SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ จำนวนข้อสอบ 20 ข้อ
แม่เหล็กที่มีรูปร่างลักษณะ ดังภาพ เป็นแม่เหล็กชนิดใด 1 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก. แม่เหล็กรูปวงแหวน       ข. แม่เหล็กรูปเม็ดกระดุม 	 	       ค.  แม่เหล็กรูปห่วง
ถ้านำแม่เหล็กเข้าใกล้วัตถุในข้อใด แม่เหล็กจะดึงดูดวัตถุนั้น 2 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก. ดินสอ       ข. ยางลบ	 	       ค. ลวดเสียบกระดาษ
ถ้านำแม่เหล็กที่มีขั้วเดียวกันเข้าใกล้กัน	 เขียนแสดงแรงระหว่างแม่เหล็กได้ดังข้อใด 3 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.        ข.         ค. 
ถ้านำแม่เหล็กที่มีขั้วต่างกันเข้าใกล้กัน เขียนแสดงแรงระหว่างแม่เหล็กได้ตามข้อใด 4 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.        ข.         ค. 
เข็มทิศ ใช้ประโยชน์จากสมบัติของแม่เหล็กในข้อใด 5 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก. สมบัติการวางตัวในแนวเหนือ – ใต้        ข. สมบัติการดึงดูดวัตถุบางชนิด       ค. สมบัติการดึงดูดหรือผลักแม่เหล็กด้วยกัน
6 ข้อใดไม่ใช่สารแม่เหล็ก หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  เหล็ก       ข.  นิกเกิล        ค.  สังกะสี
ถ้านำแม่เหล็กไปเข้าใกล้สร้อยทองผลจะเป็นอย่างไร 7 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  แม่เหล็กไม่ดึงดูดสร้อยทอง       ข.  แม่เหล็กดึงดูดสร้อยทอง        ค.  แม่เหล็กมีแรงผลักสร้อยทอง
ข้อใดจัดกลุ่มวัสดุโดยใช้สมบัติของแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ได้ถูกต้อง 8 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก. แม่เหล็กดึงดูด – เส้นลวด   เข็มหมุด       ข. แม่เหล็กดึงดูด – แผ่นกระดาษ   คลิป       ค. แม่เหล็กไม่ดึงดูด – หนังยาง   ตะปู
9 สิ่งของในข้อใดใช้ประโยชน์จากแม่เหล็ก หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  ตู้เย็น       ข.  เก้าอี้โยก       ค.  รองเท้าผ้าใบ
10 วางแม่เหล็กดังข้อใดให้ผลต่างจากข้ออื่น หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.   S	  N S	  N       ข.   S	  N S	  N       ค.   S	  N N	  S
เอ๋ใช้ไม้บรรทัดพลาสติกถูกับกระดาษเยื่อ	 หลายๆ ครั้ง เมื่อนำปลายไม้บรรทัดด้านที่ขัดถูเข้าใกล้เศษกระดาษชิ้นเล็กๆ ผลจะเป็นอย่างไร 11 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  ปลายไม้บรรทัดดูดเศษกระดาษ       ข.  เศษกระดาษปลิว       ค. ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
จากการทดลองในข้อ 11 เมื่อใช้ไม้บรรทัดพลาสติกขัดถูกับกระดาษเยื่อ ทำให้เกิดแรงในข้อใด 12 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  แรงแม่เหล็ก       ข.  แรงทางไฟฟ้า       ค.  แรงดึง – แรงผลัก
เพราะเหตุใดในฤดูหนาว เสื้อผ้าที่เราสวมจะถูกดูดติดตัวของเรา 13 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  เสื้อหดเล็กลง       ข.  เกิดไฟฟ้าสถิต       ค. ขนลุกเพราะอากาศหนาว
แรงไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากการขัดถูไม่สามารถดูดสิ่งใดได้ 14 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  เศษกระดาษชิ้นเล็กๆ       ข.  แท่งดินสอ       ค.  ขนที่แขน
15 จากข้อ 14 เป็นเพราะเหตุใด หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก. ไม่ทำปฏิกิริยากับกระดาษ       ข. ไม่ทำปฏิกิริยากับขน       ค.  มีน้ำหนักมาก
16 ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของแรงไฟฟ้าสถิต หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  เกิดขึ้นชั่วครู่แล้วจะหายไป       ข.  เกิดขึ้นบริเวณที่ขัดถูเท่านั้น       ค.  เกิดขึ้นกับวัตถุทุกชนิดที่ขัดถู
17 ข้อใดเกี่ยวกับแรงไฟฟ้า หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  แม่เหล็กดูดคลิปหนีบกระดาษ       ข. ไม้บรรทัดที่ถูกขัดถูดูดขนที่แขน       ค. รถบังคับวิทยุแล่นได้
วัตถุในข้อใดไม่เกิดแรงทางไฟฟ้าเมื่อนำมาถูกับผ้าสักหลาด 18 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  ลูกโป่ง       ข.  ดินสอไม้       ค. ไม้บรรทัดพลาสติก
ถ้าเรานำปลายไม้บรรทัดมาถูด้วยผ้าแห้งกับผ้าเปียก แล้วไปจ่อใกล้ๆ กับกระดาษ ปลายด้านใดจะดูดกระดาษ 19 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.   ด้านที่ถูกับผ้าแห้ง       ข.   ด้านที่ถูกับผ้าเปียก       ค.  ไม่ดูดทั้งสองด้าน
แรงไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร 20 หน่วยที่ 7 แรงในธรรมชาติ       ก.  วางแม่เหล็กต่างขั้วไว้ใกล้กัน       ข.  วางวัตถุเย็นใกล้กับวัตถุร้อน       ค.  นำวัตถุบางชนิดที่แห้งมาขัดถูกัน
<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>

More Related Content

More from ปาริชาติ เภสัชชา

แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวนแนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
ปาริชาติ เภสัชชา
 
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบแนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
ปาริชาติ เภสัชชา
 

More from ปาริชาติ เภสัชชา (20)

แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวนแนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 8 การเรียงลำดับจำนวน
 
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบแนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
แนวการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 7 การเปรียบเทียบ
 
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่  6หน่วยที่  6
หน่วยที่ 6
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่  5หน่วยที่  5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่  4หน่วยที่  4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่  3หน่วยที่  3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่  2หน่วยที่  2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 13
หน่วยที่ 13หน่วยที่ 13
หน่วยที่ 13
 
หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 

หน่วยที่ 7