SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ครูมือใหม่
ปัญหาที่ 1


กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น
อย่างไรและสิ่งใดเป็นพื้นฐานที่สาคัญในการ
เปลี่ยนกระบวน ทัศน์ดังกล่าว
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอน

   เร่งเร้าความสนใจ       บอกวัตถุประสงค์


  ทบทวนความรู้เดิม        นาเสนอเนื้อหาใหม่


ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้   ให้ข้อมูลย้อนกลับ


  ทดสอบความรู้ใหม่          สรุปนาไปใช้
พื้นฐานที่สาคัญในการเปลี่ยนกระบวน ทัศน์

การพัฒนาทางเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ทาให้การใช้ชีวิต
ของคนในยุคปัจจุบันเปลี่ยนไป ทุกคนสามารถแสวงหาความรู้ได้อย่าง
รวดเร็วเป็นยุคที่มีการแข่งขันกันสูง ทาให้กระบวนทัศน์การออกแบบ
การสอนจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมสอดคล้องกับ
ยุคสมัย เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถอยู่
ในสังคมได้อย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ
ปัญหาที่ 2

พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญในการออกแบบ
 การสอนมีอะไรบ้างและมีสาระสาคัญอย่างไร
 และมีความแตกต่างกันอย่างไร
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญในการออกแบบการสอน

  การเรียนรู้ตาม           การเรียนรู้ตามแนว
  พฤติกรรมนิยม              คอนสตรัคติวิสต์




 การเรียนรู้ตามแนว
  พุทธิปัญญานิยม
การเรียนรู้ตาม
             พฤติกรรมนิยม
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลอันเนื่องมาจาก
ประสบการณ์ที่คนเรา มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือ
จากการฝึกหัด
การเรียนรู้ตามแนว
                  พุทธิปัญญานิยม

การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนเกิดจากการจัดระเบียบ ขยาย
ความคิด และจัดหมวดหมู่ของความจาลง สู่โครงสร้างทางปัญญา
โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวน การคิด การให้เหตุผลของ
ผู้เรียนซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าภายนอกกับสิ่งเร้าภายใน คือ
ส่งผ่านสื่อไปยังความรู้ความเข้าใจ กระบวนการรู้ การคิดที่ช่วย
ส่งเสริมการเรียนรู้
การเรียนรู้ตามแนว
                   คอนสตรัคติวิสต์


เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยการสร้างความรู้จะเกิดขึ้นเมื่อ
ผู้เรียนได้สร้างสิ่งที่แทนความรู้ความจาในระยะทางานอย่าง
ตื่นตัว
ปัญหาที่ 3

  ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและจุดด้อยของ
การออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีการ
เรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม และกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
จุดเด่นกลุ่มพฤติกรรมนิยม


       จุดเด่นของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน
จากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ สื่อจะมี
ลักษณะที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมและเกิด
พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เชื่อมโงกับสภาพแวดล้อม สิ่งเร้า
จุดด้อยกลุ่มพฤติกรรมนิยม


           จุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน
จากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ แนวคิด
กลุ่มนี้จะเน้นการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมและมีการวางเงื่อนไข
ซึ่งสื่อก็จะต้องขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมและอาจจะเกิดปัญหา
เนื่องจากสิ่งแวดล้อมไม่เอื้ออานวยได้
จุดเด่นกลุ่มพุทธิปัญญานิยม


        จุดเด่นของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจาก
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม คือ ลักษณะสื่อ
จะเน้นกระบวนการคิดของผู้เรียน เช่น สื่อที่เป็นโจทย์ปัญหา
เป็นต้น ซึ่งให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถ
ด้วยตนเอง
จุดด้อยกลุ่มพุทธิปัญญานิยม

         จุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจาก
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม คือ สื่อไม่สามารถ
ได้กับเด็กทุกคนแม้จะมีอายุเท่ากัน เพราะเด็กแต่คนมี
พัฒนาการทางกระบวนการคิดที่แตกต่างกัน
จุดเด่นกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์


     จุดเด่นของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน
จากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ ลักษณะ
สื่อเป็นการจัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนได้ถกเถียงปัญหา ซักค้านจนกระทั่ง
หาเหตุผล หรือหลักฐานในเชิงประจักษ์มาขจัดความขัดแย้งทาง
ปัญญาภายในตนเอง และระหว่างบุคคลได้
จุดด้อยกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์

     จุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน
จากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ ผู้เรียน
จะต้องมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาและความรู้ที่จะใช้ซักค้าน
หรือหาเหตุผล หากไม่มีสิ่งดังกล่าวจะไม่สามารถบรรลุจุดประสงค์
ของสื่อนั้นๆได้
ปัญหาที่ 4

จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนี้ให้ท่านจาแนกประเภทตามลักษณะการ
ออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการ
สอน ชุดสร้างความรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตาม
แนวคอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอน
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบร่วมมือกัน
เรียนรู้
บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน
              บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

การออกแบบการสอนที่มพื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้
                   ี
            กลุ่มพฤติกรรมนิยม


เกณฑ์การจาแนก คือ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ
          จดจา เน้นเนื้อหาเป็นสาคัญ


    เหตุผลการจาแนก คือ บทเรียนโปรแกรมจะ
    เน้นให้จดจาเนื้อหาและดาเนินการสอนตามที่
                    ผู้สอนวางไว้
- ชุดสร้างความรู้
       - มัลติมเี ดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 - เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
              - การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้



การออกแบบการสอนที่มพื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้
                   ี
           กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
เกณฑ์การจาแนก คือ
            1. สื่อลักษณะนี้จะเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
            2. ผู้เรียนสามารถเปลี่ยนมุมมองได้หลากหลาย
            3. เน้นการพัฒนากระบวนการคิดที่เป็นอิสระ
            4. ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง



เหตุผลการจาแนก คือ สื่อข้างต้นมีความสอดคล้องกับกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
 เพราะจะเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้อย่างอิสระ
          เรียนรู้จากการปฏิบัติของตนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ผู้จัดทา



1. นางสาวนพเก้า แมขุนทดรหัส 543050024-6
2. นางสาวปภัสรา เครือละม้ายรหัส 543050030-1
3. นางสาวปานตา นรินยารหัส 543050034-3
      สาขาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
                 มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนนู๋หนึ่ง nooneung
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3Bell Bella
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7hadesza
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้Prachyanun Nilsook
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาKedsarin
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...นู๋หนึ่ง nooneung
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5nattawad147
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 

What's hot (20)

บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 

Similar to Ppt

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่Jiramet Ponyiam
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to Ppt (20)

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
201701 presentation
201701 presentation201701 presentation
201701 presentation
 

Ppt

  • 3. กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอน เร่งเร้าความสนใจ บอกวัตถุประสงค์ ทบทวนความรู้เดิม นาเสนอเนื้อหาใหม่ ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับ ทดสอบความรู้ใหม่ สรุปนาไปใช้
  • 4. พื้นฐานที่สาคัญในการเปลี่ยนกระบวน ทัศน์ การพัฒนาทางเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ทาให้การใช้ชีวิต ของคนในยุคปัจจุบันเปลี่ยนไป ทุกคนสามารถแสวงหาความรู้ได้อย่าง รวดเร็วเป็นยุคที่มีการแข่งขันกันสูง ทาให้กระบวนทัศน์การออกแบบ การสอนจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมสอดคล้องกับ ยุคสมัย เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถอยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ
  • 6. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญในการออกแบบการสอน การเรียนรู้ตาม การเรียนรู้ตามแนว พฤติกรรมนิยม คอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้ตามแนว พุทธิปัญญานิยม
  • 7. การเรียนรู้ตาม พฤติกรรมนิยม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลอันเนื่องมาจาก ประสบการณ์ที่คนเรา มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือ จากการฝึกหัด
  • 8. การเรียนรู้ตามแนว พุทธิปัญญานิยม การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนเกิดจากการจัดระเบียบ ขยาย ความคิด และจัดหมวดหมู่ของความจาลง สู่โครงสร้างทางปัญญา โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวน การคิด การให้เหตุผลของ ผู้เรียนซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าภายนอกกับสิ่งเร้าภายใน คือ ส่งผ่านสื่อไปยังความรู้ความเข้าใจ กระบวนการรู้ การคิดที่ช่วย ส่งเสริมการเรียนรู้
  • 9. การเรียนรู้ตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยการสร้างความรู้จะเกิดขึ้นเมื่อ ผู้เรียนได้สร้างสิ่งที่แทนความรู้ความจาในระยะทางานอย่าง ตื่นตัว
  • 10. ปัญหาที่ 3 ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและจุดด้อยของ การออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีการ เรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม กลุ่มพุทธิปัญญานิยม และกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
  • 11. จุดเด่นกลุ่มพฤติกรรมนิยม จุดเด่นของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน จากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ สื่อจะมี ลักษณะที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมและเกิด พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เชื่อมโงกับสภาพแวดล้อม สิ่งเร้า
  • 12. จุดด้อยกลุ่มพฤติกรรมนิยม จุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน จากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ แนวคิด กลุ่มนี้จะเน้นการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมและมีการวางเงื่อนไข ซึ่งสื่อก็จะต้องขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมและอาจจะเกิดปัญหา เนื่องจากสิ่งแวดล้อมไม่เอื้ออานวยได้
  • 13. จุดเด่นกลุ่มพุทธิปัญญานิยม จุดเด่นของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจาก ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม คือ ลักษณะสื่อ จะเน้นกระบวนการคิดของผู้เรียน เช่น สื่อที่เป็นโจทย์ปัญหา เป็นต้น ซึ่งให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถ ด้วยตนเอง
  • 14. จุดด้อยกลุ่มพุทธิปัญญานิยม จุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจาก ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม คือ สื่อไม่สามารถ ได้กับเด็กทุกคนแม้จะมีอายุเท่ากัน เพราะเด็กแต่คนมี พัฒนาการทางกระบวนการคิดที่แตกต่างกัน
  • 15. จุดเด่นกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ จุดเด่นของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน จากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ ลักษณะ สื่อเป็นการจัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนได้ถกเถียงปัญหา ซักค้านจนกระทั่ง หาเหตุผล หรือหลักฐานในเชิงประจักษ์มาขจัดความขัดแย้งทาง ปัญญาภายในตนเอง และระหว่างบุคคลได้
  • 16. จุดด้อยกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ จุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน จากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ ผู้เรียน จะต้องมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาและความรู้ที่จะใช้ซักค้าน หรือหาเหตุผล หากไม่มีสิ่งดังกล่าวจะไม่สามารถบรรลุจุดประสงค์ ของสื่อนั้นๆได้
  • 17. ปัญหาที่ 4 จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนี้ให้ท่านจาแนกประเภทตามลักษณะการ ออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการ สอน ชุดสร้างความรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตาม แนวคอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบร่วมมือกัน เรียนรู้
  • 18. บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การออกแบบการสอนที่มพื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้ ี กลุ่มพฤติกรรมนิยม เกณฑ์การจาแนก คือ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ จดจา เน้นเนื้อหาเป็นสาคัญ เหตุผลการจาแนก คือ บทเรียนโปรแกรมจะ เน้นให้จดจาเนื้อหาและดาเนินการสอนตามที่ ผู้สอนวางไว้
  • 19. - ชุดสร้างความรู้ - มัลติมเี ดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ - เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย - การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ การออกแบบการสอนที่มพื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้ ี กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
  • 20. เกณฑ์การจาแนก คือ 1. สื่อลักษณะนี้จะเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 2. ผู้เรียนสามารถเปลี่ยนมุมมองได้หลากหลาย 3. เน้นการพัฒนากระบวนการคิดที่เป็นอิสระ 4. ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง เหตุผลการจาแนก คือ สื่อข้างต้นมีความสอดคล้องกับกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ เพราะจะเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้อย่างอิสระ เรียนรู้จากการปฏิบัติของตนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
  • 21. ผู้จัดทา 1. นางสาวนพเก้า แมขุนทดรหัส 543050024-6 2. นางสาวปภัสรา เครือละม้ายรหัส 543050030-1 3. นางสาวปานตา นรินยารหัส 543050034-3 สาขาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น