ์หลักให้เร้าใจ
มากยิ่งขึ้น เรียกว่า “Cutaway” แต่หากเมื่อมีฝ่ายหนึ่งชนะแล้วผู้ชมร้องเชียร์ด้วยความดีใจ ภาพลักษณะนี้
เรียกว่า “Reaction shot” ซึ่งแสดงให้เห็นปฏิกิรยาตอบสนองกับเหตุการณ์สาคัญ ส่วนใหญ่เป็นการจับภาพ
                                                       ิ
ที่สหน้า ท่าทาง การตัดภาพเช่นนีถ้าใช้ในจังหวะที่ดจะมีพลังในการสื่อสารมากกว่าการใช้คาพูดบรรยาย
    ี                                 ้                   ี

การแทรกภาพ (Insert shot)
        การสร้างความเข้าใจให้กับเนื้อหาที่กาลังนาเสนออยู่ด้วยการแทรกภาพประกอบที่ช่วยสร้างความ
ชั ด เจนมากยิ่ ง ขึ้ น นิ ย มใช้ ร ะหว่ า งผู้ สั ม ภาษณ์ ก าลั ง พู ด เรื่ อ งที่ เ ข้ า ใจยาก การคั่ น ช่ ว งสั ม ภาษณ์ ย าวๆ
ภาพประกอบที่แทรกเข้าไปต้องสอดคล้องกับเนือหาในขณะนัน     ้                   ้

More Related Content

What's hot

วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลCoco Tan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ณัฐพล บัวพันธ์
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
G.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุG.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุAsmataa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูลCoco Tan
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลCoco Tan
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนสภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวkrupornpana55
 

What's hot (20)

วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
Radio Magazine
Radio MagazineRadio Magazine
Radio Magazine
 
G.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุG.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
 

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์Tuf Rio
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลAtiwat Patsarathorn
 
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)Phichamon Samansin
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นWorapon Masee
 
คู่มือการตัดต่อ Vdoโดยโปรแกรม adobe premiere pro cs3
คู่มือการตัดต่อ Vdoโดยโปรแกรม  adobe premiere pro cs3คู่มือการตัดต่อ Vdoโดยโปรแกรม  adobe premiere pro cs3
คู่มือการตัดต่อ Vdoโดยโปรแกรม adobe premiere pro cs3Rose Banioki
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้Chay Kung
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordSamorn Tara
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงSakulsri Srisaracam
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน StoryboardYaowaluck Promdee
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา51010514531
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นChamp Woy
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
 
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
 
การตัดต่อ Video เบื้องต้น
การตัดต่อ Video เบื้องต้นการตัดต่อ Video เบื้องต้น
การตัดต่อ Video เบื้องต้น
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้น
 
การเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้นการเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้น
 
คู่มือการตัดต่อ Vdoโดยโปรแกรม adobe premiere pro cs3
คู่มือการตัดต่อ Vdoโดยโปรแกรม  adobe premiere pro cs3คู่มือการตัดต่อ Vdoโดยโปรแกรม  adobe premiere pro cs3
คู่มือการตัดต่อ Vdoโดยโปรแกรม adobe premiere pro cs3
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
 
Adobe encoredvd
Adobe encoredvdAdobe encoredvd
Adobe encoredvd
 

Similar to คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ

3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
ต วอย างโครงงานการพ_ฒนาเคร__องม_อ
ต วอย างโครงงานการพ_ฒนาเคร__องม_อต วอย างโครงงานการพ_ฒนาเคร__องม_อ
ต วอย างโครงงานการพ_ฒนาเคร__องม_อRattanathon Phetthom
 
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์kroowissanu
 

Similar to คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ (6)

Mapping
MappingMapping
Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
ต วอย างโครงงานการพ_ฒนาเคร__องม_อ
ต วอย างโครงงานการพ_ฒนาเคร__องม_อต วอย างโครงงานการพ_ฒนาเคร__องม_อ
ต วอย างโครงงานการพ_ฒนาเคร__องม_อ
 
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
 

More from Apida Runvat

การวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, Shotการวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, ShotApida Runvat
 
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shotตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/ShotApida Runvat
 
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูลApida Runvat
 
5 digital representation
5 digital representation5 digital representation
5 digital representationApida Runvat
 
3 multimedia apply
3 multimedia apply3 multimedia apply
3 multimedia applyApida Runvat
 
2 multimedia property
2 multimedia property2 multimedia property
2 multimedia propertyApida Runvat
 
การจัดองค์ประกอบศิลป์ Copy
การจัดองค์ประกอบศิลป์    Copyการจัดองค์ประกอบศิลป์    Copy
การจัดองค์ประกอบศิลป์ CopyApida Runvat
 

More from Apida Runvat (10)

Camera technique
Camera techniqueCamera technique
Camera technique
 
การวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, Shotการวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, Shot
 
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shotตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
 
5 digital representation
5 digital representation5 digital representation
5 digital representation
 
3 multimedia apply
3 multimedia apply3 multimedia apply
3 multimedia apply
 
2 multimedia property
2 multimedia property2 multimedia property
2 multimedia property
 
1 multimedia
1 multimedia1 multimedia
1 multimedia
 
การจัดองค์ประกอบศิลป์ Copy
การจัดองค์ประกอบศิลป์    Copyการจัดองค์ประกอบศิลป์    Copy
การจัดองค์ประกอบศิลป์ Copy
 

คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ

  • 1. คาศัพท์การตัดต่อภาพ อภิดา รุณวาทย์ สาขาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชั่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • 2. คาศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ การตัดต่อภาพเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญ เนื่องจากเป็นขั้นตอนในการนาภาพมาลาดับเหตุการณ์ ในการนาเสนอเพื่อสื่อสารให้ผู้ชมเข้าใจ รวมถึงการใช้เทคนิคประกอบเพื่อให้ผลงานเกิดความน่าสนใจยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เครื่องมือที่ใช้ใ นการสร้างเทคนิคต่างๆ มีความก้าวหน้าไปมาก ทั้งทางด้านอุปกรณ์และ ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป จึงเกิดเทคนิคภาพมากมายและแตกต่างกั นไปตามผู้ผลิต ดังนั้นจึงนาเสนอเฉพาะ คาศัพท์ที่เป็นพืนฐานที่ใช้ในการตัดต่อภาพ โดยแบ่งประเภทดังนี้ ้ การเปลี่ยนภาพ (Transition) การเปลี่ยนรูปทรงของภาพ (Resize) ทิศทางการเคลื่อนที่ (Motion) การทาสีภาพ (Tint) การขึ้นซ้อนภาพ และการคีย์ (Superimposition and keys) การเปลี่ยนความเร็วของภาพ (Speed) การคั่นภาพ (Intervention) การเปลี่ยนภาพ (Transition) อุปกรณ์ตัดต่อวีดิทัศน์นั้นมีคาสั่งพื้นฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนภาพ (Transition patterns) ทาหน้าที่ สร้างเทคนิคการเปลี่ยนภาพจากช็อตหนึ่งไปยังอีกช็อตหนึ่งด้วยรูปแบบที่แตกต่างกัน การตัดภาพ (Cut) เป็นการเปลี่ยนภาพจากภาพหนึ่งไปยังอีกภาพหนึ่ง ทันที นิยมใช้กับการตัดภาพทั่วไป เน้นความ กระฉับกระเฉง และความตื่นตัว เป็นต้น การจางภาพเข้า (Fade in) เป็นการค่อยๆ นาภาพเข้ามา เริ่มจากภาพพื้นดาแล้วค่อยๆ เห็นภาพทั้งหมดชัดเจน นิยมใช้ในการ เปิดเข้าเรื่อง เริ่มต้นใหม่ แนะนาสถานที่แห่งใหม่ เป็นต้น
  • 3. การจางภาพออก (Fade out) เป็นการค่อยๆ นาภาพที่ปรากฏอยู่จางหายไปจนเป็นพื้นดา นิยมใช้ในการจบเรื่อง ปิดฉาก หมดวัน และการสินสุด เป็นต้น ้ การจางซ้อนภาพ (Dissolve) เป็นการเปลี่ยนภาพโดยขณะที่ช็อตแรกกาลังจางลง ช็อตต่อมาค่อยๆปรากฏขึ้นมาแทนที่จนเต็ม พร้อมกั บช็อตแรกจางหายไปในที่สุด นิย มใช้กั บการบอกวันเวลาที่ค่อยๆ ผ่านไป ความเชื่องช้า ความ อ้อยอิ่ง ความอ่อนหวานละมุนละไม และความโรแมนติก เป็นต้น การกวาดภาพ (Wipe) เป็นการเปลี่ยนภาพโดยการปาดภาพในแนวตั้ง แนวนอน หรือแนวเฉียง การกวาดภาพนิยมใช้กับ การเปรียบเทียบระหว่างสิ่งของสองสิ่ง เปรียบเทียบเหตุการณ์สองเหตุการณ์ที่กาลังดาเนินไปพร้อมกันแต่ คนละสถานที่ การพูดโทรศัพท์ตอบโต้กัน เป็นต้น การเลื่อนสไลด์ภาพ (Slide effect) เป็นการเปลี่ยนเลื่อนภาพใหม่เข้ามาแทนที่ภาพเดิม การเลื่อนภาพอาจดูคล้ายการปาดภาพ แต่การ เลื่อนภาพเป็นลักษณะเคลื่อนหรือดันภาพแรกออกไปทั้งภาพ ส่วนการปาดภาพนั้นภาพแรกอยู่กับที่แล้ว ภาพใหม่ปาดเข้ามาแทนที่ การพลิกภาพสามมิติ (3D effect) เป็นการเปลี่ยนภาพที่มีมิติความลึกเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยเกิดจากการหมุนแกนภาพ (Rotate effect) และการม้วนภาพ (Peel or roll effect) ได้แก่ การหมุนภาพแนวตั้ง (Flip) การหมุนภาพแนวนอน (Tumble) การหมุนภาพตีลังกา (Spin) และการพลิกหน้า (Peel) เป็นต้น การเปลี่ยนรูปทรงของภาพ (Resize) การเปลี่ยนรูปทรงของภาพ เป็นการทาเทคนิคภาพให้ภาพขนาดเต็มจอ มีการย่อ -ขยาย ในรูปแบบ ต่างๆ ได้แก่ การยืดภาพในแนวต่างๆ (Stretching) การย่อขยายภาพ (Shrinking and expanding) การย่อ ภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยมหลายๆ รูป (Snapshots) และการบีบอัดภาพในรูปทรงต่างๆ (Compression) เช่น ทรง ลูกบอล ทรงสี่เหลี่ยมลูกเต๋า ฯลฯ เทคนิคเหล่านีนิยมใช้กับรายการเกมโชว์ รายการวาไรตี้ รายการข่าว เป็น ้ ต้น
  • 4. ทิศทางการเคลื่อนที่ (Motion) การท าเทคนิค ภาพการพลิก ภาพสามมิติ การเลื่อนภาพ และการเปลี่ย นรูป ทรงของภาพ อาจ ตามมาด้วยการใช้คาสั่งเกี่ยวกับการสร้างทิศทางการเคลื่อนที่เข้าออกของภาพ เช่น การกระเด้ง (Bounce effect) การปลิวเข้ามา (Fly effect) การพุ่งภาพเข้า-ออก เป็นต้น การทาสีภาพ (Tint) การทาเทคนิคทาสีภาพเป็นการปรับสีภาพให้ผิดไปจากภาพต้นฉบับ เช่น ภาพขาว-ดา (Black and white) ภาพย้อมสีต่างๆ (Dye) การทาโมเสกภาพ (Mosaic) การย้อมสีภาพแบบเนกาทีฟ (Solarise) การ ย้อมสีเป็นเกรนแตกๆ (Posterise) เป็นต้น การทาเทคนิคทาสีภาพสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น ภาพขาวดาใช้ในกรณีย้อนอดีต ภาพย้อมสีแดงอาจใช้ในฉากแสดงความรุนแรง และภาพโมเสกใช้ใ น การทาเซ็นเซอร์ เป็นต้น การขึนซ้อนภาพ และการคีย์ (Superimposition and keys) ้ การทาเทคนิคภาพขึ้นซ้อนภาพเป็นการซ้อนภาพใหม่ขึ้นมาค้างไว้บนภาพเก่า โดยภาพเก่ายังไม่ได้ หายไปไหน เทคนิคในกลุ่มนี้ ได้แก่ การขึ้นซ้อนภาพ (Superimposition) เป็นภาพในลักษณะที่ภาพหนึ่งซ้อนทับอยู่อีกบนภาพหนึ่ง ลักษณะคล้ายกับช่วงระหว่างเปลี่ยนผ่าน ของภาพจางซ้อ น (Dissolve) ที่ภ าพสองภาพซ้ อนทับ กั นอยู่ นิย มใช้ใ นฉากความคิ ด ความฝัน หรื อ จินตนาการ การคีย์ (Key) การใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการตัดภาพพื้นหลังบางส่วนเป็นช่องออกไป แล้วเติมสีหรือภาพ อื่นเข้าไปแทนที่ ภาพที่ออกมาจึงเห็นทั้งภาพพื้นหลังเดิมไปพร้อมๆ กับภาพที่เติมเข้าไปใหม่ การคีย์ส่วน ใหญ่ คือ การซ้อนภาพเข้าไปในช่องของตัวหนังสือต่างๆ เช่น ไตเติ้ล (Title) และเครดิตชื่อ (Credits) หรือ การตัดภาพอีกภาพซ้อนเข้าไปอยู่ในภาพพื้นหลังบางส่วน เช่น การคีย์บนกรอบภาพหัวข่าว เป็นต้น
  • 5. โครมาคีย์ (Chroma key effect) การซ้อนภาพโดยการกัดสีฉากพื้นหลังที่เป็นส่วนบลูสกรีน (Blue screen) ออกไปแล้วแทนที่ด้วย ภาพอื่น สิ่งสาคัญในการทาเทคนิ คโครมาคีย์ คือ ห้ามวัตถุหลักที่อยู่หน้าฉากเป็นสีเดียวกับฉากหลังบลู สกรี น ที่ ต้ อ งการคี ย์ เพราะพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น บลู ส กรี น จะถู ก กั ด สี อ อกไป เทคนิ ค บลู ส กรี น พบได้ ใ นรายการ พยากรณ์อากาศ เป็นต้น การเปลี่ยนความเร็วของภาพ (Speed) ภาพที่ถ่ายทามาด้วยความเร็วปกติเหมือนที่สายตารับรู้ทั่วไป สามารถปรับให้เร็ว ช้า ถอยหลัง หรือ หยุดนิ่งได้ในขั้นตอนตัดต่อ เทคนิคในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาพช้า (Slow motion) เป็นการทาให้สิ่งที่อยู่ในภาพเคลื่อนที่ช้ากว่าเดิม การใช้เทคนิคนี้จะทาให้ภาพมีความยาวมากกว่า ภาพต้นฉบับ นิยมใช้ในฉากที่เน้นความอาดูร รันทด ตะลึงพรึงเพริด งดงามอ่อนช้อย เป็นต้น ภาพเร็ว (Fast motion) เป็นการทาให้สิ่งที่อยู่ในภาพเคลื่อนที่ เร็วกว่าเดิม การใช้เทคนิคนี้จะทาให้ภาพมีความยาวสั้นกว่า ภาพต้นฉบับ นิยมใช้ในฉากแอ็กชั่น สงคราม ต่อสู้ ตลก สกู๊ปกีฬาความเร็ว เป็นต้น ภาพหยุดเป็นจังหวะ (Strobe or stop motion) เป็นการทาให้ภาพต้นฉบับที่เคลื่อนไหวปกติหยุดเป็นระยะๆ สลับกับการเคลื่อนไหวเป็นระยะๆ ทา ให้ภาพออกมาดูกระตุกๆ แต่ภาพยังคงเคลื่อนไปข้างหน้าเหมือนต้นฉบับและความยาวภาพยังคงเท่าเดิม นิยมใช้ในฉากสงครามที่มีระเบิดลงมาจนผู้คนแตกตื่นหนีตายกัน จ้าละหวั่น และฉากความรู้สึกลุ้นกับสิ่งที่ กาลังจะเกิดขึ้นต่อไป เป็นต้น การหยุดภาพนิ่ง (Freeze) เป็นการทาให้ภาพที่กาลังเคลื่อนไหวหยุดอยู่ที่เฟรมใดเฟรมหนึ่งค้างไว้ นิยมใช้ในการหยุดภาพ สุดท้ายตอนขึ้นเครดิตจบรายการ และฉากที่ต้องการให้เห็นภาพในจังหวะใดจังหวะหนึ่ งชัดๆ เช่น ภาพเข้า เส้นชัยแบบสูสีจนต้องหยุดดูทีละเฟรม เป็นต้น
  • 6. ภาพที่ผ่านย้อนกลับ (Reverse) เป็นการทาให้ภาพที่ถ่ายทามามีการเคลื่อนไหวในลักษณะถอยย้อนกลับไปเหมือนดูเทปถอยหลัง นิยมใช้กับการถอยภาพเพื่อย้อนกลับไปดูอะไรบางอย่างที่ผ่าน รายการตลก และสปอตรณรงค์ประเภทการ เตือนสติ เป็นต้น การคั่นภาพ (Intervention) การคั่นภาพเป็นการตัดภาพที่ไม่ได้เน้นเรื่องเทคนิคภาพ แต่เป็นการตัดภาพหรือเปลี่ยนภาพเพื่อ เสริมความหมายของเรื่องราวที่กาลังนาเสนอให้ชัดเจน และครอบคลุมมากขึน ได้แก่ ้ Cutaway การเลือกตัดภาพไปยังจุดอื่นที่ไม่ได้เป็นเหตุการณ์หลัก เทคนิคนี้ไม่ได้มุ่งเปลี่ยนภาพในเชิงเทคนิค แต่ เ ป็ น การเปลี่ ย นภาพที่ เ น้ น การเสริ ม เรื่ อ งราวให้ ค รอบคลุ ม มากขึ้ น เช่ น การแข่ ง ขั น กี ฬ าในสนาม เหตุการณ์หลักเกิดขึ้นในสนาม แต่การตัดภาพไปยังผู้ชมข้างสนาม เพื่อช่วยเสริมเหตุการณ์หลักให้เร้าใจ มากยิ่งขึ้น เรียกว่า “Cutaway” แต่หากเมื่อมีฝ่ายหนึ่งชนะแล้วผู้ชมร้องเชียร์ด้วยความดีใจ ภาพลักษณะนี้ เรียกว่า “Reaction shot” ซึ่งแสดงให้เห็นปฏิกิรยาตอบสนองกับเหตุการณ์สาคัญ ส่วนใหญ่เป็นการจับภาพ ิ ที่สหน้า ท่าทาง การตัดภาพเช่นนีถ้าใช้ในจังหวะที่ดจะมีพลังในการสื่อสารมากกว่าการใช้คาพูดบรรยาย ี ้ ี การแทรกภาพ (Insert shot) การสร้างความเข้าใจให้กับเนื้อหาที่กาลังนาเสนออยู่ด้วยการแทรกภาพประกอบที่ช่วยสร้างความ ชั ด เจนมากยิ่ ง ขึ้ น นิ ย มใช้ ร ะหว่ า งผู้ สั ม ภาษณ์ ก าลั ง พู ด เรื่ อ งที่ เ ข้ า ใจยาก การคั่ น ช่ ว งสั ม ภาษณ์ ย าวๆ ภาพประกอบที่แทรกเข้าไปต้องสอดคล้องกับเนือหาในขณะนัน ้ ้