SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
1

การกรอกรายละเอียดในแบบฟอรมนี้ ตองดําเนินการใหครบถวนตามความเปนจริง หากตรวจสอบพบวามีการปกปดหรือเปนเท็จ วช.
                    ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไมพิจารณาสนับสนุนและจะเปนผูไมสิทธิ์รับทุน วช. เปนเวลา 3 ป

                                     สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)                  แบบ วช. 1 ย/วช. 1 ด
                                     แบบเสนอโครงการวิจัย (Research Project)                          B1 - B3
                                                                                                           -
                     ประกอบการเสนอของบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ
                                             ประจําปงบประมาณ 2556
                                            ------------------------------------
       ประเภททุน ทุนอุดหนุนการวิจัยปงบประมาณ 2556
       ชื่อโครงการวิจัย (ไทย) การพัฒนาคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสรางองคความรู
                              ภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร
                        (ภาษาอังกฤษ) The development of Knowledge Base by Social Media for
                                        Constructivism Creation Phrae local Wisdom.
       ชื่อแผนงานวิจัย (ไทย) การพัฒนานวัตกรรมสรางสรรคการเรียนรูสูการมีสวนรวมอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น
                                                                                               
                         (ภาษาอังกฤษ) The development of innovative learning to conservative
                                         participation of local wisdom.

       สวน ก: องคประกอบของขอเสนอโครงการวิจัย
                  1. ผูรับผิดชอบ ประกอบดวย (กรณีเปนทุนความรวมมือกับตางประเทศใหระบุผรับผิดชอบ
                                                                                                ู
       ทั้ง “ฝายไทย” และ “ฝายตางประเทศ”)
                      1.1 หัวหนาโครงการ
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : รศ.ดร.สําราญ มีแจง            สัดสวนทําวิจัย 50%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ) : Assoc. Prof. Dr. Samran Mejang
                             หมายเลขบัตรประชาชน : 3 1202 00505 34 7
                      1.2 ผูรวมงานวิจัย
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาววณิชชา แมนยํา           สัดสวนทําวิจัย 30%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ) : Miss Wanitcha Manyum
                             หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5404 00416 12 3
                      1.3 ผูรวมงานวิจัย
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางวราภรณ สังขวรกุล          สัดสวนทําวิจัย 10%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ) : Mrs. Waraporn Sangworakul
                             หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5404 00038 54 4
                      1.4 ผูรวมงานวิจัย
2


                   ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาวพิชญา ดีมี                 สัดสวนทําวิจัย 10%
                   ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ) : Miss Phitchaya Deemee
                   หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5404 00084 20 5

              1.5 ที่ปรึกษาโครงการวิจัย
                  คณบดี คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร หมายเลขโทรศัพท 055-411639
                  ผูอํานวยการโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร    หมายเลขโทรศัพท 054-511104
              1.6 หนวยงานหลัก
                  คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร            หมายเลขโทรศัพท 055-411639
              1.7 หนวยงานสนับสนุน
                  สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร                หมายเลขโทรศัพท 054-625496
                  กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
                  กลุมสาระการเรียนรูสงคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                                        ั
                  กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                  โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร                หมายเลขโทรศัพท 054-511104

             2. ประเภทการวิจัย (ผนวก 4)
                  การพัฒนาทดลอง (experimental development)

            3. สาขาวิชาการและกลุมวิชาที่ทําการวิจัย (ผนวก 4)
                 สาขาการศึกษา (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)

               4. คําสําคัญ (keywords) ของโครงการวิจัย
                     4.1 ภูมิปญญาทองถิ่น (local Wisdom) หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่นของ
จังหวัดแพร ซึ่งไดมาจากประสบการณ บุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูคนอีกรุนหนึ่ง ซึ่งสอดคลองกับวิถี
ชีวิตดั้งเดิมของชาวจังหวัดแพรในวิถีดั้งเดิมนั้น ยกตัวอยางเชน ภาษาของชาวไทยพวนบานทุงโฮง ภาษาชาว
เชียงแสนบานพระหลวง การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนิเจอรไมสัก ผลิตภัณฑจากสาหรายน้ําจืด
“เตา”เปนตน
                     4.2 คลังความรูบนเว็บ (Knowledge Web Base) หมายถึง การเก็บความรูตางๆ บน
เว็บไซต http://www.phraewisdom.com และนําขอมูลเหลานั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรูหรือประยุกตใช
                                                                                     
ตอไปได
3


                      4.3 การสรางองคความรูดวยตนเอง (Constructivism) หมายถึง หลักการจัดการเรียน
การสอนมุงเนนไปทีกระบวนการสรางความรู ผูเ รียนจะตองเปนผูจัดกระทํากับขอมูลหรือประสบการณ
                    ่                                          
ตางๆ และจะตองสรางความหมายใหกับสิ่งนั้นดวยตนเอง ผูเรียนไดมีบทบาทในการเรียนรูอยางเต็มที่โดย
                                                                                          
ผูเรียนจะนําตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู บทบาทของครูจะเปนผูใหความรวมมือ อํานวยความ
สะดวกและชวยเหลือผูเ รียนในการเรียนรู
                      4.4 สังคมออนไลน (Social Media) สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทําใหผูใชแสดงความเปน
ตัวตนของตนเอง เพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธกบหรือแบงปนขอมูลกับบุคคลอื่น สังคมออนไลน
                                       ั
              5. ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย
                      “...การพยายามศึกษาวิทยาการและเทคโนโลยีอันกาวหนาทุกสาขาจากทั่วโลก แลว
เลือกสรรสวนที่สําคัญเปนประโยชน นํามาปรับปรุงใชใหพอดีพอเหมาะกับสภาพและฐานะของประเทศเรา
เพื่อชวยใหประเทศของเราสามารถนําเทคโนโลยีอันทันสมัยมาใชพัฒนางานตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
และไมสิ้นเปลือง...” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาท ในโอกาสเสด็จพระราชดําเนินเปดงานพระจอม
เกลาลาดกระบังนิทรรศน ๒๖ ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตเจาคุณทหาร ลาดกระบัง วันที่
๑๖ มิถุนายน ๒๕๒๖
                      จากการรวมตัวของประเทศสมาชิกในอาเซียน 10 ประเทศ ซึ่งไทยเปน 1 ใน ภาคี
สมาชิก ซึ่งมีความรวมมือกันทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ
การสือสาร เหลานี้ ลวนเปนองคประกอบที่สําคัญในยุคโลกาภิวัตนทั้งสิ้น ประเทศไทยเปนสังคมยอยสังคม
       ่
หนึ่งในสังคมที่ยอมไดรบผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ประชากรในประเทศจะตองสามารถทีจะเรียนรู
                       ั                                                                      ่
ที่จะอยูรวมในโลกใบนี้ไดอยางชาญฉลาด ดวยกลไกของการศึกษา
         
                      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559 ไดกําหนด
ทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ถึงแนวทางการเสริม
รากฐานของประเทศในดานตางๆ ใหเขมแข็ง ควบคูไปกับการใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทย
ใหมีคุณภาพ กาวทันตอการเปลี่ยนแปลง รวมทังการสรางโอกาสทางเศรษฐกิจดวยฐานความรู เทคโนโลยี
                                                ้
และนวัตกรรม และความคิดสรางสรรค นําไปสูการพัฒนาประเทศที่มั่นคง และยั่งยืน โดยไดกําหนด บท
ยุทธศาสตรบทที่ 4 ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสงคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน ซึ่งกําหนดแนว
                                                    ั
ทางการพัฒนา ขอที่ 4 การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต สรางโอกาสการเรียนรูอยางตอเนื่องใหคนทุกกลุม
ทุกวัยสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูและองคความรูที่หลากหลาย ทั้งที่เปนวัฒนธรรม ภูมิปญญา และองค
                                                  
ความรูใหม โดยเนน สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรูและปจจัยสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต เปน
                                                          
การ พัฒนาองคความรูของทองถิ่นทังจากผูรู ปราชญชาวบาน และจัดใหมีการวิจัยเชิงประจักษของชุมชน
                                   ้       
การจัดการองคความรูในชุมชนอยางเปนระบบ ควบคูกบการพัฒนาทักษะดานภาษาและเทคโนโลยีเพื่อ
                                                      ั
การศึกษาใหเอื้อตอการเขาถึงแหลงเรียนรูทหลากหลาย ตลอดจนเนื้อหาสาระทีเ่ หมาะสมกับการพัฒนาการ
                                             ี่
เรียนรูดวยตนเอง
4


                       แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556
ไดพัฒนาขึ้น เพื่อมุงเนนแกไขจุดออนที่สําคัญของการพัฒนา ICT ของประเทศไทย โดยกําหนดวิสัยทัศน ไว
วา “ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT” โดย “สังคมอุดมปญญา” ในที่นี้
หมายถึง สังคมที่มการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติ
                     ี
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรูสารสนเทศ        
(Information Literacy) สามารถเขาถึงและใชสารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและ
รูเทาทัน กอใหเกิดประโยชนแกตนเองและสังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
ที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูเ ศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและ
นวัตกรรมอยางยั่งยืน
                       ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีมีตอการจัดการศึกษา ทําใหทก
                                                                         ่                          ุ
ภาคสวนไดตระหนักเปนวาระสําคัญ ดังใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ไดระบุหมวดที่เกี่ยวของกับการจัด
การศึกษาและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว คือ หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา เพื่อใหผูเรียนทุกคนสามารถ
เรียนรูและพัฒนาตนเองได โดยการจัดกระบวนการเรียนรู และการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูป
แบบอยางพอเพียง และมีประสิทธิภาพ และหมวดที่ 9 การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพือการ         ่
สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต การจัดการศึกษามีคุณภาพ มาตรา 65 ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต 
และผูใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทังการใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา 66 ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีด
ความสามารถใน การใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อใหมีความรู และทักษะเพียง
พอที่จะใชเทคโนโลยีเพือการศึกษาในการแสวงหาความรู ดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิตมาตรา 67
                          ่
รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนาการผลิต และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทังการติดตาม้
ตรวจสอบ และประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับ
กระบวนการเรียนรูของคนไทย
                       แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559) กลาวถึงผลการพัฒนา
การศึกษาทีผานมาวา “ในดานเทคโนโลยีเพือการศึกษา พบวา มีปญหาการดําเนินงาน เนืองมาจากการขาด
              ่                               ่                                        ่
การพัฒนาเนื้อหาผานสื่อทีมีคุณภาพ รวมทั้งการเรียนการสอน และการพัฒนาผูสอน ครูและนักเรียนนํา
                              ่
ความรูดานเทคโนโลยีเพือการศึกษาไปใชในกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรูดวยตนเองนอย” จึง
                            ่
ไดกําหนดวัตถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติไวขอหนึ่งคือ “เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม
ภูมิปญญาและการเรียนรู โดยมุงพัฒนาคนไทยเพื่อพัฒนาสังคมไทยเปนสังคมแหงคุณธรรม ภูมิปญหาและ
                                 
การเรียนรู มีการสรางองคความรู นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทรัพยสินทางปญหาเพือการเรียนรู นําไปสู
                                                                                ่
สังคมแหงการเรียนรูอยางยั่งยืน มีสุขภาวะ ประชาชนอยูรวมกันอยางสันติสุขและเอืออาทร”
                                                                                  ้
5


                        สํานักงานรับรองรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)
(สมศ.) ซึ่งเปนองคกรที่มหนาที่ในการรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ได
                            ี
กําหนด ตัวบงชี้ ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) สําหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ในตัวบงชี้ที่ 3.1 ผูเรียนคนควาหาความรูจากการอานและใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบงชี้ที่ 6.2
กระบวนการจัดการเรียนรูของครู ไดกําหนดประเด็นครูสามารถจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ
โดยเนนผูเ รียนเปนสําคัญ โดยใหมการประเมินการจัดเตรียมและใชสื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิ
                                     ี
ปญญาทองถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกตในการจัดการเรียนการสอน ของครูทุกคน
                        หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงใหผเู รียนเกิด
สมรรถนะ สําคัญ 5 ประการ โดยมีสมรรถนะที่เกี่ยวกับการใชเทคโนโลยี 1 สมรรถนะ คือ ความสามารถใน
การใชเทคโนโลยี เปนความสามารถ ในการเลือก และใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทาง
เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสือสารการทํางาน การแกปญหาอยาง
                                                                   ่
สรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม
                        ทิศนา แขมมณี (2550) กลาววา การสรางองคความรูดวยตนเอง (Constructivism)
เปนทฤษฏีที่ใหความสําคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสรางความรูความเขาใจจาก
ประสบการณ รวมทั้งโครงสรางทางปญญาและความเชื่อที่ใชในการแปลความหมายเหตุการณและสิ่ง
ตางๆ เปนกระบวนการทีผูเรียนจะตองจัดกระทํากับขอมูล นอกจากกระบวนการเรียนรูจะเปน
                              ่                                                           
กระบวนการปฏิสัมพันธภายในสมองแลว ยังเปนกระบวนการทางสังคมดวย การสรางความรูจงเปน           ึ
กระบวนการทังดานสติปญญาและสังคมควบคูกันไป หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จะมุงเนน
                ้                                                                                  
ไปที่กระบวนการสรางความรู (process of knowledge construction) เปาหมายของการสอนจะเปลี่ยน
จากการถายทอดใหผูเรียนไดรับสาระความรูที่แนนอนตายตัว ไปสูการสาธิตกระบวนการแปลและสราง
ความหมายที่หลากหลาย ผูเรียนจะตองเปนผูจัดกระทํากับขอมูลหรือประสบการณตางๆ และจะตองสราง
                                                 
ความหมายใหกบสิงนั้นดวยตนเอง โดยการใหผเู รียนอยูในบริบทจริง ในการจัดการเรียนการสอนครู
                  ั ่
จะตองพยายามสรางบรรยากาศทางสังคมจริยธรรมใหเกิดขึน ผูเรียนไดมีบทบาทในการเรียนรูอยางเต็มที่
                                                            ้
โดยผูเรียนจะนําตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู บทบาทของครูจะเปนผูใหความรวมมือ อํานวย
ความสะดวกและชวยเหลือผูเรียนในการเรียนรู
                        ปจจุบันอินเทอรเน็ตเขามามีบทบาทสําคัญในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศการใช
อินเทอรเน็ตจะชวยใหวิถีชีวิตของคนปจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ เพราะอินเทอรเน็ตจะเสนอขอมูล
ขาวสารที่ทันสมัยอีกทั้งเปนแหลงสารสนเทศ สําหรับทุกวงการที่สามารถคนหาสิ่งที่ตองการไดโดยไมตอง
เสียเวลาเดินทาง ทั้งนี้ บริษัท ศูนยวิจัยนวัตกรรมอินเทอรเน็ตไทย จํากัด ซึ่งเปนผูใหบริการตรวจสอบและ
ประมวลผลสถิติการเยี่ยมชมเว็บไซตประเทศไทย (Truehits.net ทรูฮิต) โดย ดร. ปยะ ตัณฑวิเชียร
ประธานเจาหนาที่ฝายเทคนิค บริษัทศูนยวิจัยนวัตกรรมอินเทอรเน็ตไทย จํากัด ไดนําเสนอ รายงาน
ผลงานวิจัยสถิติภาพรวมการใชอินเทอรเน็ตของประเทศไทย ประจําป 2011 และพฤติกรรมการใชงาน
6


อินเทอรเน็ต ภาพรวมและแนวโนมในการใชอินเทอรเน็ต ไวดังนี้ กลุมผูที่ใชอินเทอรเน็ตมากที่สุดคือ
นักเรียน-นักศึกษา และชวงกลุมอายุระหวาง 12 – 17 ป คิดเปน 34.20% ปริมาณการใช Search Engine
ในเดือนมกราคม 2555 มีจํานวน 19.2 ลานครั้งตอวัน และขอมูลที่นาสนใจอีกอยางก็คือ การเขาชม
อินเทอรเน็ตผานอุปกรณโทรศัพทมือถือ ซึ่งสอดคลองกับ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร
แหงชาติ (NECTEC) ไดสํารวจผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศไทยชวงป 2553 พบวา มีกิจกรรมที่ทําบน
อินเทอรเน็ตมากทีสุดคือ e-mail คิดเปน 27.2% คนหาขอมูล คิดเปน 26.1% ติดตามขาวสาร คิดเปน
                     ่
14.1% และ E-learning คิดเปน 8.2% โดยคนไทยเริมนิยมการใชแอพพลิเคชั่นบนมือถือเพื่อการ
                                                           ่
ติดตอสื่อสารเพิ่มมากขึ้น เนืองจาก มีใหในอุปกรณ คิดเปน 31.3% ประสิทธิภาพการใชงาน คิดเปน 21.4%
                                ่
สะดวกและความบันเทิง คิดเปน 15.2% จําเปนตอการทํางาน/ชีวิตประจําวัน คิดเปน 14.1% หาซื้อ/ดาวน
โหลดงาย คิดเปน 8.5%
                          ดวยเหตุนี้เครือขายอินเทอรเน็ตจึงเปนแหลงรวบรวมขอมูลสารสนเทศจากทั่ว โลกเขา
ดวยกันเสมือนดั่งขุมทรัพยขอมูลขาวสารที่คนสวนใหญใหความสนใจ อยางไรก็ตามประโยชนของเครือขาย
อินเทอรเน็ตไมไดจํากัดเฉพาะในวงธุรกิจ เทานั้น ในวงการศึกษาเครือขายอินเทอรเน็ตสามารถนํามาใชให
เกิดประโยชนกบการศึกษา ไดหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนการใชเพื่อการติดตอสือสาร อภิปราย ถกเถียง
                   ั                                                                ่
แลกเปลี่ยน และสอบถามขอมูลขาวสารความคิดเห็นทังกับผูสนใจศึกษาในสื่อเรื่องเดียวกัน หรือกับ
                                                             ้
ผูเชี่ยวชาญในสาขาตางๆ จะเห็นไดวาอินเทอรเน็ตไดกลายเปนสื่อการศึกษาของโลกยุคใหม ชวยเปดโลก
กวางใหแกผเู รียนและเปนแหลงรวบรวมขุมทรัพยทางปญญาอยาง มากมายมหาศาล ในลักษณะที่สื่อ
ประเภทอื่นไมสามารถกระทําได ผูเรียนจะมีความสะดวกตอการคนหาขอมูลไมวาจะอยูสถานที่ใดก็สามารถ
เขาไปใชเครือขายไดอยางเทาเทียมกัน ไมวาจะเปนการศึกษาในลักษณะที่เรียนรวมกันหรือเรียนตางหองกัน
หรือแม กระทังตางสถาบันกัน ก็สามารถแลกเปลี่ยนความรูอยางตอเนื่องไดตลอดเวลาทังระหวางครูกบ
                 ่                                                                      ้            ั
นักเรียนและระหวางผูเรียนเอง เครือขายคอมพิวเตอรจะเปนตัวเชื่อมใหผเู รียนเขาถึงผูใหคําปรึกษาหรือ
ผูเชี่ยวชาญไดโดยตรง อีกทั้งยังเอื้อใหเกิดการปฏิสัมพันธระหวางผูเ รียนและผูสอนทั้งเวลาจริง หรือตางเวลา
                                                                               
กัน ทําใหเกิดสภาวะแวดลอมที่ตองมีการประสานงานกัน (Collaborative environment) ผูเรียนสามารถ
ควบคุมจังหวะการเรียนไดดวยตนเองทําใหเกิดสิงแวดลอม ยืดหยุนแกผเู รียน การจัดการศึกษาคงไมใชเปน
                                                     ่
การกําหนดจากครูผสอนที่ใชตําราแตเพียงอยางเดียวเทานั้น บทบาทของครูผสอนจะเปลี่ยนจากการสอน
                       ู                                                        ู
แบบเดิมๆ ที่เปนเพียงผูใหความรูทางเดียว มาเปนการชี้นํา (Guide) เปลี่ยนจากการเรียนแบบนั่งเฉยๆ
                                       
(Passive) มาเปนการเรียนรูที่ใชปฏิสัมพันธโตตอบ (Active) และมีการใชเทคโนโลยีประกอบการเรียนรู
และสูกระบวนการสรางองคความรูได
        
                          คลังความรูบนเว็บ (Knowledge Web Base) คือ มีการเก็บความรูตางๆ บน
เว็บไซต และนําขอมูลเหลานั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรูหรือประยุกตใชตอไปได
7


                      ประเภทของ Knowledge
                            1. Explicit Knowledge เปนความรูที่สามารถบันทึกได ในรูปแบบทีเ่ ปนเอกสาร
                                                               
หรือ วิชาการ อยูในตํารา คูมือปฏิบัติงาน สามารถถายทอดไดงาย และ เรียนรูไดงาย สามารถถายทอดใน
ลักษณะของ One To Many ไดซึ่งสะดวกใชในการบริหารงานระดับลาง
                            2. Tacit Knowledge เปนความรูที่ไมสามารถสามารถบันทึกไดหรือบันทึกไดไม
                                                             
หมด เชน ประสบการณ, สัญชาตญาณ, ความชํานาญ เกิดจากการสั่งสมมาเปนระยะเวลานาน จําเปนตองมี
การปฏิสมพันธที่ดหรือใกลชิดเกิดขึ้นในการถายทอด ในลักษณะของ One To One เชน การ Coaching
           ั        ี
ขอเสีย คือ ความรูจะอยูกับคนๆ เดียว จะทําใหเมื่อเสียทรัพยากรบุคคลไป ก็เสียความรูที่คนๆ นั้นมีไปดวย
                      สังคมออนไลน (Social Media) ผศ. ดร. กานดา รุณนะพงศา สายแกว อาจารย
ประจําภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดกลาวเกี่ยวกับ Social Media ไวดังนี้
                      มีเดีย (“Media”) หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใชเพื่อการสือสาร
                                                                                   ่
                      โซเชียล (“Social”) หมายถึง สังคม
                      ในบริบทของสังคมออนไลน (Social Media) Social หมายถึง การแบงปนใน
สังคม ซึ่งอาจจะเปนการแบงปนเนื้อหา (ไฟล, รสนิยม ความเห็น…) หรือปฏิสมพันธในสังคม (การรวมกัน
                                                                                 ั
เปนกลุม…) สังคมออนไลน ในที่นี้ หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทําใหผูใชแสดงความเปนตัวตนของตนเอง
เพื่อทีจะมีปฏิสัมพันธกับหรือแบงปนขอมูลกับบุคคลอื่น สังคมออนไลน สวนใหญจะเปนเว็บแอปพลิเคชัน
         ่
2.0 ซึ่งจะมีการปฏิสัมพันธระหวางผูใหและผูรบขอมูล ยกตัวอยางเชน ทีวีและหนังสือพิมพทเี่ ปนกระดาษ
                                               ั
เปนสื่อ แตเปนสื่อของการสื่อสารทางเดียว ผูรบขอมูลไมสามารถตอบกลับผูใหขอมูลทันทีทันใดได แตสังคม
                                                 ั
ออนไลน จะเปนสื่อทีมีการสื่อสาร 2 ทาง กลาวคือผูรบขอมูลสามารถแสดงความคิดเห็นหรือตอบผูใหขอมูล
                       ่                              ั
ได การใหขอคิดเห็นในบันทึกในบล็อกหรือในวิดีโอ การพูดคุยผานโปรแกรมสนทนาออนไลนหรือเว็บบอรด
การใหขอคิดเห็นและบันทึกวาชอบ
                      กลาวโดยสรุป Social Media หมายถึง สังคมออนไลนทมีผูใชเปนผูสื่อสาร หรือเขียน
                                                                              ี่       
เลา เนื้อหา เรืองราว ประสบการณ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผูใชเขียนขึ้นเอง ทําขึ้นเอง หรือพบเจอ
                ่
จากสืออื่นๆ แลวนํามาแบงปนใหกบผูอื่นที่อยูในเครือขายของตน ผานทางเว็บไซต Social Network ที่
       ่                            ั
ใหบริการบนโลกออนไลน ปจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะทําผานทาง Internet
                      วิดีโอคลิป (Video Clip) หรือ คลิปวิดีโอ (Clip Video) คือ ไฟลคอมพิวเตอรทบรรจุ
                                                                                                   ี่
เนื้อหาเปนภาพยนตรสั้น มักจะตัดตอนมาจากภาพยนตรทั้งเรื่องซึ่งมีขนาดความยาวปกติ คลิปมักจะเปน
สวนที่สําคัญ หรือตองการนํามาแสดง มีความขบขัน หรืออาจเปนเรืองความลับที่ตองการนํามาเผยแพร
                                                                    ่
จากตนฉบับเดิม แหลงของวิดีโอคลิป ไดแก ขาว ขาวกีฬา มิวสิกวิดีโอ รายการโทรทัศน หรือภาพยนตร
ปจจุบันมีการใชวิดีโอคลิปแพรหลาย เนืองจากไฟลคลิปนี้มีขนาดเล็ก สามารถสงผานอีเมล หรือดาวนโหลด
                                         ่
จากเว็บไซตไดสะดวก ในประเทศตะวันตก เรียกการแพรหลายของวิดีโอคลิปนี้วา วัฒนธรรมคลิป (Clip
8


Culture) คําคํานี้ มีความหมายกวางๆ หมายถึง ภาพยนตรสั้นแบบไหนก็ได ที่มีความยาวนอยกวารายการ
โทรทัศนตามปกติ (โดยมากไมเกิน 5-10 นาที และที่พบบอยที่สุดคือประมาณ 1 นาที)
                       จังหวัดแพร เปนเมืองเกาเมืองหนึ่งในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ประวัติการ
สรางเมืองไมมจารึกในที่ใดที่หนึง โดยเฉพาะการศึกษาเรื่องราวของเมืองแพร จึงตองอาศัยหลักฐานของ
               ี                  ่
เมืองอื่น เชน พงศาวดารโยนก ตํานานเมืองเหนือ ตํานานการสรางพระธาตุลําปางหลวง และศิลาจารึกพอ
ขุนรามคําแหงมหาราช เปนตน มีตราประจําจังหวัดเปนรูปมายืน และมีโบราณสถานทีสําคัญของจังหวัด   ่
แพร คือ พระธาตุชอแฮ ประกอบอยูบนหลังมา มีตนไมประจําจังหวัด คือ ตนยมหิน มีคําขวัญประจํา
จังหวัด วา หมอหอม ไมสก ถิ่นรักพระลอ ชอแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพระเมืองผี คนแพรนี้ใจงาม
                               ั
                       ภูมิปญญาทองถิ่น หรือ ภูมิปญญาชาวบาน (Local wisdom หรือ popular
wisdom) หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งไดมาจากประสบการณ และความเฉลียวฉลาดของ
ชาวบาน รวมทั้งความรูทสั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูคนอีกรุนหนึง ระหวางการสืบ
                            ี่                                                            ่
ทอดมีการปรับ ประยุกตและเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเปนความรูใหมตามสภาพการณทางสังคมวัฒนธรรม
และสิงแวดลอม ภูมิปญญาเปนความรูที่ประกอบไปดวยคุณธรรม ซึ่งสอดคลองกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของ
      ่                                 
ชาวบานในวิถีดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบานไมไดแบงแยกเปนสวนๆ หากแตทุกอยางมีความสัมพันธกัน การ
ทํามาหากิน การอยูรวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรูเปนคุณธรรม เมื่อผูคน
ใชความรูนั้นเพื่อสรางความสัมพันธที่ดระหวาง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ
                                          ี
ความสัมพันธที่ดีเปนความสัมพันธที่มีความสมดุล ทีเ่ คารพกันและกัน ไมทํารายทําลายกัน ทําใหทุกฝายทุก
สวนอยูรวมกันไดอยางสันติ ชุมชนดั้งเดิมจึงมีกฎเกณฑของการอยูรวมกัน มีคนเฒาคนแกเปนผูนํา คอยให
คําแนะนําตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบานเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้ํา ปา เขา
ขาว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบานเคารพผูหลักผูใหญ พอแม ปูยาตายาย ทั้งที่มีชีวิตอยูและ
                                                            
ลวงลับไปแลว
                       ปจจุบัน ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดแพร มีผูศึกษาและรวบรวมไวนอยมาก ทําให
                                     
บุคคลทั่วไป หรือแมแตชาวจังหวัดแพรเอง ยังไมสามารถรับรูถึงเรื่องราวตางๆ เหลานี้ได บางเรืองอาจเปน
                                                                                                ่
ความรูจากรุนสูรุน ยกตัวอยาง เชน ภาษาของชาวไทยพวนบานทุงโฮง ภาษาชาวเชียงแสนบานพระหลวง
                  
การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนิเจอรไมสัก ผลิตภัณฑจากสาหรายน้ําจืด “เตา” เรืองราวของเตาปูลู
                                                                                            ่
การตีเหล็ก การทอผาตีนจก ลูกประคบสมุนไพร ฯลฯ ตางอําเภอ ตางหมูบาน ก็มีภูมิปญญาที่ตางกัน ซึ่งก็
                                                                                    
คงรักษาไวไดไมเทากัน หรือจะเปนเรื่องราวที่เปนการคิดคนใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน
ศูนยเศรษฐกิจพอเพียงของลุงมนูญ วงคอารินทร ที่ไมมีตําราไหนเขียนบอกไว หากแมผรู มีทาญาติสืบทอด
                                                                                       ู
หากไมไดมีการบันทึก เรื่องราวอาจจะถูกลดทอนลงไป ตามกาลเวลา แตไมไดถายทอดใหผูใด หรือ ไมมี
ลูกหลานมาสืบทอดแลว ความรู หรือภูมิปญญานั้น ก็คงจะสูญหายไปดวย ทําใหเยาวชนรุนหลังยังขาด
                                            
ความรูสึกรักและตระหนักถึงคุณคาของภูมปญญาทองถิ่น ขนบธรรมเนียมประเพณีทมีมาแตยาวนาน
                                              ิ                                  ี่
9


                    ดังนั้น ผูวิจัยจึงเห็นคุณคาและตระหนักถึงความสําคัญของบรรพบุรุษของชาวจังหวัดแพรที่
ไดสรางไวใหลูกหลานมาหลายชั่วอายุคน ที่ไมอยากใหสูญหายและใหเยาวชนรุนหลังไดมีจิตอนุรักษและหวง
แหนภูมิปญญาที่บรรพบุรุษไดสรางไว จึงไดรวบรวมขอมูลโดยการใชรูปแบบการสอนการสรางวิดีโอคลิป
ใหกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในจังหวัดแพร ซึ่งสอดคลองกับกระทรวงศึกษาธิการในการสนับสนุนและ
สงเสริมใหนกเรียนรูจักใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคและผลิตผลงานโดยทักษะที่เกิดจากการเรียนใหเกิดการ
             ั         
เรียนรูอยางตอเนื่องใหมากที่สุด โดยใหผลิตคลิปวิดีโอของตนเองตามเรืองที่ตนเองสนใจ หรือเปนเรื่องราว
                                                                        ่
ในหมูบานของตนเอง ในประเด็นของภูมปญญาทองถิ่น แลวทําการอัพโหลดผานเว็บไซต Youtube.com
                                              ิ
เพื่อนํา Link มารวบรวม และพัฒนาเปนคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสรางองคความรูภูมิ
                                                       
ปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ที่สามารถเผยแพรออกไป ใหเยาวชนรุนหลังไดศึกษา สรางความภาคภูมิใจ และ
มีจิตสํานึกรักและหวงแหนทองถิ่นของตนเองมากขึ้น

              6. วัตถุประสงคของโครงการวิจัย
                    เพื่อพัฒนาคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสรางองคความรูภูมิปญญาทองถิ่น
จังหวัดแพร

           7. ขอบเขตของโครงการวิจัย
                กลุมเปาหมาย
                1. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในสังกัดจังหวัดแพร จํานวน 15 โรงเรียน
                2. ครู-อาจารย ผูนําชุมชน ประชาชน และ หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ เชน สํานักงาน
วัฒนธรรมจังหวัด

               8. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถามี) และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย
                           แนวคิดที่นํามาใชในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อพัฒนาองคความรูดวยตนเองของนักเรียน
เนื่องจาก ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดแพร มีผูศึกษาและรวบรวมไวนอยมาก ทําใหบุคคลทั่วไป หรือแมแต
ชาวจังหวัดแพรเอง ยังไมสามารถรับรูถึงเรื่องราวตางๆ เหลานี้ได บางเรื่องอาจเปนความรูจากรุนสูรุน หรือ
                                                                                                  
จะเปนเรื่องราวที่เปนการคิดคนใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ไมมีตําราไหนเขียนบอกไว หากแม
ผูรู มีทาญาติสบทอด หากไมไดมีการบันทึก เรื่องราวอาจจะถูกลดทอนลงไป ตามกาลเวลา หากแตไมได
                ื
ถายทอดใหผูใด หรือ ไมมลูกหลานมาสืบทอดแลว ความรู หรือภูมิปญญานั้น ก็คงจะสูญหายไปดวย ทําให
                         ี                                            
เยาวชนรุนหลังยังขาดความรูสึกรักและตระหนักถึงคุณคาของภูมิปญญาทองถิ่น ขนบธรรมเนียมประเพณีที่
                             
มีมาแตยาวนาน ผูวิจัยจึงมีแนวคิด จะพัฒนานักเรียนใหเรียนรูการสรางคลิปวิดีโอเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่น
                                                                                             
ตามภูมิลําเนาของตัวนักเรียนเองในจังหวัดแพร แลวทําการอัพโหลดผานเว็บไซต Youtube.com เพื่อรวม
รวบ Link นํามาเปนคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพือสรางองคความรูภูมปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร
                                                            ่                    ิ
10


เพื่อรวบรวมเปนเรื่องราวของจังหวัดแพรและเปนการเผยแพรตอสาธารณชนตอไป

กรอบแนวคิด

- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ                                     - การสรางองคความรูดวยตนเอง
   ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559                                       (Constructivism)
- การรวมตัวของประเทศสมาชิกในอาเซียน 10 ประเทศ                          - คลังความรูบนเว็บ
- แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                               (Knowledge Web Base)
   เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556                                        - สังคมออนไลน (Social Media)
- พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542                               - วิดีโอคลิป (Video Clip)
- แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559)
- สํานักงานรับรองรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
  (องคการมหาชน) (สมศ.)




                                                      - ภูมิปญญาทองถิ่น (Local Wisdom) ยกตัวอยางเชน ภาษา
                                                      ของชาวไทยพวนบานทุงโฮง ภาษาชาวเชียงแสนบานพระหลวง
                                                      การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนิเจอรไมสัก ผลิตภัณฑจาก
                                                      สาหรายน้ําจืด “เตา” เรื่องราวของเตาปูลู การตีเหล็ก การทอ
 คลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสราง          ผาตีนจก ลูกประคบสมุนไพร หรือ เรื่องราวที่เปนการคิดคน
องคความรูภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร               ใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน ศูนยเศรษฐกิจ




            9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวของ
                    คลังความรูบนเว็บ (Knowledge Web Base)
                    เปนการ การเก็บความรูตางๆ บนเว็บไซต และนําขอมูลเหลานั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู
หรือประยุกตใชตอไปได สามารถแบงประเภทของ Knowledge ได 2 ประเภท คือ
                    1. Explicit Knowledge เปนความรูที่สามารถบันทึกได ในรูปแบบทีเ่ ปนเอกสาร หรือ
                                                       
วิชาการ อยูในตํารา คูมือปฏิบัติงาน สามารถถายทอดไดงาย และ เรียนรูไดงาย สามารถถายทอดใน
ลักษณะของ One To Many ไดซึ่งสะดวกใชในการบริหารงานระดับลาง
                    2. Tacit Knowledge เปนความรูที่ไมสามารถสามารถบันทึกไดหรือบันทึกไดไมหมด
                                                   
เชน ประสบการณ, สัญชาตญาณ, ความชํานาญ เกิดจากการสังสมมาเปนระยะเวลานาน จําเปนตองมีการ
                                                           ่
11


ปฏิสัมพันธที่ดหรือใกลชิดเกิดขึ้นในการถายทอด ในลักษณะของ One To One เชน การ Coaching
                   ี
ขอเสีย คือ ความรูจะอยูกับคนๆ เดียว จะทําใหเมื่อเสียทรัพยากรบุคคลไป ก็เสียความรูที่คนๆ นั้นมีไปดวย
                        สังคมออนไลน (Social Media)
                        ผศ. ดร. กานดา รุณนะพงศา สายแกว อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร
มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดกลาวเกี่ยวกับ Social Media ไวดังนี้
                        มีเดีย (“Media”) หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใชเพื่อการสือสาร
                                                                                     ่
                        โซเชียล (“Social”) หมายถึง สังคม
                        ในบริบทของสังคมออนไลน (Social Media) Social หมายถึง การแบงปนใน
สังคม ซึ่งอาจจะเปนการแบงปนเนื้อหา (ไฟล, รสนิยม ความเห็น…) หรือปฏิสมพันธในสังคม (การรวมกับ
                                                                                   ั
เปนกลุม…) สังคมออนไลน ในที่นี้ หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทําใหผูใชแสดงความเปนตัวตนของตนเอง
เพื่อทีจะมีปฏิสัมพันธกับหรือแบงปนขอมูลกับบุคคลอื่น สังคมออนไลน สวนใหญจะเปนเว็บแอปพลิเคชัน
          ่
2.0 ซึ่งจะมีการปฏิสัมพันธระหวางผูใหและผูรบขอมูล ยกตัวอยางเชน ทีวีและหนังสือพิมพทเี่ ปนกระดาษ
                                                ั
เปนสื่อ แตเปนสื่อของการสื่อสารทางเดียว ผูรบขอมูลไมสามารถตอบกลับผูใหขอมูลทันทีทันใดได แตสังคม
                                                  ั
ออนไลน จะเปนสื่อทีมีการสื่อสาร 2 ทาง กลาวคือผูรบขอมูลสามารถแสดงความคิดเห็นหรือตอบผูใหขอมูล
                         ่                             ั
ได การใหขอคิดเห็นในบันทึกในบล็อกหรือในวิดีโอ การพูดคุยผานโปรแกรมสนทนาออนไลนหรือเว็บบอรด
การใหขอคิดเห็นและบันทึกวาชอบ
                        กลาวโดยสรุป Social Media หมายถึง สังคมออนไลนทมีผูใชเปนผูสื่อสาร หรือเขียน
                                                                                ี่      
เลา เนื้อหา เรืองราว ประสบการณ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผูใชเขียนขึ้นเอง ทําขึ้นเอง หรือพบเจอ
                 ่
จากสืออื่นๆ แลวนํามาแบงปนใหกบผูอื่นที่อยูในเครือขายของตน ผานทางเว็บไซต Social Network ที่
        ่                           ั
ใหบริการบนโลกออนไลน ปจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะทําผานทาง Internet
                        ภูมิปญญาทองถิ่น
                        ภูมิปญญาทองถิ่น หรือ ภูมิปญญาชาวบาน (Local wisdom หรือ popular wisdom)
หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งไดมาจากประสบการณ และความเฉลียวฉลาดของชาวบาน
รวมทั้งความรูทสั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึงไปสูคนอีกรุนหนึ่ง ระหวางการสืบทอดมีการ
                     ี่                                       ่
ปรับ ประยุกตและเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเปนความรูใหมตามสภาพการณทางสังคมวัฒนธรรม และ
สิ่งแวดลอม ภูมิปญญาเปนความรูทประกอบไปดวยคุณธรรม ซึ่งสอดคลองกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวบานใน
                                      ี่
วิถีดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบานไมไดแบงแยกเปนสวนๆ หากแตทุกอยางมีความสัมพันธกัน การทํามาหากิน
การอยูรวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรูเปนคุณธรรม เมื่อผูคนใชความรูนั้น
เพื่อสรางความสัมพันธที่ดระหวาง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิงเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธที่
                              ี                                               ่
ดีเปนความสัมพันธที่มีความสมดุล ทีเ่ คารพกันและกัน ไมทารายทําลายกัน ทําใหทุกฝายทุกสวนอยูรวมกัน
                                                           ํ                                      
ไดอยางสันติ ชุมชนดั้งเดิมจึงมีกฎเกณฑของการอยูรวมกัน มีคนเฒาคนแกเปนผูนํา คอยใหคําแนะนํา
12


ตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบานเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้ํา ปา เขา ขาว แดด
ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบานเคารพผูหลักผูใหญ พอแม ปูยาตายาย ทั้งที่มีชีวิตอยูและลวงลับไปแลว
                      จังหวัดแพร เปนเมืองเกาเมืองหนึ่งในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ประวัติการ
สรางเมืองไมมจารึกในที่ใดที่หนึง โดยเฉพาะการศึกษาเรื่องราวของเมืองแพร จึงตองอาศัยหลักฐานของ
                ี                ่
เมืองอื่น เชน พงศาวดารโยนก ตํานานเมืองเหนือ ตํานานการสรางพระธาตุลําปางหลวง และศิลาจารึกพอ
ขุนรามคําแหงมหาราช เปนตน มีตราประจําจังหวัดเปนรูปมายืน และมีโบราณสถานทีสําคัญของจังหวัด
                                                                                       ่
แพร คือ พระธาตุชอแฮ ประกอบอยูบนหลังมา มีตนไมประจําจังหวัด คือ ตนยมหิน มีคําขวัญประจํา
จังหวัด วา หมอหอม ไมสก ถิ่นรักพระลอ ชอแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพระเมืองผี คนแพรนี้ใจงาม
                            ั
                      ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดแพร สืบเนื่องมาจากประเภทณีทองถิ่นทีสืบทอดกันมันแต
                                                                                         ่
โบราณ ไดแก งานเทศกาลลอยกระทง เผาเทียนเลนไฟเพนียงเวียงโกศัย จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12
บริเวณทาน้ําศรีชุม ภายในงานมีการลอมวงกินขันโตก โดยผูรวมงานจะแตงกายดวยชุดมอฮอมซึ่งเปนชุด
                                                           
พื้นเมือง งานไหวพระธาตุชอแฮ เมืองแพรแหตุงหลวง จัดขึ้นระหวางวันขึ้น 11-15 ค่ํา เดือน 4 โดยมีการจัด
ขบวนแหแบบลานนา ใหผรวมขบวนทุกคนแตงกายแบบพื้นเมืองแหผาขึ้นไปหมองคพระธาตุ มีการทําบุญ
                              ู
ตักบาตร และจะเวียนเทียนรอบองคพระธาตุ และพระวิหารในเวลากลางคืน งานแอวสงกรานตน้ําใจเมือง
แป นุงหมอหอมแตงามตา จัดงานขึ้นบริเวณศูนยหัตถกรรมเวียงโกศัย ในชวงสงกรานตระหวาง วันที่ 13-17
เมษายน ในเวลากลางวันจะเลนสงกรานตสนุกสนาน สวน ในเวลาค่ําจะแตงกายดวยชุด หมอหอม ลอมวง
กินขันโตก งานกิ๋นสลาก คลายประเพณีถวายสลากภัตของภาคกลาง มีการจัดเครื่องไทยทาน เขียนสลากชื่อ
ของตนติดไว แลวนําไปรวมกันที่หนาพระ ประธาน พระสงฆจะจับสลากขึ้นมาใหมรรคทายกประกาศ
เจาของ สลากก็จะนําเครื่องไทยทานของตนไปถวายแดพระสงฆ หรือยังมีความรูจากปราชญชาวบานที่
นํามาเปนภูมปญญาทองถิ่น เปนความรูจากรุนสูรุน ยกตัวอยาง เชน ภาษาของชาวไทยพวนบานทุงโฮง
              ิ                         
ภาษาชาวเชียงแสนบานพระหลวง การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนเิ จอรไมสัก ผลิตภัณฑจากสาหราย
น้ําจืด “เตา” เรื่องราวของเตาปูลู การตีเหล็ก การทอผาตีนจก ลูกประคบสมุนไพร ฯลฯ เปนเรื่องราวที่เปน
การคิดคนใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน ศูนยเศรษฐกิจพอเพียงของลุงมนูญ วงคอารินทร
สมควรจะไดรับการถายทอดและเผยแพรใหเปนทีรูจกตอไป
                                                 ่ ั

           10. เอกสารอางอิงของโครงการวิจัย
                กานดา รุณนะพงศา สายแกว (2553). สังคมออนไลน (Social Media). สืบคนเมื่อ
                       30 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.slideshare.net/krunapon/
                       social-media-5661152.
                กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
                       2551.
13


    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศละการสื่อสาร. (2552). แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ
            และการสื่อสาร ฉบับที่ 2. สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก
            http://www.mict.go.th/ewt_news.php?nid=74/.
    สํานักงานจังหวัดแพร. (ม.ป.ป). ประวัติจงหวัดแพร. สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555,
                                           ั
            จาก http://www.phrae.go.th/file_data/sum2555.pdf.
    ทิศนา แขมมณี. (2550). การสอนจิตวิทยาการเรียนรู เรื่องศาสตรการสอนองคความรู
            เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:
                                             ี
            สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
    ปยะ ตัณฑวิเชียร. (2554). สถิติที่นาสนใจและผลสํารวจพฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ต
            ในประเทศไทย ป 2011. สืบคนเมือ 30 กรกฎาคม 2555, จาก
                                               ่
            http://www.it24hrs.com/2012/thailand-internet-user-2011/.
    ศูนยการเรียนรูทองถิ่นโรงเรียนโพธิราษฎบํารุง. (ม.ป.ป). ภูมิปญญาชาวบานและทองถิ่น.
                                      ์
            สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก
            http://school.obec.go.th/prbr/wisdom/mean.htm.
    สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2554). แผนพัฒนา
            เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔–๒๕๕๙)
            สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก
            http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/plan11.pdf.
    สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). แผนการศึกษา
            แหงชาติ ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2552-2559 ฉบับสรุป. สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม
            2555, จาก http://www.onec.go.th/cms/admin/admin_book/Content/
            uploaded/url/1027-file.pdf.
    ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ. (2553). การสํารวจกลุมผูใช
            อินเทอรเน็ตในประเทศไทยประจําป 2553. สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555,
            จาก http://www.nstda.or.th/prs/index.php/53-4 Wednesday,
            18 January 2012 21:37.

11. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ เชน การเผยแพรในวารสาร จดสิทธิบัตร ฯลฯ และ
    หนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน
       11.1 นักเรียนโรงเรียนมัธยมในจังหวัดแพร ไดรจักภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดของ
                                                    ู     
                ตนเองและเรียนรูการเก็บขอมูลผานทางการสรางวิดีโอคลิป
                                
14


                   11.2     เปนการสงเสริมและอนุรักษภูมปญญาทองถิ่น และเผยแพรผานทางสังคม
                                                         ิ
                            ออนไลนใหเปนทีรจักของคนทั่วไป
                                            ่ ู
                   11.3     ประชาสัมพันธภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ผานเว็บไซต
                                                 
                            http://www.phraewisdom.com
                   11.4     การเผยแพรบทความวิจัยผานทางวารสารวิชาการตางๆ

           12. แผนการถายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสูกลุมเปาหมาย
                 12.1 จัดประชุมสัมมนา ตัวแทนจังหวัด ผูนําชุมชน ตัวแทนครูโรงเรียนมัธยม ที่
                         เกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อรวมเปนคณะทํางาน จัดทําคลังความรูภูมิ
                         ปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร
                 12.2 เผยแพรคลังความรูภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ผานเว็บไซต
                                                
                         http://www.phraewisdom.com
                 12.3 เผยแพรผานทางวารสารวิชาการตางๆ

              13. วิธีการดําเนินการวิจัย และสถานที่ทําการทดลอง/เก็บขอมูล
                      ผูวิจัยไดแบงขั้นตอนการพัฒนา ดังนี้
                      ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สบเอ็ด แผนแมบท
                                                                                      ิ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา
ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวของกับงานวิจัย
                      ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะหหลักสูตร เพือจัดทําโครงสรางการเรียนรู
                                                         ่
                      ขั้นตอนที่ 3 ประชุมสัมมนา ตัวแทนจังหวัด ผูนําชุมชน ตัวแทนครูโรงเรียนมัธยม ที่
เกี่ยวของ เพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดแพร ยกตัวอยางเชน ภาษาของชาวไทย
                                            
พวนบานทุงโฮง ภาษาชาวเชียงแสนบานพระหลวง การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนิเจอรไมสัก
ผลิตภัณฑจากสาหรายน้ําจืด “เตา” เรื่องราวของเตาปูลู การตีเหล็ก การทอผาตีนจก ลูกประคบสมุนไพร
หรือ เรื่องราวที่เปนการคิดคนใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน ศูนยเศรษฐกิจพอเพียงของลุง
มนูญ วงคอารินทร
                      ขั้นตอนที่ 4 รับสมัครตัวแทนนักเรียนแตละโรงเรียน (โรงเรียนมัธยมในจังหวัดแพร
จํานวน 15 โรงเรียน โรงเรียนละ 6 คน) เพื่อเขารวมอบรมการสรางคลิปวิดีโอ และการอัพโหลดไฟลผาน
สังคมออนไลน Youtube.com
                      ขั้นตอนที่ 5 กําหนดเวลาให นักเรียนแตละโรงเรียน ผลิตวิดีโอคลิปเรื่องที่ตนสนใจ
เกี่ยวกับภูมปญญาทองถิ่น โดยใหครูผเู กี่ยวของเปนทีปรึกษา
            ิ                                          ่
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย

More Related Content

What's hot

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
Sasiyada Promsuban
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
eden95487
 
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
Poramin Insomniaz
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Duangjai Boonmeeprasert
 
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Nuttapong Yongja
 
สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานพัฒนาประชาธิปไตย
สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานพัฒนาประชาธิปไตยสร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานพัฒนาประชาธิปไตย
สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานพัฒนาประชาธิปไตย
อลงกรณ์ อารามกูล
 

What's hot (20)

Database2011
Database2011Database2011
Database2011
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
OSS for Education
OSS for EducationOSS for Education
OSS for Education
 
Library Branding with ICT
Library Branding with ICTLibrary Branding with ICT
Library Branding with ICT
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
 
เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานพัฒนาประชาธิปไตย
สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานพัฒนาประชาธิปไตยสร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานพัฒนาประชาธิปไตย
สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานพัฒนาประชาธิปไตย
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 

Similar to 04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย

Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
teacherhistory
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
NSTDA THAILAND
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
Lao-puphan Pipatsak
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
pooh_monkichi
 

Similar to 04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย (20)

V 300
V 300V 300
V 300
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
V 254
V 254V 254
V 254
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
1
11
1
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาสรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
 
V 261
V 261V 261
V 261
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
 
V 285
V 285V 285
V 285
 
Focus 5-55
Focus 5-55Focus 5-55
Focus 5-55
 

More from KruBeeKa

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 

More from KruBeeKa (17)

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย

  • 1. 1 การกรอกรายละเอียดในแบบฟอรมนี้ ตองดําเนินการใหครบถวนตามความเปนจริง หากตรวจสอบพบวามีการปกปดหรือเปนเท็จ วช. ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไมพิจารณาสนับสนุนและจะเปนผูไมสิทธิ์รับทุน วช. เปนเวลา 3 ป สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) แบบ วช. 1 ย/วช. 1 ด แบบเสนอโครงการวิจัย (Research Project) B1 - B3 - ประกอบการเสนอของบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ประจําปงบประมาณ 2556 ------------------------------------ ประเภททุน ทุนอุดหนุนการวิจัยปงบประมาณ 2556 ชื่อโครงการวิจัย (ไทย) การพัฒนาคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสรางองคความรู ภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร (ภาษาอังกฤษ) The development of Knowledge Base by Social Media for Constructivism Creation Phrae local Wisdom. ชื่อแผนงานวิจัย (ไทย) การพัฒนานวัตกรรมสรางสรรคการเรียนรูสูการมีสวนรวมอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น  (ภาษาอังกฤษ) The development of innovative learning to conservative participation of local wisdom. สวน ก: องคประกอบของขอเสนอโครงการวิจัย 1. ผูรับผิดชอบ ประกอบดวย (กรณีเปนทุนความรวมมือกับตางประเทศใหระบุผรับผิดชอบ ู ทั้ง “ฝายไทย” และ “ฝายตางประเทศ”) 1.1 หัวหนาโครงการ ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : รศ.ดร.สําราญ มีแจง สัดสวนทําวิจัย 50% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ) : Assoc. Prof. Dr. Samran Mejang หมายเลขบัตรประชาชน : 3 1202 00505 34 7 1.2 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาววณิชชา แมนยํา สัดสวนทําวิจัย 30% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ) : Miss Wanitcha Manyum หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5404 00416 12 3 1.3 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางวราภรณ สังขวรกุล สัดสวนทําวิจัย 10% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ) : Mrs. Waraporn Sangworakul หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5404 00038 54 4 1.4 ผูรวมงานวิจัย
  • 2. 2 ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาวพิชญา ดีมี สัดสวนทําวิจัย 10% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ) : Miss Phitchaya Deemee หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5404 00084 20 5 1.5 ที่ปรึกษาโครงการวิจัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร หมายเลขโทรศัพท 055-411639 ผูอํานวยการโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร หมายเลขโทรศัพท 054-511104 1.6 หนวยงานหลัก คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร หมายเลขโทรศัพท 055-411639 1.7 หนวยงานสนับสนุน สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร หมายเลขโทรศัพท 054-625496 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูสงคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ั กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร หมายเลขโทรศัพท 054-511104 2. ประเภทการวิจัย (ผนวก 4) การพัฒนาทดลอง (experimental development) 3. สาขาวิชาการและกลุมวิชาที่ทําการวิจัย (ผนวก 4) สาขาการศึกษา (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน) 4. คําสําคัญ (keywords) ของโครงการวิจัย 4.1 ภูมิปญญาทองถิ่น (local Wisdom) หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่นของ จังหวัดแพร ซึ่งไดมาจากประสบการณ บุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูคนอีกรุนหนึ่ง ซึ่งสอดคลองกับวิถี ชีวิตดั้งเดิมของชาวจังหวัดแพรในวิถีดั้งเดิมนั้น ยกตัวอยางเชน ภาษาของชาวไทยพวนบานทุงโฮง ภาษาชาว เชียงแสนบานพระหลวง การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนิเจอรไมสัก ผลิตภัณฑจากสาหรายน้ําจืด “เตา”เปนตน 4.2 คลังความรูบนเว็บ (Knowledge Web Base) หมายถึง การเก็บความรูตางๆ บน เว็บไซต http://www.phraewisdom.com และนําขอมูลเหลานั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรูหรือประยุกตใช  ตอไปได
  • 3. 3 4.3 การสรางองคความรูดวยตนเอง (Constructivism) หมายถึง หลักการจัดการเรียน การสอนมุงเนนไปทีกระบวนการสรางความรู ผูเ รียนจะตองเปนผูจัดกระทํากับขอมูลหรือประสบการณ ่  ตางๆ และจะตองสรางความหมายใหกับสิ่งนั้นดวยตนเอง ผูเรียนไดมีบทบาทในการเรียนรูอยางเต็มที่โดย  ผูเรียนจะนําตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู บทบาทของครูจะเปนผูใหความรวมมือ อํานวยความ สะดวกและชวยเหลือผูเ รียนในการเรียนรู 4.4 สังคมออนไลน (Social Media) สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทําใหผูใชแสดงความเปน ตัวตนของตนเอง เพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธกบหรือแบงปนขอมูลกับบุคคลอื่น สังคมออนไลน ั 5. ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย “...การพยายามศึกษาวิทยาการและเทคโนโลยีอันกาวหนาทุกสาขาจากทั่วโลก แลว เลือกสรรสวนที่สําคัญเปนประโยชน นํามาปรับปรุงใชใหพอดีพอเหมาะกับสภาพและฐานะของประเทศเรา เพื่อชวยใหประเทศของเราสามารถนําเทคโนโลยีอันทันสมัยมาใชพัฒนางานตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ และไมสิ้นเปลือง...” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาท ในโอกาสเสด็จพระราชดําเนินเปดงานพระจอม เกลาลาดกระบังนิทรรศน ๒๖ ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตเจาคุณทหาร ลาดกระบัง วันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๒๖ จากการรวมตัวของประเทศสมาชิกในอาเซียน 10 ประเทศ ซึ่งไทยเปน 1 ใน ภาคี สมาชิก ซึ่งมีความรวมมือกันทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ การสือสาร เหลานี้ ลวนเปนองคประกอบที่สําคัญในยุคโลกาภิวัตนทั้งสิ้น ประเทศไทยเปนสังคมยอยสังคม ่ หนึ่งในสังคมที่ยอมไดรบผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ประชากรในประเทศจะตองสามารถทีจะเรียนรู  ั ่ ที่จะอยูรวมในโลกใบนี้ไดอยางชาญฉลาด ดวยกลไกของการศึกษา  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559 ไดกําหนด ทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ถึงแนวทางการเสริม รากฐานของประเทศในดานตางๆ ใหเขมแข็ง ควบคูไปกับการใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทย ใหมีคุณภาพ กาวทันตอการเปลี่ยนแปลง รวมทังการสรางโอกาสทางเศรษฐกิจดวยฐานความรู เทคโนโลยี ้ และนวัตกรรม และความคิดสรางสรรค นําไปสูการพัฒนาประเทศที่มั่นคง และยั่งยืน โดยไดกําหนด บท ยุทธศาสตรบทที่ 4 ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสงคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน ซึ่งกําหนดแนว ั ทางการพัฒนา ขอที่ 4 การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต สรางโอกาสการเรียนรูอยางตอเนื่องใหคนทุกกลุม ทุกวัยสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูและองคความรูที่หลากหลาย ทั้งที่เปนวัฒนธรรม ภูมิปญญา และองค  ความรูใหม โดยเนน สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรูและปจจัยสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต เปน  การ พัฒนาองคความรูของทองถิ่นทังจากผูรู ปราชญชาวบาน และจัดใหมีการวิจัยเชิงประจักษของชุมชน ้  การจัดการองคความรูในชุมชนอยางเปนระบบ ควบคูกบการพัฒนาทักษะดานภาษาและเทคโนโลยีเพื่อ ั การศึกษาใหเอื้อตอการเขาถึงแหลงเรียนรูทหลากหลาย ตลอดจนเนื้อหาสาระทีเ่ หมาะสมกับการพัฒนาการ ี่ เรียนรูดวยตนเอง
  • 4. 4 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556 ไดพัฒนาขึ้น เพื่อมุงเนนแกไขจุดออนที่สําคัญของการพัฒนา ICT ของประเทศไทย โดยกําหนดวิสัยทัศน ไว วา “ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT” โดย “สังคมอุดมปญญา” ในที่นี้ หมายถึง สังคมที่มการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติ ี ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรูสารสนเทศ  (Information Literacy) สามารถเขาถึงและใชสารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและ รูเทาทัน กอใหเกิดประโยชนแกตนเองและสังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูเ ศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและ นวัตกรรมอยางยั่งยืน ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีมีตอการจัดการศึกษา ทําใหทก ่ ุ ภาคสวนไดตระหนักเปนวาระสําคัญ ดังใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ไดระบุหมวดที่เกี่ยวของกับการจัด การศึกษาและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว คือ หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา เพื่อใหผูเรียนทุกคนสามารถ เรียนรูและพัฒนาตนเองได โดยการจัดกระบวนการเรียนรู และการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูป แบบอยางพอเพียง และมีประสิทธิภาพ และหมวดที่ 9 การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพือการ ่ สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต การจัดการศึกษามีคุณภาพ มาตรา 65 ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต  และผูใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทังการใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา 66 ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีด ความสามารถใน การใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อใหมีความรู และทักษะเพียง พอที่จะใชเทคโนโลยีเพือการศึกษาในการแสวงหาความรู ดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิตมาตรา 67 ่ รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนาการผลิต และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทังการติดตาม้ ตรวจสอบ และประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับ กระบวนการเรียนรูของคนไทย แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559) กลาวถึงผลการพัฒนา การศึกษาทีผานมาวา “ในดานเทคโนโลยีเพือการศึกษา พบวา มีปญหาการดําเนินงาน เนืองมาจากการขาด ่ ่ ่ การพัฒนาเนื้อหาผานสื่อทีมีคุณภาพ รวมทั้งการเรียนการสอน และการพัฒนาผูสอน ครูและนักเรียนนํา ่ ความรูดานเทคโนโลยีเพือการศึกษาไปใชในกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรูดวยตนเองนอย” จึง ่ ไดกําหนดวัตถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติไวขอหนึ่งคือ “เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู โดยมุงพัฒนาคนไทยเพื่อพัฒนาสังคมไทยเปนสังคมแหงคุณธรรม ภูมิปญหาและ  การเรียนรู มีการสรางองคความรู นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทรัพยสินทางปญหาเพือการเรียนรู นําไปสู ่ สังคมแหงการเรียนรูอยางยั่งยืน มีสุขภาวะ ประชาชนอยูรวมกันอยางสันติสุขและเอืออาทร” ้
  • 5. 5 สํานักงานรับรองรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.) ซึ่งเปนองคกรที่มหนาที่ในการรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ได ี กําหนด ตัวบงชี้ ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) สําหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในตัวบงชี้ที่ 3.1 ผูเรียนคนควาหาความรูจากการอานและใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบงชี้ที่ 6.2 กระบวนการจัดการเรียนรูของครู ไดกําหนดประเด็นครูสามารถจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนผูเ รียนเปนสําคัญ โดยใหมการประเมินการจัดเตรียมและใชสื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิ ี ปญญาทองถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกตในการจัดการเรียนการสอน ของครูทุกคน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงใหผเู รียนเกิด สมรรถนะ สําคัญ 5 ประการ โดยมีสมรรถนะที่เกี่ยวกับการใชเทคโนโลยี 1 สมรรถนะ คือ ความสามารถใน การใชเทคโนโลยี เปนความสามารถ ในการเลือก และใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสือสารการทํางาน การแกปญหาอยาง ่ สรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม ทิศนา แขมมณี (2550) กลาววา การสรางองคความรูดวยตนเอง (Constructivism) เปนทฤษฏีที่ใหความสําคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสรางความรูความเขาใจจาก ประสบการณ รวมทั้งโครงสรางทางปญญาและความเชื่อที่ใชในการแปลความหมายเหตุการณและสิ่ง ตางๆ เปนกระบวนการทีผูเรียนจะตองจัดกระทํากับขอมูล นอกจากกระบวนการเรียนรูจะเปน ่  กระบวนการปฏิสัมพันธภายในสมองแลว ยังเปนกระบวนการทางสังคมดวย การสรางความรูจงเปน ึ กระบวนการทังดานสติปญญาและสังคมควบคูกันไป หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จะมุงเนน ้  ไปที่กระบวนการสรางความรู (process of knowledge construction) เปาหมายของการสอนจะเปลี่ยน จากการถายทอดใหผูเรียนไดรับสาระความรูที่แนนอนตายตัว ไปสูการสาธิตกระบวนการแปลและสราง ความหมายที่หลากหลาย ผูเรียนจะตองเปนผูจัดกระทํากับขอมูลหรือประสบการณตางๆ และจะตองสราง  ความหมายใหกบสิงนั้นดวยตนเอง โดยการใหผเู รียนอยูในบริบทจริง ในการจัดการเรียนการสอนครู ั ่ จะตองพยายามสรางบรรยากาศทางสังคมจริยธรรมใหเกิดขึน ผูเรียนไดมีบทบาทในการเรียนรูอยางเต็มที่ ้ โดยผูเรียนจะนําตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู บทบาทของครูจะเปนผูใหความรวมมือ อํานวย ความสะดวกและชวยเหลือผูเรียนในการเรียนรู ปจจุบันอินเทอรเน็ตเขามามีบทบาทสําคัญในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศการใช อินเทอรเน็ตจะชวยใหวิถีชีวิตของคนปจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ เพราะอินเทอรเน็ตจะเสนอขอมูล ขาวสารที่ทันสมัยอีกทั้งเปนแหลงสารสนเทศ สําหรับทุกวงการที่สามารถคนหาสิ่งที่ตองการไดโดยไมตอง เสียเวลาเดินทาง ทั้งนี้ บริษัท ศูนยวิจัยนวัตกรรมอินเทอรเน็ตไทย จํากัด ซึ่งเปนผูใหบริการตรวจสอบและ ประมวลผลสถิติการเยี่ยมชมเว็บไซตประเทศไทย (Truehits.net ทรูฮิต) โดย ดร. ปยะ ตัณฑวิเชียร ประธานเจาหนาที่ฝายเทคนิค บริษัทศูนยวิจัยนวัตกรรมอินเทอรเน็ตไทย จํากัด ไดนําเสนอ รายงาน ผลงานวิจัยสถิติภาพรวมการใชอินเทอรเน็ตของประเทศไทย ประจําป 2011 และพฤติกรรมการใชงาน
  • 6. 6 อินเทอรเน็ต ภาพรวมและแนวโนมในการใชอินเทอรเน็ต ไวดังนี้ กลุมผูที่ใชอินเทอรเน็ตมากที่สุดคือ นักเรียน-นักศึกษา และชวงกลุมอายุระหวาง 12 – 17 ป คิดเปน 34.20% ปริมาณการใช Search Engine ในเดือนมกราคม 2555 มีจํานวน 19.2 ลานครั้งตอวัน และขอมูลที่นาสนใจอีกอยางก็คือ การเขาชม อินเทอรเน็ตผานอุปกรณโทรศัพทมือถือ ซึ่งสอดคลองกับ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร แหงชาติ (NECTEC) ไดสํารวจผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศไทยชวงป 2553 พบวา มีกิจกรรมที่ทําบน อินเทอรเน็ตมากทีสุดคือ e-mail คิดเปน 27.2% คนหาขอมูล คิดเปน 26.1% ติดตามขาวสาร คิดเปน ่ 14.1% และ E-learning คิดเปน 8.2% โดยคนไทยเริมนิยมการใชแอพพลิเคชั่นบนมือถือเพื่อการ ่ ติดตอสื่อสารเพิ่มมากขึ้น เนืองจาก มีใหในอุปกรณ คิดเปน 31.3% ประสิทธิภาพการใชงาน คิดเปน 21.4% ่ สะดวกและความบันเทิง คิดเปน 15.2% จําเปนตอการทํางาน/ชีวิตประจําวัน คิดเปน 14.1% หาซื้อ/ดาวน โหลดงาย คิดเปน 8.5% ดวยเหตุนี้เครือขายอินเทอรเน็ตจึงเปนแหลงรวบรวมขอมูลสารสนเทศจากทั่ว โลกเขา ดวยกันเสมือนดั่งขุมทรัพยขอมูลขาวสารที่คนสวนใหญใหความสนใจ อยางไรก็ตามประโยชนของเครือขาย อินเทอรเน็ตไมไดจํากัดเฉพาะในวงธุรกิจ เทานั้น ในวงการศึกษาเครือขายอินเทอรเน็ตสามารถนํามาใชให เกิดประโยชนกบการศึกษา ไดหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนการใชเพื่อการติดตอสือสาร อภิปราย ถกเถียง ั ่ แลกเปลี่ยน และสอบถามขอมูลขาวสารความคิดเห็นทังกับผูสนใจศึกษาในสื่อเรื่องเดียวกัน หรือกับ ้ ผูเชี่ยวชาญในสาขาตางๆ จะเห็นไดวาอินเทอรเน็ตไดกลายเปนสื่อการศึกษาของโลกยุคใหม ชวยเปดโลก กวางใหแกผเู รียนและเปนแหลงรวบรวมขุมทรัพยทางปญญาอยาง มากมายมหาศาล ในลักษณะที่สื่อ ประเภทอื่นไมสามารถกระทําได ผูเรียนจะมีความสะดวกตอการคนหาขอมูลไมวาจะอยูสถานที่ใดก็สามารถ เขาไปใชเครือขายไดอยางเทาเทียมกัน ไมวาจะเปนการศึกษาในลักษณะที่เรียนรวมกันหรือเรียนตางหองกัน หรือแม กระทังตางสถาบันกัน ก็สามารถแลกเปลี่ยนความรูอยางตอเนื่องไดตลอดเวลาทังระหวางครูกบ ่  ้ ั นักเรียนและระหวางผูเรียนเอง เครือขายคอมพิวเตอรจะเปนตัวเชื่อมใหผเู รียนเขาถึงผูใหคําปรึกษาหรือ ผูเชี่ยวชาญไดโดยตรง อีกทั้งยังเอื้อใหเกิดการปฏิสัมพันธระหวางผูเ รียนและผูสอนทั้งเวลาจริง หรือตางเวลา  กัน ทําใหเกิดสภาวะแวดลอมที่ตองมีการประสานงานกัน (Collaborative environment) ผูเรียนสามารถ ควบคุมจังหวะการเรียนไดดวยตนเองทําใหเกิดสิงแวดลอม ยืดหยุนแกผเู รียน การจัดการศึกษาคงไมใชเปน ่ การกําหนดจากครูผสอนที่ใชตําราแตเพียงอยางเดียวเทานั้น บทบาทของครูผสอนจะเปลี่ยนจากการสอน ู ู แบบเดิมๆ ที่เปนเพียงผูใหความรูทางเดียว มาเปนการชี้นํา (Guide) เปลี่ยนจากการเรียนแบบนั่งเฉยๆ  (Passive) มาเปนการเรียนรูที่ใชปฏิสัมพันธโตตอบ (Active) และมีการใชเทคโนโลยีประกอบการเรียนรู และสูกระบวนการสรางองคความรูได  คลังความรูบนเว็บ (Knowledge Web Base) คือ มีการเก็บความรูตางๆ บน เว็บไซต และนําขอมูลเหลานั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรูหรือประยุกตใชตอไปได
  • 7. 7 ประเภทของ Knowledge 1. Explicit Knowledge เปนความรูที่สามารถบันทึกได ในรูปแบบทีเ่ ปนเอกสาร  หรือ วิชาการ อยูในตํารา คูมือปฏิบัติงาน สามารถถายทอดไดงาย และ เรียนรูไดงาย สามารถถายทอดใน ลักษณะของ One To Many ไดซึ่งสะดวกใชในการบริหารงานระดับลาง 2. Tacit Knowledge เปนความรูที่ไมสามารถสามารถบันทึกไดหรือบันทึกไดไม  หมด เชน ประสบการณ, สัญชาตญาณ, ความชํานาญ เกิดจากการสั่งสมมาเปนระยะเวลานาน จําเปนตองมี การปฏิสมพันธที่ดหรือใกลชิดเกิดขึ้นในการถายทอด ในลักษณะของ One To One เชน การ Coaching ั ี ขอเสีย คือ ความรูจะอยูกับคนๆ เดียว จะทําใหเมื่อเสียทรัพยากรบุคคลไป ก็เสียความรูที่คนๆ นั้นมีไปดวย สังคมออนไลน (Social Media) ผศ. ดร. กานดา รุณนะพงศา สายแกว อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดกลาวเกี่ยวกับ Social Media ไวดังนี้ มีเดีย (“Media”) หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใชเพื่อการสือสาร ่ โซเชียล (“Social”) หมายถึง สังคม ในบริบทของสังคมออนไลน (Social Media) Social หมายถึง การแบงปนใน สังคม ซึ่งอาจจะเปนการแบงปนเนื้อหา (ไฟล, รสนิยม ความเห็น…) หรือปฏิสมพันธในสังคม (การรวมกัน ั เปนกลุม…) สังคมออนไลน ในที่นี้ หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทําใหผูใชแสดงความเปนตัวตนของตนเอง เพื่อทีจะมีปฏิสัมพันธกับหรือแบงปนขอมูลกับบุคคลอื่น สังคมออนไลน สวนใหญจะเปนเว็บแอปพลิเคชัน ่ 2.0 ซึ่งจะมีการปฏิสัมพันธระหวางผูใหและผูรบขอมูล ยกตัวอยางเชน ทีวีและหนังสือพิมพทเี่ ปนกระดาษ ั เปนสื่อ แตเปนสื่อของการสื่อสารทางเดียว ผูรบขอมูลไมสามารถตอบกลับผูใหขอมูลทันทีทันใดได แตสังคม ั ออนไลน จะเปนสื่อทีมีการสื่อสาร 2 ทาง กลาวคือผูรบขอมูลสามารถแสดงความคิดเห็นหรือตอบผูใหขอมูล ่ ั ได การใหขอคิดเห็นในบันทึกในบล็อกหรือในวิดีโอ การพูดคุยผานโปรแกรมสนทนาออนไลนหรือเว็บบอรด การใหขอคิดเห็นและบันทึกวาชอบ กลาวโดยสรุป Social Media หมายถึง สังคมออนไลนทมีผูใชเปนผูสื่อสาร หรือเขียน ี่  เลา เนื้อหา เรืองราว ประสบการณ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผูใชเขียนขึ้นเอง ทําขึ้นเอง หรือพบเจอ ่ จากสืออื่นๆ แลวนํามาแบงปนใหกบผูอื่นที่อยูในเครือขายของตน ผานทางเว็บไซต Social Network ที่ ่ ั ใหบริการบนโลกออนไลน ปจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะทําผานทาง Internet วิดีโอคลิป (Video Clip) หรือ คลิปวิดีโอ (Clip Video) คือ ไฟลคอมพิวเตอรทบรรจุ ี่ เนื้อหาเปนภาพยนตรสั้น มักจะตัดตอนมาจากภาพยนตรทั้งเรื่องซึ่งมีขนาดความยาวปกติ คลิปมักจะเปน สวนที่สําคัญ หรือตองการนํามาแสดง มีความขบขัน หรืออาจเปนเรืองความลับที่ตองการนํามาเผยแพร ่ จากตนฉบับเดิม แหลงของวิดีโอคลิป ไดแก ขาว ขาวกีฬา มิวสิกวิดีโอ รายการโทรทัศน หรือภาพยนตร ปจจุบันมีการใชวิดีโอคลิปแพรหลาย เนืองจากไฟลคลิปนี้มีขนาดเล็ก สามารถสงผานอีเมล หรือดาวนโหลด ่ จากเว็บไซตไดสะดวก ในประเทศตะวันตก เรียกการแพรหลายของวิดีโอคลิปนี้วา วัฒนธรรมคลิป (Clip
  • 8. 8 Culture) คําคํานี้ มีความหมายกวางๆ หมายถึง ภาพยนตรสั้นแบบไหนก็ได ที่มีความยาวนอยกวารายการ โทรทัศนตามปกติ (โดยมากไมเกิน 5-10 นาที และที่พบบอยที่สุดคือประมาณ 1 นาที) จังหวัดแพร เปนเมืองเกาเมืองหนึ่งในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ประวัติการ สรางเมืองไมมจารึกในที่ใดที่หนึง โดยเฉพาะการศึกษาเรื่องราวของเมืองแพร จึงตองอาศัยหลักฐานของ ี ่ เมืองอื่น เชน พงศาวดารโยนก ตํานานเมืองเหนือ ตํานานการสรางพระธาตุลําปางหลวง และศิลาจารึกพอ ขุนรามคําแหงมหาราช เปนตน มีตราประจําจังหวัดเปนรูปมายืน และมีโบราณสถานทีสําคัญของจังหวัด ่ แพร คือ พระธาตุชอแฮ ประกอบอยูบนหลังมา มีตนไมประจําจังหวัด คือ ตนยมหิน มีคําขวัญประจํา จังหวัด วา หมอหอม ไมสก ถิ่นรักพระลอ ชอแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพระเมืองผี คนแพรนี้ใจงาม ั ภูมิปญญาทองถิ่น หรือ ภูมิปญญาชาวบาน (Local wisdom หรือ popular wisdom) หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งไดมาจากประสบการณ และความเฉลียวฉลาดของ ชาวบาน รวมทั้งความรูทสั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูคนอีกรุนหนึง ระหวางการสืบ ี่ ่ ทอดมีการปรับ ประยุกตและเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเปนความรูใหมตามสภาพการณทางสังคมวัฒนธรรม และสิงแวดลอม ภูมิปญญาเปนความรูที่ประกอบไปดวยคุณธรรม ซึ่งสอดคลองกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของ ่  ชาวบานในวิถีดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบานไมไดแบงแยกเปนสวนๆ หากแตทุกอยางมีความสัมพันธกัน การ ทํามาหากิน การอยูรวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรูเปนคุณธรรม เมื่อผูคน ใชความรูนั้นเพื่อสรางความสัมพันธที่ดระหวาง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ี ความสัมพันธที่ดีเปนความสัมพันธที่มีความสมดุล ทีเ่ คารพกันและกัน ไมทํารายทําลายกัน ทําใหทุกฝายทุก สวนอยูรวมกันไดอยางสันติ ชุมชนดั้งเดิมจึงมีกฎเกณฑของการอยูรวมกัน มีคนเฒาคนแกเปนผูนํา คอยให คําแนะนําตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบานเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้ํา ปา เขา ขาว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบานเคารพผูหลักผูใหญ พอแม ปูยาตายาย ทั้งที่มีชีวิตอยูและ  ลวงลับไปแลว ปจจุบัน ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดแพร มีผูศึกษาและรวบรวมไวนอยมาก ทําให  บุคคลทั่วไป หรือแมแตชาวจังหวัดแพรเอง ยังไมสามารถรับรูถึงเรื่องราวตางๆ เหลานี้ได บางเรืองอาจเปน ่ ความรูจากรุนสูรุน ยกตัวอยาง เชน ภาษาของชาวไทยพวนบานทุงโฮง ภาษาชาวเชียงแสนบานพระหลวง  การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนิเจอรไมสัก ผลิตภัณฑจากสาหรายน้ําจืด “เตา” เรืองราวของเตาปูลู ่ การตีเหล็ก การทอผาตีนจก ลูกประคบสมุนไพร ฯลฯ ตางอําเภอ ตางหมูบาน ก็มีภูมิปญญาที่ตางกัน ซึ่งก็   คงรักษาไวไดไมเทากัน หรือจะเปนเรื่องราวที่เปนการคิดคนใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน ศูนยเศรษฐกิจพอเพียงของลุงมนูญ วงคอารินทร ที่ไมมีตําราไหนเขียนบอกไว หากแมผรู มีทาญาติสืบทอด ู หากไมไดมีการบันทึก เรื่องราวอาจจะถูกลดทอนลงไป ตามกาลเวลา แตไมไดถายทอดใหผูใด หรือ ไมมี ลูกหลานมาสืบทอดแลว ความรู หรือภูมิปญญานั้น ก็คงจะสูญหายไปดวย ทําใหเยาวชนรุนหลังยังขาด  ความรูสึกรักและตระหนักถึงคุณคาของภูมปญญาทองถิ่น ขนบธรรมเนียมประเพณีทมีมาแตยาวนาน ิ ี่
  • 9. 9 ดังนั้น ผูวิจัยจึงเห็นคุณคาและตระหนักถึงความสําคัญของบรรพบุรุษของชาวจังหวัดแพรที่ ไดสรางไวใหลูกหลานมาหลายชั่วอายุคน ที่ไมอยากใหสูญหายและใหเยาวชนรุนหลังไดมีจิตอนุรักษและหวง แหนภูมิปญญาที่บรรพบุรุษไดสรางไว จึงไดรวบรวมขอมูลโดยการใชรูปแบบการสอนการสรางวิดีโอคลิป ใหกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในจังหวัดแพร ซึ่งสอดคลองกับกระทรวงศึกษาธิการในการสนับสนุนและ สงเสริมใหนกเรียนรูจักใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคและผลิตผลงานโดยทักษะที่เกิดจากการเรียนใหเกิดการ ั  เรียนรูอยางตอเนื่องใหมากที่สุด โดยใหผลิตคลิปวิดีโอของตนเองตามเรืองที่ตนเองสนใจ หรือเปนเรื่องราว ่ ในหมูบานของตนเอง ในประเด็นของภูมปญญาทองถิ่น แลวทําการอัพโหลดผานเว็บไซต Youtube.com ิ เพื่อนํา Link มารวบรวม และพัฒนาเปนคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสรางองคความรูภูมิ  ปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ที่สามารถเผยแพรออกไป ใหเยาวชนรุนหลังไดศึกษา สรางความภาคภูมิใจ และ มีจิตสํานึกรักและหวงแหนทองถิ่นของตนเองมากขึ้น 6. วัตถุประสงคของโครงการวิจัย เพื่อพัฒนาคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสรางองคความรูภูมิปญญาทองถิ่น จังหวัดแพร 7. ขอบเขตของโครงการวิจัย กลุมเปาหมาย 1. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในสังกัดจังหวัดแพร จํานวน 15 โรงเรียน 2. ครู-อาจารย ผูนําชุมชน ประชาชน และ หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ เชน สํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัด 8. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถามี) และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย แนวคิดที่นํามาใชในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อพัฒนาองคความรูดวยตนเองของนักเรียน เนื่องจาก ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดแพร มีผูศึกษาและรวบรวมไวนอยมาก ทําใหบุคคลทั่วไป หรือแมแต ชาวจังหวัดแพรเอง ยังไมสามารถรับรูถึงเรื่องราวตางๆ เหลานี้ได บางเรื่องอาจเปนความรูจากรุนสูรุน หรือ  จะเปนเรื่องราวที่เปนการคิดคนใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ไมมีตําราไหนเขียนบอกไว หากแม ผูรู มีทาญาติสบทอด หากไมไดมีการบันทึก เรื่องราวอาจจะถูกลดทอนลงไป ตามกาลเวลา หากแตไมได ื ถายทอดใหผูใด หรือ ไมมลูกหลานมาสืบทอดแลว ความรู หรือภูมิปญญานั้น ก็คงจะสูญหายไปดวย ทําให ี  เยาวชนรุนหลังยังขาดความรูสึกรักและตระหนักถึงคุณคาของภูมิปญญาทองถิ่น ขนบธรรมเนียมประเพณีที่  มีมาแตยาวนาน ผูวิจัยจึงมีแนวคิด จะพัฒนานักเรียนใหเรียนรูการสรางคลิปวิดีโอเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่น  ตามภูมิลําเนาของตัวนักเรียนเองในจังหวัดแพร แลวทําการอัพโหลดผานเว็บไซต Youtube.com เพื่อรวม รวบ Link นํามาเปนคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพือสรางองคความรูภูมปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ่ ิ
  • 10. 10 เพื่อรวบรวมเปนเรื่องราวของจังหวัดแพรและเปนการเผยแพรตอสาธารณชนตอไป กรอบแนวคิด - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ - การสรางองคความรูดวยตนเอง ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559 (Constructivism) - การรวมตัวของประเทศสมาชิกในอาเซียน 10 ประเทศ - คลังความรูบนเว็บ - แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Knowledge Web Base) เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556 - สังคมออนไลน (Social Media) - พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 - วิดีโอคลิป (Video Clip) - แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559) - สํานักงานรับรองรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.) - ภูมิปญญาทองถิ่น (Local Wisdom) ยกตัวอยางเชน ภาษา ของชาวไทยพวนบานทุงโฮง ภาษาชาวเชียงแสนบานพระหลวง การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนิเจอรไมสัก ผลิตภัณฑจาก สาหรายน้ําจืด “เตา” เรื่องราวของเตาปูลู การตีเหล็ก การทอ คลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสราง ผาตีนจก ลูกประคบสมุนไพร หรือ เรื่องราวที่เปนการคิดคน องคความรูภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน ศูนยเศรษฐกิจ 9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวของ คลังความรูบนเว็บ (Knowledge Web Base) เปนการ การเก็บความรูตางๆ บนเว็บไซต และนําขอมูลเหลานั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู หรือประยุกตใชตอไปได สามารถแบงประเภทของ Knowledge ได 2 ประเภท คือ 1. Explicit Knowledge เปนความรูที่สามารถบันทึกได ในรูปแบบทีเ่ ปนเอกสาร หรือ  วิชาการ อยูในตํารา คูมือปฏิบัติงาน สามารถถายทอดไดงาย และ เรียนรูไดงาย สามารถถายทอดใน ลักษณะของ One To Many ไดซึ่งสะดวกใชในการบริหารงานระดับลาง 2. Tacit Knowledge เปนความรูที่ไมสามารถสามารถบันทึกไดหรือบันทึกไดไมหมด  เชน ประสบการณ, สัญชาตญาณ, ความชํานาญ เกิดจากการสังสมมาเปนระยะเวลานาน จําเปนตองมีการ ่
  • 11. 11 ปฏิสัมพันธที่ดหรือใกลชิดเกิดขึ้นในการถายทอด ในลักษณะของ One To One เชน การ Coaching ี ขอเสีย คือ ความรูจะอยูกับคนๆ เดียว จะทําใหเมื่อเสียทรัพยากรบุคคลไป ก็เสียความรูที่คนๆ นั้นมีไปดวย สังคมออนไลน (Social Media) ผศ. ดร. กานดา รุณนะพงศา สายแกว อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดกลาวเกี่ยวกับ Social Media ไวดังนี้ มีเดีย (“Media”) หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใชเพื่อการสือสาร ่ โซเชียล (“Social”) หมายถึง สังคม ในบริบทของสังคมออนไลน (Social Media) Social หมายถึง การแบงปนใน สังคม ซึ่งอาจจะเปนการแบงปนเนื้อหา (ไฟล, รสนิยม ความเห็น…) หรือปฏิสมพันธในสังคม (การรวมกับ ั เปนกลุม…) สังคมออนไลน ในที่นี้ หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทําใหผูใชแสดงความเปนตัวตนของตนเอง เพื่อทีจะมีปฏิสัมพันธกับหรือแบงปนขอมูลกับบุคคลอื่น สังคมออนไลน สวนใหญจะเปนเว็บแอปพลิเคชัน ่ 2.0 ซึ่งจะมีการปฏิสัมพันธระหวางผูใหและผูรบขอมูล ยกตัวอยางเชน ทีวีและหนังสือพิมพทเี่ ปนกระดาษ ั เปนสื่อ แตเปนสื่อของการสื่อสารทางเดียว ผูรบขอมูลไมสามารถตอบกลับผูใหขอมูลทันทีทันใดได แตสังคม ั ออนไลน จะเปนสื่อทีมีการสื่อสาร 2 ทาง กลาวคือผูรบขอมูลสามารถแสดงความคิดเห็นหรือตอบผูใหขอมูล ่ ั ได การใหขอคิดเห็นในบันทึกในบล็อกหรือในวิดีโอ การพูดคุยผานโปรแกรมสนทนาออนไลนหรือเว็บบอรด การใหขอคิดเห็นและบันทึกวาชอบ กลาวโดยสรุป Social Media หมายถึง สังคมออนไลนทมีผูใชเปนผูสื่อสาร หรือเขียน ี่  เลา เนื้อหา เรืองราว ประสบการณ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผูใชเขียนขึ้นเอง ทําขึ้นเอง หรือพบเจอ ่ จากสืออื่นๆ แลวนํามาแบงปนใหกบผูอื่นที่อยูในเครือขายของตน ผานทางเว็บไซต Social Network ที่ ่ ั ใหบริการบนโลกออนไลน ปจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะทําผานทาง Internet ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่น หรือ ภูมิปญญาชาวบาน (Local wisdom หรือ popular wisdom) หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งไดมาจากประสบการณ และความเฉลียวฉลาดของชาวบาน รวมทั้งความรูทสั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึงไปสูคนอีกรุนหนึ่ง ระหวางการสืบทอดมีการ ี่ ่ ปรับ ประยุกตและเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเปนความรูใหมตามสภาพการณทางสังคมวัฒนธรรม และ สิ่งแวดลอม ภูมิปญญาเปนความรูทประกอบไปดวยคุณธรรม ซึ่งสอดคลองกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวบานใน ี่ วิถีดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบานไมไดแบงแยกเปนสวนๆ หากแตทุกอยางมีความสัมพันธกัน การทํามาหากิน การอยูรวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรูเปนคุณธรรม เมื่อผูคนใชความรูนั้น เพื่อสรางความสัมพันธที่ดระหวาง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิงเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธที่ ี ่ ดีเปนความสัมพันธที่มีความสมดุล ทีเ่ คารพกันและกัน ไมทารายทําลายกัน ทําใหทุกฝายทุกสวนอยูรวมกัน ํ  ไดอยางสันติ ชุมชนดั้งเดิมจึงมีกฎเกณฑของการอยูรวมกัน มีคนเฒาคนแกเปนผูนํา คอยใหคําแนะนํา
  • 12. 12 ตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบานเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้ํา ปา เขา ขาว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบานเคารพผูหลักผูใหญ พอแม ปูยาตายาย ทั้งที่มีชีวิตอยูและลวงลับไปแลว จังหวัดแพร เปนเมืองเกาเมืองหนึ่งในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ประวัติการ สรางเมืองไมมจารึกในที่ใดที่หนึง โดยเฉพาะการศึกษาเรื่องราวของเมืองแพร จึงตองอาศัยหลักฐานของ ี ่ เมืองอื่น เชน พงศาวดารโยนก ตํานานเมืองเหนือ ตํานานการสรางพระธาตุลําปางหลวง และศิลาจารึกพอ ขุนรามคําแหงมหาราช เปนตน มีตราประจําจังหวัดเปนรูปมายืน และมีโบราณสถานทีสําคัญของจังหวัด ่ แพร คือ พระธาตุชอแฮ ประกอบอยูบนหลังมา มีตนไมประจําจังหวัด คือ ตนยมหิน มีคําขวัญประจํา จังหวัด วา หมอหอม ไมสก ถิ่นรักพระลอ ชอแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพระเมืองผี คนแพรนี้ใจงาม ั ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดแพร สืบเนื่องมาจากประเภทณีทองถิ่นทีสืบทอดกันมันแต ่ โบราณ ไดแก งานเทศกาลลอยกระทง เผาเทียนเลนไฟเพนียงเวียงโกศัย จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 บริเวณทาน้ําศรีชุม ภายในงานมีการลอมวงกินขันโตก โดยผูรวมงานจะแตงกายดวยชุดมอฮอมซึ่งเปนชุด  พื้นเมือง งานไหวพระธาตุชอแฮ เมืองแพรแหตุงหลวง จัดขึ้นระหวางวันขึ้น 11-15 ค่ํา เดือน 4 โดยมีการจัด ขบวนแหแบบลานนา ใหผรวมขบวนทุกคนแตงกายแบบพื้นเมืองแหผาขึ้นไปหมองคพระธาตุ มีการทําบุญ ู ตักบาตร และจะเวียนเทียนรอบองคพระธาตุ และพระวิหารในเวลากลางคืน งานแอวสงกรานตน้ําใจเมือง แป นุงหมอหอมแตงามตา จัดงานขึ้นบริเวณศูนยหัตถกรรมเวียงโกศัย ในชวงสงกรานตระหวาง วันที่ 13-17 เมษายน ในเวลากลางวันจะเลนสงกรานตสนุกสนาน สวน ในเวลาค่ําจะแตงกายดวยชุด หมอหอม ลอมวง กินขันโตก งานกิ๋นสลาก คลายประเพณีถวายสลากภัตของภาคกลาง มีการจัดเครื่องไทยทาน เขียนสลากชื่อ ของตนติดไว แลวนําไปรวมกันที่หนาพระ ประธาน พระสงฆจะจับสลากขึ้นมาใหมรรคทายกประกาศ เจาของ สลากก็จะนําเครื่องไทยทานของตนไปถวายแดพระสงฆ หรือยังมีความรูจากปราชญชาวบานที่ นํามาเปนภูมปญญาทองถิ่น เปนความรูจากรุนสูรุน ยกตัวอยาง เชน ภาษาของชาวไทยพวนบานทุงโฮง ิ  ภาษาชาวเชียงแสนบานพระหลวง การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนเิ จอรไมสัก ผลิตภัณฑจากสาหราย น้ําจืด “เตา” เรื่องราวของเตาปูลู การตีเหล็ก การทอผาตีนจก ลูกประคบสมุนไพร ฯลฯ เปนเรื่องราวที่เปน การคิดคนใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน ศูนยเศรษฐกิจพอเพียงของลุงมนูญ วงคอารินทร สมควรจะไดรับการถายทอดและเผยแพรใหเปนทีรูจกตอไป ่ ั 10. เอกสารอางอิงของโครงการวิจัย กานดา รุณนะพงศา สายแกว (2553). สังคมออนไลน (Social Media). สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.slideshare.net/krunapon/ social-media-5661152. กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
  • 13. 13 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศละการสื่อสาร. (2552). แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ฉบับที่ 2. สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.mict.go.th/ewt_news.php?nid=74/. สํานักงานจังหวัดแพร. (ม.ป.ป). ประวัติจงหวัดแพร. สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, ั จาก http://www.phrae.go.th/file_data/sum2555.pdf. ทิศนา แขมมณี. (2550). การสอนจิตวิทยาการเรียนรู เรื่องศาสตรการสอนองคความรู เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: ี สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปยะ ตัณฑวิเชียร. (2554). สถิติที่นาสนใจและผลสํารวจพฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ต ในประเทศไทย ป 2011. สืบคนเมือ 30 กรกฎาคม 2555, จาก ่ http://www.it24hrs.com/2012/thailand-internet-user-2011/. ศูนยการเรียนรูทองถิ่นโรงเรียนโพธิราษฎบํารุง. (ม.ป.ป). ภูมิปญญาชาวบานและทองถิ่น.  ์ สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก http://school.obec.go.th/prbr/wisdom/mean.htm. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2554). แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔–๒๕๕๙) สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/plan11.pdf. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). แผนการศึกษา แหงชาติ ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2552-2559 ฉบับสรุป. สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.onec.go.th/cms/admin/admin_book/Content/ uploaded/url/1027-file.pdf. ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ. (2553). การสํารวจกลุมผูใช อินเทอรเน็ตในประเทศไทยประจําป 2553. สืบคนเมื่อ 30 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.nstda.or.th/prs/index.php/53-4 Wednesday, 18 January 2012 21:37. 11. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ เชน การเผยแพรในวารสาร จดสิทธิบัตร ฯลฯ และ หนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน 11.1 นักเรียนโรงเรียนมัธยมในจังหวัดแพร ไดรจักภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดของ ู  ตนเองและเรียนรูการเก็บขอมูลผานทางการสรางวิดีโอคลิป 
  • 14. 14 11.2 เปนการสงเสริมและอนุรักษภูมปญญาทองถิ่น และเผยแพรผานทางสังคม ิ ออนไลนใหเปนทีรจักของคนทั่วไป ่ ู 11.3 ประชาสัมพันธภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ผานเว็บไซต  http://www.phraewisdom.com 11.4 การเผยแพรบทความวิจัยผานทางวารสารวิชาการตางๆ 12. แผนการถายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสูกลุมเปาหมาย 12.1 จัดประชุมสัมมนา ตัวแทนจังหวัด ผูนําชุมชน ตัวแทนครูโรงเรียนมัธยม ที่ เกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อรวมเปนคณะทํางาน จัดทําคลังความรูภูมิ ปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร 12.2 เผยแพรคลังความรูภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ผานเว็บไซต  http://www.phraewisdom.com 12.3 เผยแพรผานทางวารสารวิชาการตางๆ 13. วิธีการดําเนินการวิจัย และสถานที่ทําการทดลอง/เก็บขอมูล ผูวิจัยไดแบงขั้นตอนการพัฒนา ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สบเอ็ด แผนแมบท ิ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวของกับงานวิจัย ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะหหลักสูตร เพือจัดทําโครงสรางการเรียนรู ่ ขั้นตอนที่ 3 ประชุมสัมมนา ตัวแทนจังหวัด ผูนําชุมชน ตัวแทนครูโรงเรียนมัธยม ที่ เกี่ยวของ เพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดแพร ยกตัวอยางเชน ภาษาของชาวไทย  พวนบานทุงโฮง ภาษาชาวเชียงแสนบานพระหลวง การผลิตผาหมอหอม การผลิตเฟอรนิเจอรไมสัก ผลิตภัณฑจากสาหรายน้ําจืด “เตา” เรื่องราวของเตาปูลู การตีเหล็ก การทอผาตีนจก ลูกประคบสมุนไพร หรือ เรื่องราวที่เปนการคิดคนใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน ศูนยเศรษฐกิจพอเพียงของลุง มนูญ วงคอารินทร ขั้นตอนที่ 4 รับสมัครตัวแทนนักเรียนแตละโรงเรียน (โรงเรียนมัธยมในจังหวัดแพร จํานวน 15 โรงเรียน โรงเรียนละ 6 คน) เพื่อเขารวมอบรมการสรางคลิปวิดีโอ และการอัพโหลดไฟลผาน สังคมออนไลน Youtube.com ขั้นตอนที่ 5 กําหนดเวลาให นักเรียนแตละโรงเรียน ผลิตวิดีโอคลิปเรื่องที่ตนสนใจ เกี่ยวกับภูมปญญาทองถิ่น โดยใหครูผเู กี่ยวของเปนทีปรึกษา ิ ่