SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
Download to read offline
1. 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนจุดเน้น 
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 
เรื่อง “กิจกรรมการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน 
เสริมสร้างทักษะด้านเทคโนโลยีของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” 
ผู้นาเสนอผลงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
2. 
คานา 
ตามหนังสือของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 (ด่วนมาก) เลขที่ ศธ 04231/ พิเศษ 384 ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2557 เรื่อง การจัดทา CD ROM นวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ ขับเคลื่อนจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนด จุดเน้นด้านคุณภาพผู้เรียน และโรงเรียนได้รายงานคุณภาพผู้เรียนผ่านระบบออนไลน์ทุกภาคเรียนตั้งแต่ปี การศึกษา 2554 ถึงปัจจุบัน นั้นในการนี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะจัดทาคลังข้อมูลการ จัดการความรู้ ผลของการดาเนินงานตามจุดเน้นแต่ละด้านเพื่อเผยแพร่ให้กับโรงเรียนอื่นๆได้นาไปจัดกิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืนต่อไป ด้วยเหตุนี้ กระผมจึงได้ส่งผลงาน เรื่อง “กิจกรรมการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเสริมสร้างทักษะด้าน เทคโนโลยีของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” เข้าร่วม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ในด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ เรียนรู้ พร้อมกับจัดทารายงานฉบับนี้ขึ้นประกอบอันจะเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ กระบวนการและวิธีการ ดาเนินงานที่มีความชัดเจนของนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ผู้นา เสนอหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นระโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศชาติเพื่อยกระดับ คุณภาพเยาวชนอันจะเป็นพลังสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาบ้านเมืองให้ก้าวหน้าอย่างยั่งยืนในอนาคตสืบไป 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
3. 
สารบัญ 
หน้า 
ปก 
คานา 
สารบัญ 
กิตติกรรมประกาศ 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
คาอธิบายรายวิชา 
แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัด 
โครงสร้างรายวิชา 
ภาคผนวก 
- แบบฟอร์มเค้าโครง 
- แบบฟอร์มรายงาน 
- แบบการสังเกต 
- แบบประเมิน 
- สื่อ Power Point 
- ตัวอย่างผลงานนักเรียน 
- เว็ปไซต์ประกอบเนื้อหาบทเรียน 
ประวัติผู้นาเสนอนวัตกรรม
4. 
กิตติกรรมประกาศ 
เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทางวิชาการฉบับนี้จะไม่สบประความสาเร็จได้เลยถ้าขาดการเปิด โอกาสจากโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ อีกทั้งการอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าน ผู้อานวยการโรงเรียนนายสกุล ทองเอียด, ท่านรองผู้อานวยการสานักบริหารวิชาการและกิจการนักเรียนนาง ศุภธิวรรณ นุชาหาญ, ท่านรองผู้อานวยการสานักบริหารงบประมาณและทั่วไปนางสาวชนางรักษ์ มั่นนุช และ นายธันวา ชัยวณิชย์ หัวหน้ากลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ได้สนับสนุนการดาเนินงานด้านต่างๆ เป็นอย่างดีมา โดยตลอด 
ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ทุกท่านที่ได้ช่วยเหลือแนะนาการทางานด้านต่างๆ ทาให้ เกิดการเรียนรู้และได้รับประสบการณ์การทางาน จนสามารถจัดทาเอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทาง วิชาการครั้งนี้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น และขอขอบใจนกเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนที่ได้ร่วม แรงร่วมใจในการเข้าร่วมกิจกรรมจนประสบผลแห่งความสาเร็จอย่างงดงาม 
ขอขอบคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานที่ได้กาหนดให้มีการจัดทาคลังข้อมูลการจัดการความรู้ ผลของการดาเนินงานตามจุดเน้นแต่ละด้านเพื่อ เผยแพร่ให้กับโรงเรียนอื่นๆได้นาไปจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืนต่อไป ซึ่งทาให้ผู้จัดทาได้รับโอกาสเข้าร่วมการนาเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านนวัตกรรมทางการศึกษาครั้งนี้ 
หากเอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทางวิชาการฉบับนี้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจศึกษาหาความรู้ทั่วไป ขอมอบคุณงามความดีอันพึงมีในครั้งนี้แด่ครอบครัว ครูบาอาจารย์และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้อบรมเลี้ยงดูและประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ตางๆ แด่ผู้จัดทาจนทา ให้ผู้จัดทามีความรู้ความสามารถที่จะดาเนินงานในครั้งนี้เป็นผลสาเร็จ 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
5. 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชาชีววิทยา 4 รหัส ว 33244 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 
โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ 
ครูผู้สอน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 
กระทรวงศึกษาธิการ
6. 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
รหัสวิชา ว 33244 รายวิชา ชีววิทยา 4 
เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน 
............................................................................................................................................................... 
ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : 
แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 
2. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
7. 
คาอธิบายรายวิชา ชีววิทยา 4 
รหัสวิชา ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 
1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง 
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กฎของเมนเดล การผสมเพื่อทดสอบ ลักษณะพันธุกรรมที่นอกเหนือกฏของเมนเดล ยีนและโครโมโซม การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม การค้นพบ สารพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ สมบัติของสารพันธุกรรม มิวเทชัน พันธุศาสตร์ และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ พันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การวิเคราะห์ดีเอ็นเอและการศึกษาจีโนม การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของดีเอ็นเอ ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ มุมมองทางสังคมและจริยธรรม วิวัฒนาการ หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต พันธุ ศาสตร์ประชากร ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของอัลลีล กาเนิดของสปีชีส์ การศึกษาความ หลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดชีวิต อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย การ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม 
ตัวชี้วัด 
ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4 
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 , 
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 
รวม 16 ตัวชี้วัด
8. 
แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 4 ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 
มฐ. 
ตัวชี้วัด 
คาสาคัญ (Keyword) 
ความรู้ 
ทักษะ/กระบวนการ 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
ว 1.2 
ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสาร พันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิว เทชัน และการเกิดความหลากหลายทาง ชีวภาพ 
- การถ่ายทอดทาง พันธุกรรม 
- ยีนและโครโมโซม 
- การสารวจตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของ เทคโนโลยีชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อมและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
- พันธุศาสตร์และ เทคโนโลยีทาง DNA 
- การนาความรู้ไปใช้ 
- ใฝ่เรียนรู้ 
- มีวินัย 
ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของ ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม 
- ความหลากหลาย ทางชีววิทยา 
- การสืบค้นข้อมูล 
- มีวินัย 
- ใฝ่เรียนรู้ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
ม.4-6/4 อธิบายกระบวนการคัดเลือกตาม ธรรมชาติและผลการคัดเลือกตาม ธรรมชาติต่อความลากหลายของสิ่งมีชีวิต 
- วิวัฒนาการ 
- การคิดวิเคราะห์ 
- มีวินัย 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ว 8.1 
ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของ ความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจหรือจากประเด็นที่เกิดขึ้น ในขณะนั้นที่สามารถทาการสารวจ ตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ 
- การสืบค้นข้อมูล 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การตั้งคาถาม 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบหรือสร้าง แบบจาลองหรือสร้างรูปแบบเพื่อนาไปสู่ การสารวจตรวจสอบ 
-การสร้างสมมติฐาน 
- การตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้อง พิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่ มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ 
- การสืบค้นข้อมูล 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การรวบรวมข้มูล 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ใช้ ในการสังเกต การวัด การสารวจ ตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ 
- การสังเกต 
-สารวจตรวจสอบ 
- การออกแบบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- ใฝ่เรียนรู้
9. 
ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการ สารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความ เหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล 
- การรวบรวมข้อมูล 
- การบันทึก 
- สารวจตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูลโดยคานึงถึงการ รายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถุ กต้องและนาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่ เหมาะสม 
- การจัดกระทาข้อมูล 
- การรายงานผล 
- การออกแบบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย ข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของ ข้อสรุป หรือสาระสาคัญเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ 
- การวิเคราะห์ 
- การแปลความหมาย 
- การสารวจตรวจสอบ 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของ วิธีการและผลการสารวจตรวจสอบโดยใช้ หลักความคาดเคลื่อนของการวัดและการ สังเกต เสนอแนะ การปรับปรุงวิธีการ สารวจตรวจสอบ 
- การสังเกต 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การสรุปผล 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/9 นาผลการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้าง คาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาใน สถานการณ์ใหม่และชีวิตจริง 
- การนาไปใช้ 
- การกาหนดปัญหา 
- การแก้ปัญหา 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่ จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นาเสนอต่อ สาธารณชนด้วยความถูกต้อง 
- การอธิบาย 
- การลงข้อสรุป 
- การนาเสนอ 
- การสื่อสาร 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจ ตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐาน อ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อหาหลักฐาน อ้างอิงที่เชื่อถือได้และยอมรับว่าความรู้ เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือ โต้แย้งจากเดิมซึ่งท้าทายให้มีการ ตรวจสอบอย่าง 
ระมัดระวังอันจะนาไปสู่การยอมรับเป็น ความรู้ใหม่ 
- การบันทึก 
- การอธิบาย 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การสืบค้นข้อมูล 
- การวิเคราะห์ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต
10. 
ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือ ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ 
- การอธิบาย 
- การสื่อสารข้อมูล 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้
11. 
โครงสร้างรายวิชาชีววิทยา 4 รหัส ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต 
ลาดับที่ 
มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
สาระสาคัญ 
เวลา (ชั่วโมง) 
น้าหนัก คะแนน 
1 
ว 1.2 ม.4-6/1 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
การถ่ายทอดทาง พันธุกรรม 
การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมเดล ความ น่าจะเป็นและกฎของการแยก กฎแห่ง การรวมกลุ่มอย่างอิสระ การผสมเพื่อ ทดสอบและลักษณะทางพันธุกรรมที่ นอกเหนือกฎของเมนเดล 
15 
20 
2 
ว 1.2 ม.4-6/1 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
ยีนและโครโมโซม 
การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม การ ค้นพบสารพันธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทางเคมีของ DNA โครงสร้างของ DNA สมบัติของสาร พันธุกรรมและมิวเทชัน 
15 
20 
3 
ว 1.2 ม.4-6/2 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
พันธุศาสตร์และ เทคโนโลยีทาง DNA 
พันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การ วิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ DNA และความปลอดภัยของเทคโนโลยีทาง DNA และมุมมองทางสังคมและ จริยธรรม 
10 
20 
4 
ว 1.2 ม.4-6/4 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
วิวัฒนาการ 
หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ประชากร ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความถี่ของแอลลีนและกาเนิดสปีชีส์ 
10 
20 
5 
ว 1.2 ม.4-6/3 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
ความหลากหลายทาง ชีวภาพ 
ความหลากหลายทางชีวภาพ การศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ กาเนิดของชีวิต อาณาจักรของ สิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ ในประเทศไทยและการสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ 
10 
20 
รวม 
60 
100
12. 
คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 
ลาดับที่ 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด 
จุดเน้น 
ทักษะ/กระบวนการ 
1 
การถ่ายทอดทาง พันธุกรรม 
ว 1.2 ม.4-6/1 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
- ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน กาหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่นามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด 
- สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม 
- ทดลอง 
- อธิบาย 
- สืบค้นข้อมูล 
- นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ การสืบค้นข้อมูล 
- การสารวจ 
- การตั้งคาถาม 
- การสร้างสมมติฐาน 
- การตรวจสอบ 
- การรวบรวมข้อมูล 
- การสังเกต 
- การออกแบบ 
- การบันทึก 
- การจัดกระทาข้อมูล 
- การรายงานผล 
- การวิเคราะห์ 
- การแปลความหมาย 
- การกาหนดปัญหา 
- การแก้ปัญหา 
- การนาเสนอ 
- การสื่อสาร 
- การสรุปผล 
2 
ยีนและโครโมโซม 
ว 1.2 ม.4-6/1 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
- ความสามารถในการแก้ปัญหา 
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี 
- สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม 
3 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี ทาง DNA 
ว 1.2 ม.4-6/2 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
- ความสามารถในการแก้ปัญหา 
- ทักษะชีวิต 
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี 
- สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม
13. 
4 
วิวัฒนาการ 
ว 1.2 ม.4-6/4 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
- ความสามารถในการแก้ปัญหา 
- ทักษะชีวิต 
- ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน กาหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่นามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด 
- สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม 
5 
ความหลากหลายทาง ชีวภาพ 
ว 1.2 ม.4-6/3 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
- ความสามารถในการแก้ปัญหา 
- ทักษะชีวิต 
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี 
- ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน กาหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่นามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด
14. 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 
หน่วยการเรียนที่ 5 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
รหัสวิชา/รายวิชา ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลาเรียน 10 ชั่วโมง 
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
************************************************************************************************** 
1. มาตรฐานการเรียนรู้ 
ว 1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน 
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ 
อธิบายถึงความหมายและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์อีกทั้ง สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตโดยการสารวจความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชนแล้วเก็บ รวบรวมข้อมูลในฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพใน www.biogang.net พร้อมนาเสนอในรูปแบบแผนที่ ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) ได้อย่างถูกต้อง 
2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
2.1 อธิบายความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพได้อย่างถูกต้อง (Knowledge) 
2.2 อธิบายถึงความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพได้อย่างถูกต้อง (Knowledge) 
2.3 สามารถนาความรู้เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพไปใช้ในการสารวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชนได้อย่างถูกต้อง (Process) 
2.5 สามารถนาข้อมูลทรัพยากรชีวภาพที่ได้จากการสารวจในชุมชนมาจัดทาฐานข้อมูลบันทึกลงใน www.biogang.net พร้อมนาเสนอในรูปแบบแผนที่ได้อย่างถูกต้อง (Process) 
2.6 ตระหนักถึงความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพต่อการดารงชีวิตของตนเองที่อาศัยอยู่ในชุมชน 
2.7 ตระหนักถึงความสาคัญของการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนในฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) 
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ 
- สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมาจากการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมที่ดารงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่างกันจนเกิดเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ขึ้น
15. 
- ในระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ นั้น ดังนั้น ระบบนิเวศที่แตกต่างกันย่อมจะมีสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้นแตกต่างกันด้วย 
- ทรัพยากรทางชีวภาพ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่เป็นปัจจัยทางชีวภาพของระบบนิเวศที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์ใน การดารงชีวิต ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นปัจจัย 4 ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค อาหารและที่อยู่อาศัย 
- การเก็บรวบรวมข้อมูลทางทรัพยากรชีวภาพในชุมชนปัจจุบันนับว่าเป็นสิ่งคัญยิ่งโดยอาศัยกระบวนการ สารวจบนพื้นฐานหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือการทาโครงงาน พร้อมบันทึกฐานข้อมูลลงบน www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อ ผู้สนใจโดยทั่วไป 
4. สาระการเรียนรู้ 
- ความรู้ (K) อธิบายถึงความหมายและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ 
- ทักษะ / กระบวนการ (P) สารวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนพร้อมจัดทาฐานข้อมูลบน www.biogang.net และแผนที่ทรัพยากรชีวภาพ (BIO MAP) 
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพกับการดารงชีวิต ของตนเองในชุมชน 
5. สมรรถนะ 
การใช้เทคโนโลยี คือ การบันทึกข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในฐานข้อมูล www.biogang.net 
ทักษะชีวิต คือ การออกสารวจชุมชนจริงที่นักเรียนอาศัยอยู่โดยรอบใกล้กับที่ตั้งของโรงเรียน 
การแก้ปัญหา คือ การทางานโดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์รูปแบบโครงงาน 
การคิด คือ การวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพที่สารวจจากชุมชนเพื่อจัดทา BIO MAP 
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ 
สมุดบันทึกในการสารวจทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน 
ใบงาน : แบบเค้าโครงโครงงานสารวจทรัพยากรชีวภาพ (Project proposal) 
ใบกิจกรรม : แบบรายงานผลการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชน www.biogang.net 
Bio map : แผนที่การสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชน
16. 
7. การวัดและประเมินผล 
รายการประเมิน 
วิธีวัดผล 
เครื่องมือวัดผล 
เกณฑ์การประเมินผล 
1. สมุดบันทึกการเรียนการ สอนประจาบทเรียน 
2. ใบงานแบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจา บทเรียน 
4. แบบบันทึกการทากิจกรรม ประจาบทเรียน 
1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 
2. ตรวจใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจาบทเรียน 
4. ตรวจแบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 
1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทาการ เรียนการสอนประจาบทเรียน จริง 
2. การตรวจสอบคาตอบกับคา เฉลยใบงานแบบฝึกหัดประจา บทเรียน 
3. การตรวจสอบคาตอบกับคา เฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 
4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหา ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงามของการจด บันทึก 
2. ความถูกต้องของคาตอบ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 80% 
3. ความถูกต้องของคาตอบ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 50% 
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหาการบันทึก ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงามของ การจดบันทึก 
8. กิจกรรมการเรียนรู้ 
ขั้นนา : 1. ครูใช้คาถามนาว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพคืออะไร” 
แนวตอบ คือ สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมาจากการเกิดวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ดารงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพ แตกต่างกัน เช่น กระต่ายขั้วโลกต้องมีชั้นไขมันหนาและขนยาวปกคลุมตัวก็เนื่องมาจากสภาพอากาศที่มีความ หนาวเย็นจัด หรือ อูฐต้องมีขนสั้นเพื่อการระบายความร้อนได้ดีและโหนกที่มีการสะสมไขมันเพื่อนามาใช้ใน ปฏิกิริยาสร้างน้าเนื่องจากมีถิ่นที่อยู่อาศัยในทะเลทราย
17. 
2. ครูกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับ “ทรัพยากรชีวภาพ” โดยให้นักเรียนศึกษาเรียนรู้ ของคลิป VDO ของสานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) 
ครูตั้งคาถามต่างๆเกี่ยวกับคลิป VDO ให้นักเรียนร่วมกันตอบเพื่อทบทวนความรู้และประสบการณ์เดิมอีกทั้งยัง เป็นการดึงความสนใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหลากหลายของทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เช่น “นักเรียนลองยกตัวอย่างทรัพยากรชีวภาพในชีวิตประจาวันมาคนละ 1 อย่างพร้อมบอกถึงลักษณะที่โดดเด่น ในการสังเกตและความสาคัญต่อการดารงชีวิต” 
ตัวอย่างแนวตอบ กะเพรา เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ขอบใบหยัก มีกลิ่นฉุน นิยมนามาใช้ในการประกอบอาหาร เช่น ผัดกะเพราหมูสับไข่ดาว นอกจากนี้ยังสามารถนามาใช้เป็นยาสมุนไพรในการขับลมแก้ท้องอืดได้อีกด้วย 
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ความหลากหลายทางชีวภาพ” ว่า 
- สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมาจากการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมที่ดารงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่างกันทั้งปัจจัยทางด้านกายภาพ เช่น แสง ความกดดัน ความเป็นกรดเบส อุณหภูมิ เป็นต้น และปัจจัยทางด้านชีวภาพ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์ เป็นต้น จนเกิดเป็น ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ขึ้น
18. 
- ในระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ นั้น ดังนั้น ระบบนิเวศที่แตกต่างกันย่อมจะมีสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้นแตกต่างกันด้วย เช่น กระต่ายขั้วโลกต้องมีชั้นไขมันหนาและขนยาวปกคลุมตัวก็เนื่องมาจากสภาพอากาศที่มีความหนาวเย็นจัด หรือ อูฐต้องมีขนสั้นเพื่อการระบายความร้อนได้ดีและโหนกที่มีการสะสมไขมันเพื่อนามาใช้ในปฏิกิริยาสร้างน้า เนื่องจากมีถิ่นที่อยู่อาศัยในทะเลทราย 
- ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ คาว่า ความหลากหลายทางชีวภาพ มาจาก biodiversity หรือ biological diversity ความหลากหลาย (diversity) หมายถึง มีมากมายและแตกต่าง ทางชีวภาพ (biological) หมายถึง ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต หรือ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบ นิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือ การที่มีชนิดพันธุ์ (species) สายพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก 
- องค์ประกอบสาคัญที่ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ได้แก่ 
1. ความหลากหลายทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน
19. 
2. ความหลากหลายของสปีชีส์ หมายถึง ชนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆบนโลก ซึ่งมีประมาณ10-50ล้านชนิด 
3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีความแตกต่างของชนิดและ จานวนของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน 
- ทรัพยากรทางชีวภาพ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่เป็นปัจจัยทางชีวภาพของระบบนิเวศที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์ใน การดารงชีวิต ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นปัจจัย 4 ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค อาหารและที่อยู่อาศัย ซึ่ง 
- มนุษย์มีความสัมพันธ์กันและเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน มนุษย์ก็จะรวมตัวกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นชุมนุมชน ภายหลัง มนุษย์ก็ได้เริ่มจัดการกับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวมนุษย์ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการดารงชีพ ความ สะดวกสบาย ในความเป็นอยู่และความปลอดภัยในชีวิต สิ่งรอบ ๆ ตัวที่มนุษย์เข้าไปจัดการนั้น บางครั้งมนุษย์ แสวงหามาเอง บางครั้งสร้างให้มันเกิดขึ้น และบางครั้งก็ตกแต่ง ดัดแปลงปรับปรุง และใช้ธรรมชาติที่เกิด
20. 
ขึ้นอยู่เองนั้น ในลักษณะที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของชุมชน สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวมนุษย์ ภายในบริเวณชุมนุมชนมีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาไว้ในชุมชน รวมเรียกกัน ว่า "สิ่งแวดล้อมชุมชน”อาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ อาจจะเป็นสิ่งที่มีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้แต่ทุก อย่างจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องต่อเนื่องกันเป็นวงจร 
- การเก็บรวบรวมข้อมูลทางทรัพยากรชีวภาพในชุมชนปัจจุบันนับว่าเป็นสิ่งคัญยิ่งโดยอาศัยกระบวนการ สารวจบนพื้นฐานหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือการทาโครงงาน พร้อมบันทึกฐานข้อมูลลงบน www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อ ผู้สนใจโดยทั่วไป 
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ ความหลากหลายทางชีวภาพและการเก็บรวบรวมข้อมูลทางทรัพยากรชีวภาพในชุมชน 
แนวตอบ
21. 
- ความหมายของความหลายหลากทางชีวภาพ คือ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ใน ระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือ การที่มีชนิดพันธุ์ (species) สายพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก - ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ คือ มนุษย์สามารถได้รับประโยชน์จากความหลากหลาย ทางธรรมชาติในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้ 1.ประโยชน์ด้านการบริโภคใช้สอย ได้แก่ ด้านการผลิตอาหารและด้านการแพทย์ 2 . ประโยชน์ด้านการผลิต ด้านการอุตสาหกรรม 3. ประโยชน์อื่นๆ อันได้แก่คุณค่าในการบารุงรักษาระบบนิเวศให้สามารถดารงอยู่ได้ และดูแลระบบ นิเวศให้คงทนซึ่งจัดเป็นประโยชน์ที่สาคัญ ตลอดทั้งในด้านนันทนาการและการท่องเที่ยวของมนุษย์ 
- การเก็บรวบรวมข้อมูลทางทรัพยากรชีวภาพในชุมชน หมายถึง การสารวจสังเกตและเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยอาศัยกระบวนการอย่างเป็นระบบมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ โดยการจัดทาเป็นฐานข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเพื่อการวางแผนนามาใช้ประโยชน์ในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด เช่น การบันทึกลงฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากร ชีวภาพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อผู้สนใจโดยทั่วไป 
- หลังจากได้ทบทวนสรุปเนื้อหาต่างๆและเน้นย้าถึงความสาคัญหรือความจาเป็นที่เราจะต้องเก็บรวบรวม ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพของชุมชนเป็นที่เรียบร้อย ครูก็ดาเนินการมอบหมายโครงงานกลุ่ม โดยจัดแบ่งกลุ่ม สมาชิกนักเรียน 3-4 คน เพื่อดาเนินการสารวจทรัพยากรชีวภาพภายในชุมชนที่กลุ่มตัดสินใจเลือกร่วมกันโดย กาหนดขอบเขตภายในรัศมีที่ตั้งของโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์เพื่อความสะดวกในการเดินทางและเป็นพื้นที่ที่ นักเรียนแต่ละกลุ่มคุ้นเคยเพื่อประกอบเป็นภาพต่อขนาดใหญ่ด้านข้อมูลทรัพยากรชีวภาพของชุมชนโดยรอบ บริเวณที่ตั้งโรงเรียน ซึ่งมีครูผู้สอนเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานในการตรวจสอบติดตามความก้าวหน้าและความ ถูกต้องของกระบวนการทาโครงงาน 
- นักเรียนดาเนินการเขียนเค้าโครงโครงงานชีววิทยาการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนซึ่งเป็นการ วางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบและมีความถูกต้องชัดเจนจากการเข้าสารวจบริบทและทรัพยากร ชีวภาพของชุมชนเป้าหมายในเบื้องต้นแล้วนาส่งครูที่ปรึกษาโครงงานเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง พัฒนา
22. 
ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่องและอนุมัติให้กลุ่มนักเรียนสามารถทาโครงงานสารวจเก็บข้อมูลได้เพื่อให้การเก็บ รวบรวมข้อมูลและการบันทึกผลข้อมูลจากการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนมีความถูกต้องน่าเชื่อถือตาม หลักวิชาการ 
- นักเรียนดาเนินการออกสารวจบันทึกข้อมูลชนิดพันธุ์และลักษณะโดดเด่นที่ได้จากการสังเกต บันทึกภาพถ่าย จานวน 4 ภาพ ได้แก่ 1) ภาพทรัพยากรชีวภาพโดยรวม 2) ภาพทรัพยากรชีวภาพเน้นจุดเด่น 3) ภาพ ทรัพยากรชีวภาพร่วมกับผู้เก็บข้อมูลล และ 4) ภาพทรัพยากรธรรมชาติกับสถานที่ที่ค้นพบ นอกจากนี้ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกเส้นทางในการเดินสารวจตามสถานที่ต่างๆภายในชุมชน เพื่อนามาประกอบการ จัดทาฐานข้อมูลใน www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) ในการ เผยแพร่องค์ความรู้ต่อผู้สนใจโดยทั่วไป 
- นักเรียนดาเนินการสมัครเป็นสมาชิก www.biogang.net พร้อมกับเข้าร่วมกลุ่ม SILABIO_6/1_57 เพื่อ การตวรจสอบติดตามผลการเข้าร่วมกิจกรรมของสมาชิกนักเรียนในกลุ่มแต่ละคนเพื่อการวัดประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง พร้อมกับให้นักเรียนแนะนาตัวเพื่อตรวจสอบยืนยันการสมัครเข้าร่วมกลุ่ม
23. 
- นักเรียนดาเนินการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพจากข้อมูลที่ได้จากการสารวจและข้อมูลที่ ได้จากการสืบค้นของชุมชนที่กลุ่มตนเองเลือกไว้ ที่ www.biogang.net โดยครูกาหนดให้นักเรียนสมาชิกกลุ่ม แต่ละคนจะต้องมีส่วนร่วมในการสารวจและบันทึกข้อมูล อย่างน้อยกลุ่มละ 10 ชนิดทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ง อาจแบ่งกันคนละ 3-4 ชนิด และครูสามารถดาเนินการตรวจสอบการทางานของนักเรียนแต่ละคน ได้ดังนี้ 
1. การบันทึกภาพของนักเรียนคู่กับทรัพยกรชีวิภาพในชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบในการสารวจ 
2. การบันทึกข้อมูลทรัพยากรที่ตนเองรับผิดชอบในการสารวจลงในบล็อกฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพของ ตนเอง
24. 
- นักเรียนดาเนินการจัดทาแผนที่เส้นทางการเดินทางสารวจทรัพยากรชีวภาพภายในชุมชนที่กลุ่มโครงงานของ ตนเองรับผิดชอบ ซึ่งจะต้องระบุสถานที่สาคัญภายในชุมชน ตาแหน่งที่ตั้งของทรัพยากรชีวภาพที่สารวจพบใน ชุมชน รูปภาพและรายละเอียดคร่าวๆที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรชีวภาพที่สารวจพบในชุมชน โดยกลุ่มนักเรียน สามารถออกแบบลักษณะของแผนที่ (BIO MAP) ได้อย่างอิสระ เช่น การวาดภาพแล้วถ่ายรูปเป็นไฟล์ คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทารายงานหรือจัดทาเป็นไฟล์คอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมต่างๆ เป็นต้น 
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานแบบฝึกหัดเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพอีกทั้งสามารถ นาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตอย่างเหมาะสมจากการสารวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน การ นาข้อมูลทรัพยากรชีวภาพที่ได้จากการสารวจในชุมชนมาจัดทาฐานข้อมูลบันทึกลงใน www.biogang.net
25. 
และประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนในฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) 
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
9.5 ห้องคอมพิวเตอร์เพื่อการสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
9.6 เว็ปไซต์เพื่อการศึกษาทรัพยากรชีวภาพในชุมชน www.biogang.net 
9.7 เว๊ปไซต์เพื่อการสืบค้นข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เช่น www.google.com 
9.10 แบบบันทึกเค้าโครงงานชีววิทยาการเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน 
9.11 แบบบันทึกรายงานโครงงานการเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน 
9.12 ใบงาน เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพและทรัพยากรธรรมชาติ 
9.13 ใบงาน Mind Map สรุปบทเรียน เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพและ 
ทรัพยากรธรรมชาติ 
9.14 สไลด์ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพและทรัพยากรธรรมชาติ 
9.15 สไลด์ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนใน 
ฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map)
26. 
ภาคผนวก
27. 
แบบฟอร์ม เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) 
การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
ชื่อโครงงงานชีววิทยา................................................................................. (ระบุชื่อชุมชนที่สารวจ) 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ ..................................... 
1. …………….……………………………………………………….…………………..………. 
2. ………………………………………………………………………………………..………... 
3. ………………………………………………………………………………………..………... 
4. ……………………………………………………………………………………..…………... 
(ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่) 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
28. 
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (เพราะเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานนี้หรือคาถาม/ความสงสัยใคร่รู้) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
2. วัตถุประสงค์ (ระบุเป็นข้อๆว่าทาโครงงานนี้เพื่ออะไร) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
3. สมมติฐานของการศึกษา (คาดคะเนคาตอบที่จะได้จากโครงงานจากคาถาม/ความสงสัยใคร่รู้) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน (นักเรียนคาดว่าจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง เขียนเป็นข้อๆ) 
.............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน (ความรู้ที่เกี่ยวข้องให้เขียนเป็นข้อๆ) 
.............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................
29. 
6. วิธีดาเนินงาน 
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ (เขียนเป็นข้อๆ) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า (เขียนเป็นข้อๆเริ่มตั้งแต่การรวมกลุ่มจนถึงจัดทา E-book นาเสนอโครงงาน) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
- แผนปฏิบัติงาน (ระยะเวลาในการดาเนินโครงงาน เขียนเป็นสัปดาห์หรือระบุวันที่ก็ได้) 
ขั้นตอนในการทา โครงงาน 
ระยะเวลาในการทาโครงงาน 
7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง (เขียนเป็นข้อๆทั้งจากเว็ปไซต์และห้องสมุด หนังสือ ตารา) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑ 
หมายเหตุ : ให้นักเรืยนปรับแก้ได้ตามความเหมาะสมตามรูปแบบโครงงานการสารวจและจัดทาข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพของแต่ละชุมชน
30. 
รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net 
ชื่อโครงงงานชีววิทยา................................................................................. (ระบุชื่อชุมชนที่สารวจ) 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ ..................................... 
1. …………….……………………………………………………….…………………..………. 
2. ………………………………………………………………………………………..………... 
3. ………………………………………………………………………………………..………... 
4. ……………………………………………………………………………………..…………... 
(ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่) 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
31. 
1. ชื่อ......................นามสกุล.....................เลขที่....................ชั้น.......................... 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ .............................................................
32. 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ............................................................
33. 
2. ชื่อ......................นามสกุล.....................เลขที่....................ชั้น.......................... 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ .............................................................
34. 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ............................................................ 
หมายเหตุ ให้นักเรียนดาเนินการจัดทาหลักฐานการบันทึกฐานข้อมูลลงในเว็ปไซต์ www.biogang.net ตาม ตัวอย่างรูปแบบที่กาหนดให้ โดยจะต้องมีทรัพยากรชีวภาพที่ทาการสารวจในชุมชนอย่างน้อย 10 ชนิด และ ทุกคนในกลุ่มจะต้องมีส่วนร่วมในการบันทึกข้อมูลการสารวจลงในบล็อกของตนเองที่สมัครเป็นสมาชิกของเว็ป ไซต์ และการบันทึกภาพถ่ายจานวน 4 ภาพ ได้แก่ 1) ภาพทรัพยากรชีวภาพโดยรวม 2) ภาพทรัพยากรชีวภาพ เน้นจุดเด่น 3) ภาพทรัพยากรชีวภาพร่วมกับผู้เก็บข้อมูลล และ 4) ภาพทรัพยากรธรรมชาติกับสถานที่ที่ค้นพบ
35. 
ตัวอย่าง BIO MAP ชุมชนที่สารวจความหลากหลาย ใช้ Word หรือ Power Point หรือการวาดภาพแล้ว ถ่ายรูปเป็นไฟล์ตอมพิวเตอร์ก็ได้แล้วแต่ความถนัดของแต่ละกลุ่มโครงงาน 
หมายเหตุ : ให้นักเรืยนปรับแก้ได้ตามความเหมาะสมตามรูปแบบโครงงานการสารวจและจัดทาข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพของแต่ละชุมชน
36. 
แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น 
ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ............. 
คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดาเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้ 
3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก 
ที่ 
ชื่อ-สกุล 
การตอบคาถาม 
การร่วมกิจกรรม 
การแสดงความคิดเห็น 
การซักถาม 
รวมคะแนน 
ระดับคะแนน 
10-12 
7-9 
4-6 
3 
3 
3 
3 
12 
ดี 
พอใช้ 
ปรับปรุง
37. 
แบบประเมินการทางานกลุ่ม 
วิชาชีววิทยา เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............ 
ที่ 
ชื่อ-สกุล 
ประเด็นการประเมิน/คะเนน 
ระดับคะแนน 
ความรับผิดชอบของ แต่ละคน 
การมีส่วนร่วมในการ ทางาน 
ความคิดสร้างสรรค์ 
ผลงาน 
รวม 
20-25 
12-19 
5-11 
5 
5 
5 
10 
25 
ดี 
พอใช้ 
ปรับปรุง 
เกณฑ์การให้คะแนน 
5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น 
4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี 
3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่กาหนด 
2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ากว่ามาตรฐานทั่วไป 
1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
38. 
สื่อประกอบการเรียนรู้แบบ Power Point
39.
40. 
ตัวอย่างผลงานความสาเร็จของนักเรียน
41. 
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) 
การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
ชื่อโครงงานชีววิทยา การสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตร 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ XOXO 
1.นาย ธิติศักดิ์ มารุต ม.6/1 เลขที่ 12 
2.น.ส. เจนจิรา ศรีร่องหอย ม.6/1 เลขที่ 14 
3.น.ส. สายขวัญ สายะวิบูลย์ ม.6/1 เลขที่ 16 
4.น.ส. อัฐภรณ์ ชื่นคลัง ม.6/1 เลขที่ 19 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

What's hot (20)

แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 

Viewers also liked

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1Wichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5Wichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5Wichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1Wichai Likitponrak
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (19)

รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
Midterm1 m6 51
Midterm1 m6 51Midterm1 m6 51
Midterm1 m6 51
 
Final 2 m6 51
Final 2 m6 51Final 2 m6 51
Final 2 m6 51
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2
 
Midterm2 m6 51
Midterm2 m6 51Midterm2 m6 51
Midterm2 m6 51
 
Final1 m6 51
Final1 m6 51Final1 m6 51
Final1 m6 51
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโน
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 

Similar to รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6Nutsara Mukda
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,Itnanut Nunkaew
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 

Similar to รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ (20)

Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
06chap4
06chap406chap4
06chap4
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

  • 1. 1. รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนจุดเน้น การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง “กิจกรรมการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เสริมสร้างทักษะด้านเทคโนโลยีของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” ผู้นาเสนอผลงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2. คานา ตามหนังสือของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 (ด่วนมาก) เลขที่ ศธ 04231/ พิเศษ 384 ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2557 เรื่อง การจัดทา CD ROM นวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ ขับเคลื่อนจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนด จุดเน้นด้านคุณภาพผู้เรียน และโรงเรียนได้รายงานคุณภาพผู้เรียนผ่านระบบออนไลน์ทุกภาคเรียนตั้งแต่ปี การศึกษา 2554 ถึงปัจจุบัน นั้นในการนี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะจัดทาคลังข้อมูลการ จัดการความรู้ ผลของการดาเนินงานตามจุดเน้นแต่ละด้านเพื่อเผยแพร่ให้กับโรงเรียนอื่นๆได้นาไปจัดกิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืนต่อไป ด้วยเหตุนี้ กระผมจึงได้ส่งผลงาน เรื่อง “กิจกรรมการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเสริมสร้างทักษะด้าน เทคโนโลยีของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” เข้าร่วม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ในด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ เรียนรู้ พร้อมกับจัดทารายงานฉบับนี้ขึ้นประกอบอันจะเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ กระบวนการและวิธีการ ดาเนินงานที่มีความชัดเจนของนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ผู้นา เสนอหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นระโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศชาติเพื่อยกระดับ คุณภาพเยาวชนอันจะเป็นพลังสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาบ้านเมืองให้ก้าวหน้าอย่างยั่งยืนในอนาคตสืบไป นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
  • 3. 3. สารบัญ หน้า ปก คานา สารบัญ กิตติกรรมประกาศ แผนการจัดการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชา แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัด โครงสร้างรายวิชา ภาคผนวก - แบบฟอร์มเค้าโครง - แบบฟอร์มรายงาน - แบบการสังเกต - แบบประเมิน - สื่อ Power Point - ตัวอย่างผลงานนักเรียน - เว็ปไซต์ประกอบเนื้อหาบทเรียน ประวัติผู้นาเสนอนวัตกรรม
  • 4. 4. กิตติกรรมประกาศ เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทางวิชาการฉบับนี้จะไม่สบประความสาเร็จได้เลยถ้าขาดการเปิด โอกาสจากโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ อีกทั้งการอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าน ผู้อานวยการโรงเรียนนายสกุล ทองเอียด, ท่านรองผู้อานวยการสานักบริหารวิชาการและกิจการนักเรียนนาง ศุภธิวรรณ นุชาหาญ, ท่านรองผู้อานวยการสานักบริหารงบประมาณและทั่วไปนางสาวชนางรักษ์ มั่นนุช และ นายธันวา ชัยวณิชย์ หัวหน้ากลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ได้สนับสนุนการดาเนินงานด้านต่างๆ เป็นอย่างดีมา โดยตลอด ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ทุกท่านที่ได้ช่วยเหลือแนะนาการทางานด้านต่างๆ ทาให้ เกิดการเรียนรู้และได้รับประสบการณ์การทางาน จนสามารถจัดทาเอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทาง วิชาการครั้งนี้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น และขอขอบใจนกเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนที่ได้ร่วม แรงร่วมใจในการเข้าร่วมกิจกรรมจนประสบผลแห่งความสาเร็จอย่างงดงาม ขอขอบคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานที่ได้กาหนดให้มีการจัดทาคลังข้อมูลการจัดการความรู้ ผลของการดาเนินงานตามจุดเน้นแต่ละด้านเพื่อ เผยแพร่ให้กับโรงเรียนอื่นๆได้นาไปจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืนต่อไป ซึ่งทาให้ผู้จัดทาได้รับโอกาสเข้าร่วมการนาเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านนวัตกรรมทางการศึกษาครั้งนี้ หากเอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทางวิชาการฉบับนี้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจศึกษาหาความรู้ทั่วไป ขอมอบคุณงามความดีอันพึงมีในครั้งนี้แด่ครอบครัว ครูบาอาจารย์และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้อบรมเลี้ยงดูและประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ตางๆ แด่ผู้จัดทาจนทา ให้ผู้จัดทามีความรู้ความสามารถที่จะดาเนินงานในครั้งนี้เป็นผลสาเร็จ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
  • 5. 5. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา 4 รหัส ว 33244 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ
  • 6. 6. แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 รหัสวิชา ว 33244 รายวิชา ชีววิทยา 4 เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน ............................................................................................................................................................... ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 2. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 7. 7. คาอธิบายรายวิชา ชีววิทยา 4 รหัสวิชา ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กฎของเมนเดล การผสมเพื่อทดสอบ ลักษณะพันธุกรรมที่นอกเหนือกฏของเมนเดล ยีนและโครโมโซม การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม การค้นพบ สารพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ สมบัติของสารพันธุกรรม มิวเทชัน พันธุศาสตร์ และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ พันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การวิเคราะห์ดีเอ็นเอและการศึกษาจีโนม การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของดีเอ็นเอ ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ มุมมองทางสังคมและจริยธรรม วิวัฒนาการ หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต พันธุ ศาสตร์ประชากร ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของอัลลีล กาเนิดของสปีชีส์ การศึกษาความ หลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดชีวิต อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย การ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 , ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 รวม 16 ตัวชี้วัด
  • 8. 8. แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 4 ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword) ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสาร พันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิว เทชัน และการเกิดความหลากหลายทาง ชีวภาพ - การถ่ายทอดทาง พันธุกรรม - ยีนและโครโมโซม - การสารวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของ เทคโนโลยีชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อมและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ - พันธุศาสตร์และ เทคโนโลยีทาง DNA - การนาความรู้ไปใช้ - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของ ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม - ความหลากหลาย ทางชีววิทยา - การสืบค้นข้อมูล - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นการทางาน ม.4-6/4 อธิบายกระบวนการคัดเลือกตาม ธรรมชาติและผลการคัดเลือกตาม ธรรมชาติต่อความลากหลายของสิ่งมีชีวิต - วิวัฒนาการ - การคิดวิเคราะห์ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของ ความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจหรือจากประเด็นที่เกิดขึ้น ในขณะนั้นที่สามารถทาการสารวจ ตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ - การสืบค้นข้อมูล - การสารวจตรวจสอบ - การตั้งคาถาม - มุ่งมั่นการทางาน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบหรือสร้าง แบบจาลองหรือสร้างรูปแบบเพื่อนาไปสู่ การสารวจตรวจสอบ -การสร้างสมมติฐาน - การตรวจสอบ - มุ่งมั่นการทางาน - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้อง พิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่ มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ - การสืบค้นข้อมูล - การสารวจตรวจสอบ - การรวบรวมข้มูล - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ใช้ ในการสังเกต การวัด การสารวจ ตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ - การสังเกต -สารวจตรวจสอบ - การออกแบบ - มุ่งมั่นการทางาน - ใฝ่เรียนรู้
  • 9. 9. ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการ สารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความ เหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล - การรวบรวมข้อมูล - การบันทึก - สารวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นการทางาน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูลโดยคานึงถึงการ รายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถุ กต้องและนาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่ เหมาะสม - การจัดกระทาข้อมูล - การรายงานผล - การออกแบบ - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย ข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของ ข้อสรุป หรือสาระสาคัญเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ - การวิเคราะห์ - การแปลความหมาย - การสารวจตรวจสอบ - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของ วิธีการและผลการสารวจตรวจสอบโดยใช้ หลักความคาดเคลื่อนของการวัดและการ สังเกต เสนอแนะ การปรับปรุงวิธีการ สารวจตรวจสอบ - การสังเกต - การสารวจตรวจสอบ - การสรุปผล - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/9 นาผลการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้าง คาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาใน สถานการณ์ใหม่และชีวิตจริง - การนาไปใช้ - การกาหนดปัญหา - การแก้ปัญหา - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่ จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นาเสนอต่อ สาธารณชนด้วยความถูกต้อง - การอธิบาย - การลงข้อสรุป - การนาเสนอ - การสื่อสาร - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจ ตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐาน อ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อหาหลักฐาน อ้างอิงที่เชื่อถือได้และยอมรับว่าความรู้ เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือ โต้แย้งจากเดิมซึ่งท้าทายให้มีการ ตรวจสอบอย่าง ระมัดระวังอันจะนาไปสู่การยอมรับเป็น ความรู้ใหม่ - การบันทึก - การอธิบาย - การสารวจตรวจสอบ - การสืบค้นข้อมูล - การวิเคราะห์ - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต
  • 10. 10. ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือ ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ - การอธิบาย - การสื่อสารข้อมูล - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้
  • 11. 11. โครงสร้างรายวิชาชีววิทยา 4 รหัส ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1 ว 1.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 การถ่ายทอดทาง พันธุกรรม การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมเดล ความ น่าจะเป็นและกฎของการแยก กฎแห่ง การรวมกลุ่มอย่างอิสระ การผสมเพื่อ ทดสอบและลักษณะทางพันธุกรรมที่ นอกเหนือกฎของเมนเดล 15 20 2 ว 1.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 ยีนและโครโมโซม การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม การ ค้นพบสารพันธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทางเคมีของ DNA โครงสร้างของ DNA สมบัติของสาร พันธุกรรมและมิวเทชัน 15 20 3 ว 1.2 ม.4-6/2 ว 8.1 ม.4-6/1-12 พันธุศาสตร์และ เทคโนโลยีทาง DNA พันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การ วิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ DNA และความปลอดภัยของเทคโนโลยีทาง DNA และมุมมองทางสังคมและ จริยธรรม 10 20 4 ว 1.2 ม.4-6/4 ว 8.1 ม.4-6/1-12 วิวัฒนาการ หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ประชากร ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความถี่ของแอลลีนและกาเนิดสปีชีส์ 10 20 5 ว 1.2 ม.4-6/3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 ความหลากหลายทาง ชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ การศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ กาเนิดของชีวิต อาณาจักรของ สิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ ในประเทศไทยและการสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ 10 20 รวม 60 100
  • 12. 12. คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด จุดเน้น ทักษะ/กระบวนการ 1 การถ่ายทอดทาง พันธุกรรม ว 1.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน กาหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่นามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด - สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม - ทดลอง - อธิบาย - สืบค้นข้อมูล - นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ การสืบค้นข้อมูล - การสารวจ - การตั้งคาถาม - การสร้างสมมติฐาน - การตรวจสอบ - การรวบรวมข้อมูล - การสังเกต - การออกแบบ - การบันทึก - การจัดกระทาข้อมูล - การรายงานผล - การวิเคราะห์ - การแปลความหมาย - การกาหนดปัญหา - การแก้ปัญหา - การนาเสนอ - การสื่อสาร - การสรุปผล 2 ยีนและโครโมโซม ว 1.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี ทาง DNA ว 1.2 ม.4-6/2 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะชีวิต - ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม
  • 13. 13. 4 วิวัฒนาการ ว 1.2 ม.4-6/4 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะชีวิต - ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน กาหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่นามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด - สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม 5 ความหลากหลายทาง ชีวภาพ ว 1.2 ม.4-6/3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะชีวิต - ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน กาหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่นามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด
  • 14. 14. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 หน่วยการเรียนที่ 5 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา/รายวิชา ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลาเรียน 10 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายถึงความหมายและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์อีกทั้ง สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตโดยการสารวจความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชนแล้วเก็บ รวบรวมข้อมูลในฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพใน www.biogang.net พร้อมนาเสนอในรูปแบบแผนที่ ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) ได้อย่างถูกต้อง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพได้อย่างถูกต้อง (Knowledge) 2.2 อธิบายถึงความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพได้อย่างถูกต้อง (Knowledge) 2.3 สามารถนาความรู้เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพไปใช้ในการสารวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชนได้อย่างถูกต้อง (Process) 2.5 สามารถนาข้อมูลทรัพยากรชีวภาพที่ได้จากการสารวจในชุมชนมาจัดทาฐานข้อมูลบันทึกลงใน www.biogang.net พร้อมนาเสนอในรูปแบบแผนที่ได้อย่างถูกต้อง (Process) 2.6 ตระหนักถึงความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพต่อการดารงชีวิตของตนเองที่อาศัยอยู่ในชุมชน 2.7 ตระหนักถึงความสาคัญของการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนในฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมาจากการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมที่ดารงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่างกันจนเกิดเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ขึ้น
  • 15. 15. - ในระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ นั้น ดังนั้น ระบบนิเวศที่แตกต่างกันย่อมจะมีสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้นแตกต่างกันด้วย - ทรัพยากรทางชีวภาพ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่เป็นปัจจัยทางชีวภาพของระบบนิเวศที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์ใน การดารงชีวิต ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นปัจจัย 4 ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค อาหารและที่อยู่อาศัย - การเก็บรวบรวมข้อมูลทางทรัพยากรชีวภาพในชุมชนปัจจุบันนับว่าเป็นสิ่งคัญยิ่งโดยอาศัยกระบวนการ สารวจบนพื้นฐานหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือการทาโครงงาน พร้อมบันทึกฐานข้อมูลลงบน www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อ ผู้สนใจโดยทั่วไป 4. สาระการเรียนรู้ - ความรู้ (K) อธิบายถึงความหมายและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ - ทักษะ / กระบวนการ (P) สารวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนพร้อมจัดทาฐานข้อมูลบน www.biogang.net และแผนที่ทรัพยากรชีวภาพ (BIO MAP) - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพกับการดารงชีวิต ของตนเองในชุมชน 5. สมรรถนะ การใช้เทคโนโลยี คือ การบันทึกข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในฐานข้อมูล www.biogang.net ทักษะชีวิต คือ การออกสารวจชุมชนจริงที่นักเรียนอาศัยอยู่โดยรอบใกล้กับที่ตั้งของโรงเรียน การแก้ปัญหา คือ การทางานโดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์รูปแบบโครงงาน การคิด คือ การวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพที่สารวจจากชุมชนเพื่อจัดทา BIO MAP 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึกในการสารวจทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน ใบงาน : แบบเค้าโครงโครงงานสารวจทรัพยากรชีวภาพ (Project proposal) ใบกิจกรรม : แบบรายงานผลการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชน www.biogang.net Bio map : แผนที่การสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชน
  • 16. 16. 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียนการ สอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. แบบบันทึกการทากิจกรรม ประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจาบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทาการ เรียนการสอนประจาบทเรียน จริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับคา เฉลยใบงานแบบฝึกหัดประจา บทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับคา เฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหา ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงามของการจด บันทึก 2. ความถูกต้องของคาตอบ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 80% 3. ความถูกต้องของคาตอบ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหาการบันทึก ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงามของ การจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : 1. ครูใช้คาถามนาว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพคืออะไร” แนวตอบ คือ สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมาจากการเกิดวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ดารงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพ แตกต่างกัน เช่น กระต่ายขั้วโลกต้องมีชั้นไขมันหนาและขนยาวปกคลุมตัวก็เนื่องมาจากสภาพอากาศที่มีความ หนาวเย็นจัด หรือ อูฐต้องมีขนสั้นเพื่อการระบายความร้อนได้ดีและโหนกที่มีการสะสมไขมันเพื่อนามาใช้ใน ปฏิกิริยาสร้างน้าเนื่องจากมีถิ่นที่อยู่อาศัยในทะเลทราย
  • 17. 17. 2. ครูกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับ “ทรัพยากรชีวภาพ” โดยให้นักเรียนศึกษาเรียนรู้ ของคลิป VDO ของสานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ครูตั้งคาถามต่างๆเกี่ยวกับคลิป VDO ให้นักเรียนร่วมกันตอบเพื่อทบทวนความรู้และประสบการณ์เดิมอีกทั้งยัง เป็นการดึงความสนใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหลากหลายของทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เช่น “นักเรียนลองยกตัวอย่างทรัพยากรชีวภาพในชีวิตประจาวันมาคนละ 1 อย่างพร้อมบอกถึงลักษณะที่โดดเด่น ในการสังเกตและความสาคัญต่อการดารงชีวิต” ตัวอย่างแนวตอบ กะเพรา เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ขอบใบหยัก มีกลิ่นฉุน นิยมนามาใช้ในการประกอบอาหาร เช่น ผัดกะเพราหมูสับไข่ดาว นอกจากนี้ยังสามารถนามาใช้เป็นยาสมุนไพรในการขับลมแก้ท้องอืดได้อีกด้วย ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ความหลากหลายทางชีวภาพ” ว่า - สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมาจากการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมที่ดารงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่างกันทั้งปัจจัยทางด้านกายภาพ เช่น แสง ความกดดัน ความเป็นกรดเบส อุณหภูมิ เป็นต้น และปัจจัยทางด้านชีวภาพ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์ เป็นต้น จนเกิดเป็น ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ขึ้น
  • 18. 18. - ในระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ นั้น ดังนั้น ระบบนิเวศที่แตกต่างกันย่อมจะมีสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้นแตกต่างกันด้วย เช่น กระต่ายขั้วโลกต้องมีชั้นไขมันหนาและขนยาวปกคลุมตัวก็เนื่องมาจากสภาพอากาศที่มีความหนาวเย็นจัด หรือ อูฐต้องมีขนสั้นเพื่อการระบายความร้อนได้ดีและโหนกที่มีการสะสมไขมันเพื่อนามาใช้ในปฏิกิริยาสร้างน้า เนื่องจากมีถิ่นที่อยู่อาศัยในทะเลทราย - ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ คาว่า ความหลากหลายทางชีวภาพ มาจาก biodiversity หรือ biological diversity ความหลากหลาย (diversity) หมายถึง มีมากมายและแตกต่าง ทางชีวภาพ (biological) หมายถึง ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต หรือ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบ นิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือ การที่มีชนิดพันธุ์ (species) สายพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก - องค์ประกอบสาคัญที่ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ได้แก่ 1. ความหลากหลายทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน
  • 19. 19. 2. ความหลากหลายของสปีชีส์ หมายถึง ชนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆบนโลก ซึ่งมีประมาณ10-50ล้านชนิด 3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีความแตกต่างของชนิดและ จานวนของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน - ทรัพยากรทางชีวภาพ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่เป็นปัจจัยทางชีวภาพของระบบนิเวศที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์ใน การดารงชีวิต ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นปัจจัย 4 ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค อาหารและที่อยู่อาศัย ซึ่ง - มนุษย์มีความสัมพันธ์กันและเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน มนุษย์ก็จะรวมตัวกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นชุมนุมชน ภายหลัง มนุษย์ก็ได้เริ่มจัดการกับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวมนุษย์ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการดารงชีพ ความ สะดวกสบาย ในความเป็นอยู่และความปลอดภัยในชีวิต สิ่งรอบ ๆ ตัวที่มนุษย์เข้าไปจัดการนั้น บางครั้งมนุษย์ แสวงหามาเอง บางครั้งสร้างให้มันเกิดขึ้น และบางครั้งก็ตกแต่ง ดัดแปลงปรับปรุง และใช้ธรรมชาติที่เกิด
  • 20. 20. ขึ้นอยู่เองนั้น ในลักษณะที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของชุมชน สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวมนุษย์ ภายในบริเวณชุมนุมชนมีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาไว้ในชุมชน รวมเรียกกัน ว่า "สิ่งแวดล้อมชุมชน”อาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ อาจจะเป็นสิ่งที่มีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้แต่ทุก อย่างจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องต่อเนื่องกันเป็นวงจร - การเก็บรวบรวมข้อมูลทางทรัพยากรชีวภาพในชุมชนปัจจุบันนับว่าเป็นสิ่งคัญยิ่งโดยอาศัยกระบวนการ สารวจบนพื้นฐานหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือการทาโครงงาน พร้อมบันทึกฐานข้อมูลลงบน www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อ ผู้สนใจโดยทั่วไป นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ ความหลากหลายทางชีวภาพและการเก็บรวบรวมข้อมูลทางทรัพยากรชีวภาพในชุมชน แนวตอบ
  • 21. 21. - ความหมายของความหลายหลากทางชีวภาพ คือ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ใน ระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือ การที่มีชนิดพันธุ์ (species) สายพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก - ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ คือ มนุษย์สามารถได้รับประโยชน์จากความหลากหลาย ทางธรรมชาติในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้ 1.ประโยชน์ด้านการบริโภคใช้สอย ได้แก่ ด้านการผลิตอาหารและด้านการแพทย์ 2 . ประโยชน์ด้านการผลิต ด้านการอุตสาหกรรม 3. ประโยชน์อื่นๆ อันได้แก่คุณค่าในการบารุงรักษาระบบนิเวศให้สามารถดารงอยู่ได้ และดูแลระบบ นิเวศให้คงทนซึ่งจัดเป็นประโยชน์ที่สาคัญ ตลอดทั้งในด้านนันทนาการและการท่องเที่ยวของมนุษย์ - การเก็บรวบรวมข้อมูลทางทรัพยากรชีวภาพในชุมชน หมายถึง การสารวจสังเกตและเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยอาศัยกระบวนการอย่างเป็นระบบมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ โดยการจัดทาเป็นฐานข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเพื่อการวางแผนนามาใช้ประโยชน์ในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด เช่น การบันทึกลงฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากร ชีวภาพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อผู้สนใจโดยทั่วไป - หลังจากได้ทบทวนสรุปเนื้อหาต่างๆและเน้นย้าถึงความสาคัญหรือความจาเป็นที่เราจะต้องเก็บรวบรวม ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพของชุมชนเป็นที่เรียบร้อย ครูก็ดาเนินการมอบหมายโครงงานกลุ่ม โดยจัดแบ่งกลุ่ม สมาชิกนักเรียน 3-4 คน เพื่อดาเนินการสารวจทรัพยากรชีวภาพภายในชุมชนที่กลุ่มตัดสินใจเลือกร่วมกันโดย กาหนดขอบเขตภายในรัศมีที่ตั้งของโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์เพื่อความสะดวกในการเดินทางและเป็นพื้นที่ที่ นักเรียนแต่ละกลุ่มคุ้นเคยเพื่อประกอบเป็นภาพต่อขนาดใหญ่ด้านข้อมูลทรัพยากรชีวภาพของชุมชนโดยรอบ บริเวณที่ตั้งโรงเรียน ซึ่งมีครูผู้สอนเป็นครูที่ปรึกษาโครงงานในการตรวจสอบติดตามความก้าวหน้าและความ ถูกต้องของกระบวนการทาโครงงาน - นักเรียนดาเนินการเขียนเค้าโครงโครงงานชีววิทยาการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนซึ่งเป็นการ วางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบและมีความถูกต้องชัดเจนจากการเข้าสารวจบริบทและทรัพยากร ชีวภาพของชุมชนเป้าหมายในเบื้องต้นแล้วนาส่งครูที่ปรึกษาโครงงานเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง พัฒนา
  • 22. 22. ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่องและอนุมัติให้กลุ่มนักเรียนสามารถทาโครงงานสารวจเก็บข้อมูลได้เพื่อให้การเก็บ รวบรวมข้อมูลและการบันทึกผลข้อมูลจากการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนมีความถูกต้องน่าเชื่อถือตาม หลักวิชาการ - นักเรียนดาเนินการออกสารวจบันทึกข้อมูลชนิดพันธุ์และลักษณะโดดเด่นที่ได้จากการสังเกต บันทึกภาพถ่าย จานวน 4 ภาพ ได้แก่ 1) ภาพทรัพยากรชีวภาพโดยรวม 2) ภาพทรัพยากรชีวภาพเน้นจุดเด่น 3) ภาพ ทรัพยากรชีวภาพร่วมกับผู้เก็บข้อมูลล และ 4) ภาพทรัพยากรธรรมชาติกับสถานที่ที่ค้นพบ นอกจากนี้ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกเส้นทางในการเดินสารวจตามสถานที่ต่างๆภายในชุมชน เพื่อนามาประกอบการ จัดทาฐานข้อมูลใน www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) ในการ เผยแพร่องค์ความรู้ต่อผู้สนใจโดยทั่วไป - นักเรียนดาเนินการสมัครเป็นสมาชิก www.biogang.net พร้อมกับเข้าร่วมกลุ่ม SILABIO_6/1_57 เพื่อ การตวรจสอบติดตามผลการเข้าร่วมกิจกรรมของสมาชิกนักเรียนในกลุ่มแต่ละคนเพื่อการวัดประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง พร้อมกับให้นักเรียนแนะนาตัวเพื่อตรวจสอบยืนยันการสมัครเข้าร่วมกลุ่ม
  • 23. 23. - นักเรียนดาเนินการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพจากข้อมูลที่ได้จากการสารวจและข้อมูลที่ ได้จากการสืบค้นของชุมชนที่กลุ่มตนเองเลือกไว้ ที่ www.biogang.net โดยครูกาหนดให้นักเรียนสมาชิกกลุ่ม แต่ละคนจะต้องมีส่วนร่วมในการสารวจและบันทึกข้อมูล อย่างน้อยกลุ่มละ 10 ชนิดทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ง อาจแบ่งกันคนละ 3-4 ชนิด และครูสามารถดาเนินการตรวจสอบการทางานของนักเรียนแต่ละคน ได้ดังนี้ 1. การบันทึกภาพของนักเรียนคู่กับทรัพยกรชีวิภาพในชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบในการสารวจ 2. การบันทึกข้อมูลทรัพยากรที่ตนเองรับผิดชอบในการสารวจลงในบล็อกฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพของ ตนเอง
  • 24. 24. - นักเรียนดาเนินการจัดทาแผนที่เส้นทางการเดินทางสารวจทรัพยากรชีวภาพภายในชุมชนที่กลุ่มโครงงานของ ตนเองรับผิดชอบ ซึ่งจะต้องระบุสถานที่สาคัญภายในชุมชน ตาแหน่งที่ตั้งของทรัพยากรชีวภาพที่สารวจพบใน ชุมชน รูปภาพและรายละเอียดคร่าวๆที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรชีวภาพที่สารวจพบในชุมชน โดยกลุ่มนักเรียน สามารถออกแบบลักษณะของแผนที่ (BIO MAP) ได้อย่างอิสระ เช่น การวาดภาพแล้วถ่ายรูปเป็นไฟล์ คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทารายงานหรือจัดทาเป็นไฟล์คอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมต่างๆ เป็นต้น ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานแบบฝึกหัดเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพอีกทั้งสามารถ นาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตอย่างเหมาะสมจากการสารวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน การ นาข้อมูลทรัพยากรชีวภาพที่ได้จากการสารวจในชุมชนมาจัดทาฐานข้อมูลบันทึกลงใน www.biogang.net
  • 25. 25. และประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนในฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map) 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.5 ห้องคอมพิวเตอร์เพื่อการสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.6 เว็ปไซต์เพื่อการศึกษาทรัพยากรชีวภาพในชุมชน www.biogang.net 9.7 เว๊ปไซต์เพื่อการสืบค้นข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เช่น www.google.com 9.10 แบบบันทึกเค้าโครงงานชีววิทยาการเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน 9.11 แบบบันทึกรายงานโครงงานการเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน 9.12 ใบงาน เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพและทรัพยากรธรรมชาติ 9.13 ใบงาน Mind Map สรุปบทเรียน เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพและ ทรัพยากรธรรมชาติ 9.14 สไลด์ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพและทรัพยากรธรรมชาติ 9.15 สไลด์ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนใน ฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากรชีวภาพของชุมชน (Bio Map)
  • 27. 27. แบบฟอร์ม เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) ชื่อโครงงงานชีววิทยา................................................................................. (ระบุชื่อชุมชนที่สารวจ) รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ ..................................... 1. …………….……………………………………………………….…………………..………. 2. ………………………………………………………………………………………..………... 3. ………………………………………………………………………………………..………... 4. ……………………………………………………………………………………..…………... (ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่) ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 28. 28. 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (เพราะเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานนี้หรือคาถาม/ความสงสัยใคร่รู้) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. วัตถุประสงค์ (ระบุเป็นข้อๆว่าทาโครงงานนี้เพื่ออะไร) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. สมมติฐานของการศึกษา (คาดคะเนคาตอบที่จะได้จากโครงงานจากคาถาม/ความสงสัยใคร่รู้) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน (นักเรียนคาดว่าจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง เขียนเป็นข้อๆ) .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน (ความรู้ที่เกี่ยวข้องให้เขียนเป็นข้อๆ) .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
  • 29. 29. 6. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ (เขียนเป็นข้อๆ) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า (เขียนเป็นข้อๆเริ่มตั้งแต่การรวมกลุ่มจนถึงจัดทา E-book นาเสนอโครงงาน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - แผนปฏิบัติงาน (ระยะเวลาในการดาเนินโครงงาน เขียนเป็นสัปดาห์หรือระบุวันที่ก็ได้) ขั้นตอนในการทา โครงงาน ระยะเวลาในการทาโครงงาน 7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง (เขียนเป็นข้อๆทั้งจากเว็ปไซต์และห้องสมุด หนังสือ ตารา) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑ หมายเหตุ : ให้นักเรืยนปรับแก้ได้ตามความเหมาะสมตามรูปแบบโครงงานการสารวจและจัดทาข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพของแต่ละชุมชน
  • 30. 30. รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net ชื่อโครงงงานชีววิทยา................................................................................. (ระบุชื่อชุมชนที่สารวจ) รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ ..................................... 1. …………….……………………………………………………….…………………..………. 2. ………………………………………………………………………………………..………... 3. ………………………………………………………………………………………..………... 4. ……………………………………………………………………………………..…………... (ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่) ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 31. 31. 1. ชื่อ......................นามสกุล.....................เลขที่....................ชั้น.......................... ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ .............................................................
  • 32. 32. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ............................................................
  • 33. 33. 2. ชื่อ......................นามสกุล.....................เลขที่....................ชั้น.......................... ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ .............................................................
  • 34. 34. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ............................................................ หมายเหตุ ให้นักเรียนดาเนินการจัดทาหลักฐานการบันทึกฐานข้อมูลลงในเว็ปไซต์ www.biogang.net ตาม ตัวอย่างรูปแบบที่กาหนดให้ โดยจะต้องมีทรัพยากรชีวภาพที่ทาการสารวจในชุมชนอย่างน้อย 10 ชนิด และ ทุกคนในกลุ่มจะต้องมีส่วนร่วมในการบันทึกข้อมูลการสารวจลงในบล็อกของตนเองที่สมัครเป็นสมาชิกของเว็ป ไซต์ และการบันทึกภาพถ่ายจานวน 4 ภาพ ได้แก่ 1) ภาพทรัพยากรชีวภาพโดยรวม 2) ภาพทรัพยากรชีวภาพ เน้นจุดเด่น 3) ภาพทรัพยากรชีวภาพร่วมกับผู้เก็บข้อมูลล และ 4) ภาพทรัพยากรธรรมชาติกับสถานที่ที่ค้นพบ
  • 35. 35. ตัวอย่าง BIO MAP ชุมชนที่สารวจความหลากหลาย ใช้ Word หรือ Power Point หรือการวาดภาพแล้ว ถ่ายรูปเป็นไฟล์ตอมพิวเตอร์ก็ได้แล้วแต่ความถนัดของแต่ละกลุ่มโครงงาน หมายเหตุ : ให้นักเรืยนปรับแก้ได้ตามความเหมาะสมตามรูปแบบโครงงานการสารวจและจัดทาข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพของแต่ละชุมชน
  • 36. 36. แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ............. คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดาเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้ 3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก ที่ ชื่อ-สกุล การตอบคาถาม การร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การซักถาม รวมคะแนน ระดับคะแนน 10-12 7-9 4-6 3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
  • 37. 37. แบบประเมินการทางานกลุ่ม วิชาชีววิทยา เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............ ที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน ความรับผิดชอบของ แต่ละคน การมีส่วนร่วมในการ ทางาน ความคิดสร้างสรรค์ ผลงาน รวม 20-25 12-19 5-11 5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การให้คะแนน 5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น 4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี 3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่กาหนด 2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ากว่ามาตรฐานทั่วไป 1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
  • 39. 39.
  • 41. 41. เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) ชื่อโครงงานชีววิทยา การสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตร รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ XOXO 1.นาย ธิติศักดิ์ มารุต ม.6/1 เลขที่ 12 2.น.ส. เจนจิรา ศรีร่องหอย ม.6/1 เลขที่ 14 3.น.ส. สายขวัญ สายะวิบูลย์ ม.6/1 เลขที่ 16 4.น.ส. อัฐภรณ์ ชื่นคลัง ม.6/1 เลขที่ 19 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ