SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
บทที่ 2
                                  เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง
                                                 ั ่

        การวิจยครั้งนี้ผวจยได้ศึกษาปั ญหาจากการสังเกตการใช้ภาษาของครู และนักเรี ยน การใช้
              ั         ู้ ิ ั
ประสบการณ์ของผูวจย และการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องเพื่อนามาประกอบการศึกษา
                ้ิั                                     ั
ดังนี้
             1. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
             2. การเรี ยนรู้แบบโครงงาน
             3. การเรี ยนรู้โดยใช้ผงความคิด
                                    ั
             4. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                            ั


หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐานและกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                              ้
            กรมวิชาการ (2544: 1-2) ได้ให้เหตุผลในการจัดทาหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไว้วา ความ  ่
เจริ ญก้าวหน้าทางวิทยาการด้านต่างๆ ของโลกยุคโลกาภิวฒน์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
                                                                ั
เศรษฐกิจของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วย จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องปรับปรุ งหลักสู ตรการศึกษาของ
ชาติซ่ ึงถือเป็ นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ เพื่อสร้างคนไทยให้เป็ นคนดี มี
ปั ญญา มีความสุ ข มีศกยภาพ พร้อมที่จะแข่งขันและร่ วมมืออย่างสร้างสรรค์ในเวทีโลก ประกอบกับ
                           ั
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดให้การศึกษาเป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้เพื่อความเจริ ญ
งอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู ้ การฝึ ก การอบรม การสื บสานทางวัฒนธรรม การ
สร้างสรรค์ ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อนเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมทางสังคมแห่ง
                                                                  ั
การเรี ยนรู ้ และปั จจัยเกื้อหนุ นให้บุคคลเกิดการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ งร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู ้และคุณธรรม มีจริ ยธรรมและวัฒนธรรมในการ
                     ั
ดารงชีวิต สามารถอยูร่วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุ ขและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2544:
                         ่          ้
คานา)
ได้กล่าวถึง แนวทางการจัดการศึกษาว่าในกระบวนการจัดการศึกษานับว่าการปฏิรูปการเรี ยนรู ้น้ นถือว่า       ั
ผูเ้ รี ยนสาคัญที่สุดสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้เป็ นหัวใจของการปฏิรูปการศึกษา
            กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็ นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผเู ้ รี ยน
มีความรู้ ความเข้าใจ มีทกษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการดารงชีวต และรู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถ
                              ั                                     ิ
นาความรู ้เกี่ยวกับการดารงชี วต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทางานอย่างมีความคิด
                                  ิ
สร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทางาน และมี
เจตคติที่ดีต่อการทางาน สามารถดารงชีวิตอยูในสังคมได้อย่างพอเพียง
                                                 ่                                      และมีความสุ ข
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบองค์รวม เพื่อให้มีความรู ้
                                                            ่
ความสามารถ มีทกษะในการทางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมี
                  ั
ประสิ ทธิ ภาพ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้
           การดารงชีวตและครอบครัว เป็ นสาระเกี่ยวกับการทางานในชีวตประจาวัน ช่วยเหลือตนเอง
                          ิ                                                ิ
ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม เน้นการปฏิบติจริ งจนเกิดความ
                                                                                   ั
มันใจและภูมิใจในผลสาเร็ จของงาน เพื่อให้คนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง
  ่                                         ้
           การออกแบบและเทคโนโลยี เป็ นสาระการเรี ยนรู ้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของมนุษย์
                                       ั
อย่างสร้างสรรค์ โดยนาความรู ้มาใช้กบกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่ งของ เครื่ องใช้ วิธีการ หรื อเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพในการดารงชีวิต
           เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เป็ นสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การติดต่อสื่ อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ขอมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อการสร้างงาน คุณค่า
                                              ้
และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
           การอาชีพ เป็ นสาระที่เกี่ยวข้องกับทักษะที่จาเป็ นต่ออาชี พ เห็นความสาคัญของคุณธรรม
จริ ยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต และเห็น
แนวทางในการประกอบอาชีพ


       สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
         สาระที่ 1 การดารงชีวตและครอบครัว
                                   ิ
         มาตรฐาน ง1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะ
                                                                ั
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้
มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และ
สิ่ งแวดล้อมเพื่อการดารงชีวตและครอบครัว
                                ิ
           สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
           มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้าง
สิ่ งของเครื่ องใช้ หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้
เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วม ในการจัดการเทคโนโลยี
ที่ยงยืน
     ั่
           สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
           มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
สื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
 ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม
สาระที่ 4 การอาชีพ
        มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ
                                 ั
ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชี พ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

การจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน

             การเรี ยนรู้แบบโครงงานเป็ นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรื อการค้นคว้าหาคาตอบในสิ่ งที่
ผูเ้ รี ยนอยากรู ้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่างๆ เป็ นวิธีการเรี ยนรู้ที่ผเู้ รี ยนได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเอง
หรื อของกลุ่ม เป็ นการตัดสิ นใจร่ วมกัน จนได้ชิ้นงานที่สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ได้ในชีวตจริ ง         ิ
             การเรี ยนรู้แบบโครงงาน เป็ นการเรี ยนรู ้ที่ใช้เทคนิคหลากหลายรู ปแบบนามาผสมผสานกัน ได้แก่
กระบวนการกลุ่ม การฝึ กคิด การแก้ปัญหา การเน้นกระบวนการ การสอนแบบปริ ศนาความคิด และการ
สอนแบบร่ วมกันคิด ทั้งนี้มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้เรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจากความสนใจอยากรู ้อยากเรี ยนของ
ผูเ้ รี ยนเอง โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูลงมือปฏิบติกิจกรรมต่างๆ เพื่อ
                                                                                       ้       ั
ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง เป็ นการเรี ยนรู ้ที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู ้
เบื้องต้น ผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ปความรู้ได้ดวยตนเอง ซึ่งความรู้ที่ผเู้ รี ยนได้มาไม่จาเป็ นต้องตรงกับตารา แต่
                                             ้
ผูสอนจะสนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาค้นคว้าเพิมเติมจากแหล่งการเรี ยนรู ้และปรับปรุ งความรู ้ท่ีได้ให้สมบูรณ์
    ้                                              ่
             การเรี ยนรู้แบบโครงงาน เป็ นการเรี ยนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม
(Bloom) ทั้ง 6 ขั้น และยังเป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญในทุกขั้นตอนของการเรี ยนรู ้ ตั้งแต่
การวางแผนการเรี ยนรู้ การออกแบบการเรี ยนรู้ การสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงาน
โดยผูสอนมีบทบาทเป็ นผูจดการเรี ยนรู้ แนวคิด 6 ขั้นของบลูม คือ
          ้                    ้ั
             1. ความรู้ความจา (Knowledge)
             2. ความเข้าใจ (Comprehension)
             3. การนาไปใช้ (Application)
             4. การวิเคราะห์ (Analysis)
             5. การสังเคราะห์ (Synthesis)
             6. การประเมินค่า (Evaluation)
กระบวนการของกิจกรรมการเรี ยนรู้ แบบโครงงาน
             กระบวนการแบ่งเป็ น 3 ระยะใหญ่ๆ ด้วยกันคือ
             ระยะที่ 1 การเริ่มต้ นโครงงาน
             เป็ นระยะที่ผสอนต้องสังเกต/สร้างความสนใจให้เกิดขึ้นในตัวผูเ้ รี ยนจากนั้นตกลงร่ วมกัน เลือก
                          ู้
เรื่ องที่ตองการศึกษาอย่างละเอียด ผูสอนสร้างความสนใจให้เกิดกับผูเ้ รี ยนซึ่ งมีหลายวิธี โดยอาจศึกษาเรื่ อง
           ้                           ้
จากการบอกเล่าของผูใหญ่หรื อผูรู้ จากประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน/ผูสอน จากเอกสารสิ่ งพิมพ์ หรื อสื่ อต่างๆ
                                ้         ้                                ้
จากการเล่นของผูเ้ รี ยน จากความคิดที่เกิดขึ้น จากวัตถุสิ่งของที่ผสอนนามาในห้องเรี ยน หรื อจากตัวอย่าง
                                                                        ู้
โครงงานที่ผอื่นทาไว้แล้ว เป็ นต้น เมื่อเกิดความสนใจแล้วก็จะถึงการกาหนดหัวข้อโครงงาน โดยนาเรื่ องที่
                  ู้
ผูเ้ รี ยนสนใจมาอภิปรายร่ วมกัน แล้วกาหนดเรื่ องนั้นเป็ นหัวข้อโครงงาน ทั้งนี้จะต้องคานึงว่าการกาหนด
หัวข้อโครงงานนั้นจะกระทาหลังจากการตรวจสอบสมมติฐานเสร็ จสิ้ นแล้ว
             ระยะที่ 2 ขั้นพัฒนาโครงงาน
              เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนกาหนดหัวข้อคาถาม หรื อประเด็นปั ญหา ที่ผเู้ รี ยนสนใจอยากรู้ แล้ว
ตั้งสมมติฐานมาตอบคาถามเหล่านั้น ทดสอบสมมติฐานด้วยการลงมือปฏิบติ จนค้นพบคาตอบด้วยตนเอง ั
ตามขั้นตอนดังนี้
             1. ผูเ้ รี ยนกาหนดปั ญหาที่จะศึกษา
             2. ผูเ้ รี ยนตั้งสมมติฐานเบื้องต้น
             3. ผูเ้ รี ยนตรวจสอบสมมติฐานเบื้องต้น
             4. สรุ ปข้อความรู้จากผลการตรวจสอบสมมติฐาน
             ในกรณี ที่ผลการตรวจสอบไม่เป็ นไปตามสมมติฐาน ผูสอนควรให้กาลังใจผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนไป
                                                                      ้
แสวงหาความรู ้เพิ่มเติม สิ่ งที่ไม่ควรกระทาคือการตาหนิหรื อกล่าวโทษ ผูสอนควรกระตุนให้ผเู้ รี ยนมี
                                                                                    ้          ้
กาลังใจจนสามารถตั้งสมมติฐานใหม่ได้ ในกรณี ที่ผลการตรวจสอบเป็ นไปตามสมมติฐาน ให้ผเู้ รี ยนสรุ ป
องค์ความรู ้จากการค้นพบด้วยการลงมือปฏิบติของผูเ้ รี ยนเองเมื่อได้องค์ความรู ้ใหม่แล้ว ผูเ้ รี ยนจะนาองค์
                                                    ั
ความรู ้น้ นไปใช้ในการทากิจกรรมตามความสนใจต่อไปได้ ผูเ้ รี ยนอาจใช้ความรู ้ที่คนพบเป็ นพื้นฐานของ
           ั                                                                               ้
การกาหนดประเด็น ปั ญหาขึ้นมาใหม่เพื่อ
กาหนดเป็ นโครงงานย่อย ศึกษารายละเอียดในเรื่ องนั้นต่อไปอีก
               ระยะที่ 3 ขั้นสรุ ป
               เป็ นระยะสุ ดท้ายของโครงงานที่ผเู้ รี ยนค้นพบคาตอบของปัญหาแล้ว และได้แสดงให้
ผูสอนเห็นว่าได้สิ้นสุ ดความสนใจในหัวข้อโครงงานเดิม และเริ่ มหันเหความสนใจไปสู่ เรื่ องใหม่ ระยะนี้
    ้
เป็ นระยะที่ผสอนและผูเ้ รี ยนจะได้แบ่งปั นประสบการณ์การทางานและแสดงให้เห็นถึงความสาเร็ จของการ
                   ู้
ทางานตลอดโครงงานแก่คนอื่นๆ มีกิจกรรมที่ผสอนให้ผเู ้ รี ยนดาเนินการในขั้นตอนนี้ ดังนี้
                                                      ู้
               1. ผูเ้ รี ยนเขียนรายงานเป็ นรู ปแบบงานวิจยเล็กๆ
                                                           ั
               2. ผูเ้ รี ยนนาเสนอผลงาน (แสดงเป็ นแผงโครงงาน) ให้ผสนใจรับรู้ สรุ ปและนาไปใช้ใน
                                                                             ู้
ชีวตประจาวัน
      ิ
ขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู้
              ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้แบบโครงงานมีดงนี้       ั
              1. ขั้นนาเสนอ หมายถึง ขั้นที่ผสอนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาใบความรู ้ กาหนดสถานการณ์ ศึกษา
                                                   ู้
สถานการณ์ เกม รู ปภาพ หรื อการใช้เทคนิคการตั้งคาถามเกี่ยวกับสาระการเรี ยนรู ้ที่กาหนดในแผนการ
จัดการเรี ยนรู ้แต่ละแผน เช่น สาระการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรและสาระการเรี ยนรู ้ที่เป็ นขั้นตอนของโครงงาน
เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนการเรี ยนรู้
             2. ขั้นวางแผน หมายถึง ขั้นที่ผเู ้ รี ยนร่ วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารื อ
ข้อสรุ ปของกลุ่มเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบติ          ั
             3. ขั้นปฏิบติ หมายถึง ขั้นที่ผเู ้ รี ยนปฏิบติกิจกรรมเขียนสรุ ปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการ
                         ั                                ั
วางแผนร่ วมกัน
             4. ขั้นประเมินผล หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง โดยให้บรรลุ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีครู ผูเ้ รี ยนและเพื่อนร่ วมกันประเมิน

          แนวทางการจัดการเรี ยนรู้
          การจัดการเรี ยนรู้แบบโครงงาน มี 2 แนวทาง ดังนี้

          1. การจัดกิจกรรมตามความสนใจ

                                                                                              ่
           เป็ นการจัดกิจกรรมที่ให้ผเู ้ รี ยนเลือกศึกษาโครงงานจากสิ่ งที่สนใจอยากรู ้ท่ีมีอยูใน
ชีวตประจาวัน สิ่ งแวดล้อมในสังคม หรื อจากประสบการณ์ต่างๆ ที่ยงต้องการคาตอบ ข้อสรุ ป ซึ่ งอาจจะอยู่
   ิ                                                              ั
นอกเหนือจากสาระการเรี ยนรู้ในบทเรี ยนของหลักสู ตร มีข้ นตอนดังต่อไปนี้
                                                           ั
          1) ตรวจสอบ วิเคราะห์ พิจารณา รวบรวมความสนใจแก่ผเู ้ รี ยน
          2) กาหนดประเด็นปั ญหา/หัวข้อเรื่ อง
          3) กาหนดวัตถุประสงค์
          4) ตั้งสมมติฐาน
          5) กาหนดวิธีการศึกษาและแหล่งความรู ้
          6) กาหนดเค้าโครงของโครงงาน
          7) ตรวจสอบสมมติฐาน
         8) สรุ ปผลการศึกษาและการนาไปใช้
         9) เขียนรายงานเชิงวิจยง่ายๆ
                               ั
        10) จัดแสดงผลงาน
2. การจัดกิจกรรมตามสาระการเรี ยนรู้
           เป็ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยยึดเนื้อหาสาระตามที่หลักสู ตรกาหนด ผูเ้ รี ยนเลือกทา
โครงงานตามสาระการเรี ยนรู ้ จากหน่วยเนื้ อหาที่เรี ยนในชั้นเรี ยน นามาเป็ นหัวข้อโครงงาน
มีข้ นตอนที่ผสอนดาเนิ นการดังต่อไปนี้
     ั         ู้
           1) เริ่ มจากศึกษาเอกสารหลักสู ตร คู่มือครู
           2) วิเคราะห์หลักสู ตร
           3) วิเคราะห์คาอธิ บายรายวิชา เพื่อแยกเนื้อหา จุดประสงค์ และกิจกรรมให้เด่นชัด
           4) จัดทากาหนดการสอน
           5) เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้
           6) ผลิตสื่ อ จัดหาแหล่งการเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
           7) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ดังนี้
                7.1) แจ้งจุดประสงค์ เนื้อหาของหลักสู ตรให้ผเู ้ รี ยนทราบ
                7.2) กระตุนความสนใจของผูเ้ รี ยนในขอบเขตของเนื้อหาและจุดประสงค์ในหลักสู ตร
                               ้
               7.3) จัดกลุ่มผูเ้ รี ยนตามความสนใจ
               7.4) ผูสอนใช้คาถามเพื่อกระตุนให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เช่น
                         ้                              ้
                  ♦ ทาไมผูเ้ รี ยนจึงสนใจอยากเรี ยนเรื่ องนี้ (แนวคิด/แรงดลใจ)
                  ♦ ผูเ้ รี ยนสนใจเกี่ยวกับอะไรบ้าง (กาหนดเนื้อหา)
                  ♦ ผูเ้ รี ยนอยากเรี ยนรู ้เรื่ องนี้ เพื่ออะไร (กาหนดจุด ประสงค์)
                  ♦ ผูเ้ รี ยนจะทาอย่างไรจึงจะเรี ยนรู ้ได้ในเรื่ องนี้ (กาหนดวิธีศึกษา/กิจกรรม)
                  ♦ ผูเ้ รี ยนจะใช้เครื่ องมืออะไรบ้างในการศึกษาครั้งนี้ (กาหนดสื่ ออุปกรณ์)
                  ♦ ผูเ้ รี ยนจะไปศึกษาที่ใดบ้าง (กาหนดแหล่งความรู ้ แหล่งข้อมูล)
                  ♦ ผลที่ผเู ้ รี ยนคาดว่าจะได้รับคืออะไรบ้าง (สรุ ปความรู้/สมมติฐาน)
                                                           ่
                  ♦ ผูเ้ รี ยนจะทาอย่างไรจึงจะรู ้วาผลงานของผูเ้ รี ยนดีหรื อไม่ดีอย่างไร จะให้ใครเป็ นผูประเมิน
                                                                                                         ้
(กาหนดการวัดและประเมินผล)
                  ♦ ผูเ้ รี ยนจะเผยแพร่ ผลงานให้ผอื่นรู ้ได้อย่างไร (นาเสนอผลงาน รายงาน)
                                                             ู้
              7.5) ผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาตามที่ตกลงกันไว้ (จากคาถามที่ผสอนซักถาม) ภายใต้กรอบเวลา
                                                                                  ู้
ในแต่ละครั้ง ถ้ายังไม่สาเร็ จให้ศึกษาต่อในคาบต่อไป
             7.6) ผูเ้ รี ยนทุกคนต้องสรุ ปองค์ความรู้ได้ดวยการเรี ยนของผูเ้ รี ยนและสามารถนาเสนอความรู้ที่
                                                                   ้
ได้แก่เพื่อนๆ และผูสอนได้  ้
            7.7) ผูเ้ รี ยนเขียนรายงานเชิงวิจยแบบง่ายๆ และแสดงแผงโครงงาน
                                                    ั
8) ผูสอนจัดแหล่งความรู ้เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยงขึ้น
              ้                                    ิ่
       9) ผูสอนเขียนบันทึกผลการเรี ยนรู้
            ้
       บทบาทของครู ทปรึ กษา
                         ี่
       1. ใช้วธีการต่างๆที่จะกระตุนให้นกเรี ยนคิดหัวข้อเรื่ องโครงงาน
               ิ                  ้     ั
       2. จัดหาสิ่ งอานวยความสะดวก วัสดุอุปกรณ์ในการทางาน
       3. ติดตามการทางานอย่างใกล้ชิด เด็กประถมควรคานึงถึงความปลอดภัยเป็ นสิ่ งสาคัญ
       4. ให้กาลังใจในกรณี ที่ลมเหลว ควรแก้ปัญหาต่อไป
                               ้
       5. ชี้แนะแหล่ขอมูล แหล่งความรู ้ ผูรู้ เอกสารต่างๆในการศึกษาค้นคว้า
                       ้                  ้
       6. ประเมินผลงาน ส่ งผลงานเข้าประกวด จัดเวทีให้แสดงความรู ้ ความสามารถ
        การเสนอผลงานโครงงาน
       ให้นกเรี ยนผูทาโครงงานได้เสนอผลงาน เป็ นการเผยแพร่ ผลงาน กิจกรรมนี้จะส่ งเสริ มให้นกเรี ยน
            ั       ้                                                                     ั
มีความกล้าแสดงออก เชื่ อมันในผลงาน ตอบข้อซักถาม การเสนอผลงานมีหลายลักษณะ คือ
                          ่
        1. บรรยายประกอบแผ่นใส/ สไลด์
        2. บรรยายประกอบแผงโครงงาน
        3. จัดนิทรรศการ
          การเขียนรายงานโครงงาน
          การเรี ยนรายงานโครงงาน เป็ นการเสนอผลงานที่นกเรี ยนได้ศึกษาค้นคว้ามาโดยตลอดจนงาน
                                                            ั
เสร็ จสมบูรณ์ หัวข้อในการเขียนโครงงาน มีดงนี้
                                          ั
          1. ชื่อโครงงาน
          2. ชื่อผูจดทาโครงงาน /
                   ้ั                  โรงเรี ยน / พ.ศ. ที่จดทา
                                                              ั
          3. ชื่อครู ที่ปรึ กษา
          4. บทคัดย่อ(บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ประกอบด้วย เรื่ อง / วัตถุประสงค์ / วิธีการศึกษา / สรุ ปผล)
          5. กิตติกรรมประกาศ (แสดงความขอบคุณบุคคล หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ)
          6. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
          7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
          8. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า
          9. วิธีการดาเนินการ
        10. ผลการศึกษาค้นคว้า
        11. สรุ ปผล
        12. ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ
        13. เอกสารอ้างอิง
ประเภทของโครงงาน

         โครงงานโดยทัวไปแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ๔ ประเภท ได้แก่
                     ่

         • โครงงานสารวจหรือรวบรวมข้ อมูล ผูเ้ รี ยนที่จดทาโครงงานประเภทนี้ มีจุดประสงค์เพื่อสารวจ
                                                           ั
และเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องที่กาลังศึกษา หรื องานที่กาลังทา โดยมีระบบในการจาแนกและนาเสนอ
เพื่อความชัดเจน วิธีการใช้อาจเป็ นการสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การสารวจจากสภาพจริ ง เพื่อนามา
พัฒนาปรับปรุ งหรื อส่ งเสริ มเพื่อให้ได้ผลดียงขึ้นเช่น ศึกษาเรื่ องเล่าในท้องถิ่น
                                             ิ่

          • โครงงานประเภทศึกษาค้ นคว้า ผูเ้ รี ยนที่จดทาโครงงานประเภทนี้ มีจุดประสงค์เพื่อแสวงหา
                                                      ั
ความรู้ ตรวจสอบข้อเท็จจริ ง พิสูจน์ทฤษฎีหรื อเรื่ องเล่าต่างๆ จากการศึกษาค้นคว้าทั้งจากแหล่งวิทยาการ
ต่างๆ เช่น ห้องสุ ด สถาบันการศึกษา แหล่งเรี ยนรู ้ประเภทเอกสาร เช่น ตารา รายงานการค้นคว้าทางวิชาการ
หรื อเอกสารทางวิชาการและตัวบุคคล ได้แก่ผที่มีความรู ้ในเรื่ องนั้นโดยตรง ซึ่ งเป็ นแหล่งที่มีอางอิงข้อมูล
                                               ู้                                             ้
ชัดเจนและเชื่อถือได้ ผลที่ได้จากการค้นคว้าอาจไม่สมบูรณ์ครบถ้วน แต่เมื่อปรับปรุ งแก้ไขวิธีการที่ถูกต้อง
จากผูสอนแล้ว ก็สามารถเป็ นแม่แบบแม่บทในการเรี ยนหรื อการศึกษาค้นคว้าเพื่อแสวงหาความรู ้ดวยตนเอง
      ้                                                                                            ้
ในระดับชั้นที่สูงขึ้นหรื อนาใช้ในชีวตจริ งได้ เช่น ศึกษาประวัติบุคคลสาคัญ
                                    ิ

          • โครงงานทดลอง ผูเ้ รี ยนที่จดทาโครงงานประเภทนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ซ่ ึง
                                       ั
การทดลองอาจมีหลายขั้นตอนเพื่อให้ได้ขอมูลมาประกอบการตัดสิ นใจในเบ้องต้นแล้วจึงมีการศึกษา
                                         ้
ค้นคว้าต่อไป เช่น แต่งคาประพันธ์ร้อยกรอง โดยคิดกาหนดฉันท์

           • โครงงานสิ่ งประดิษฐ์ ผูเ้ รี ยนที่จดทาโครงงานประเภทนี้ จะได้รับการส่ งเสริ มให้สร้างสรรค์
                                                 ั
สิ่ งประดิษฐ์หรื อพัฒนาชิ้นงานโดยสิ่ งที่ผจดทาโครงงาจะได้รับคือส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์โดยการ
                                            ู้ ั
สังเกต วิเคราะห์กลวิธีในการจัดการต่างๆ แล้วพัฒนาหรื อสร้างชิ้นงานขึ้นใหม่เพื่อสนองความต้องการของ
                                        ่
สังคมตามความรู ้ความสามารถที่มีอยูหรื อที่ได้รับจากบทเรี ยน เช่น การเขียน หลักภาษา

การเรียนรู้ โดยใช้ ผงความคิด
                    ั
            ความหมายของเทคนิคผังความคิด (Mind Mapping)
            เทคนิคผังความคิด (Mind Mapping Technique) เป็ นเทคนิคที่พฒนาขึ้นโดย Buzan
                                                                       ั
ในปี ค.ศ. 1970 ซึ่ งเขาได้อธิ บายว่าในสมองของมนุษย์มีเซลล์ประสาทในสมองกว่าสิ บล้านเซลล์
และแต่ละเซลล์ความเชื่อมโยงกันด้วยส่ วนที่เรี ยกว่า Dendrite ที่ยนออกไปรอบทิศทางเพื่อรับข้อมูลจาก
                                                                ื่
เซลล์ประสาทเซลล์อื่น ๆ และ Axon ที่ใช้ในการส่ งข้อมูลไปยังเซลล์ประสาทเซลล์อื่น ๆ ทั้ง Dendrite
                                 ่
และ Axon จะมีการโยงใยกันอยูในสมองอย่างไม่มีที่สิ้นสุ ดซึ่ งการทางานในสมองมนุ ษย์ดงกล่าวนี้ Buzan
                                                                                    ั
                                                                               ่
เรี ยกว่า การคิดรอบทิศทาง (Rediant Thinking) เป็ นโครงสร้างและกระบวนการที่อยูภายในสมอง
คุณลักษณะสาคัญของผังความคิด
          Buzan (อ้างในสุ วทย์ มูลคา, 2547) ได้สรุ ปคุณลักษณะเฉพาะของผังความคิดไว้ 4
                                ิ
ลักษณะดังนี้
          1. ประเด็นที่สนใจถูกสร้างขึ้นภายในภาพตรงกลาง
                                           ่
          2. หัวข้อหลักของประเด็นอยูรอบภาพกลางทุกทิศทาง เปรี ยบเสมือนกิ่งก้านของต้นไม้
          3. กิ่งก้านประกอบด้วยภาพ หรื อคาสาคัญที่เขียนบนเส้นที่โยงใยกัน ส่ วนคาอื่น ๆ ที่มี
ความสาคัญรองลงมาจะถูกเขียนในกิ่งก้านที่แตกออกตามลาดับต่อ ๆ ไป
          4. กิ่งก้านจะถูกเชื่อมโยงกันในลักษณะที่แตกต่างกันตามตาแหน่ง และความสาคัญ
          สาระสาคัญของผังความคิด
          1. การเริ่ ม ในการเริ่ มสร้างผังความคิดต้องอาศัยการเริ่ มจากคาหรื อมโนทัศน์ที่จะเป็ น
ประเด็นหลักของการทาผังความคิด
          2. การใช้ ผังความคิดจะใช้ 3 องค์ประกอบย่อยดังนี้
               2.1 สาคัญเป็ นคาที่จะแสดงถึงสิ่ งซึ่ งต้องการเชื่ อมโยงหรื อเกี่ยวข้องกับคาหรื อ
มโนทัศน์ที่เป็ นประเด็นหลักโดยคาสาคัญไม่จากัดจะเป็ นคาที่มีความเป็ นนามธรรมหรื อรู ปแบบมากเท่าใด
               2.2 การเชื่อมโยง ในการทาแผนผังความคิดต้องแสดงถึงความเชื่อมโยงของคา
                   ่
สาคัญที่ปรากฏอยูบนผัง เพื่อจะทาให้ความคิดมีความต่อเนื่องและคาสาคัญมีความหมายมากขึ้น
โดยการเชื่ อมโยงนั้นสามารถใช้วธีการได้หลายวิธี เช่น การแสดงด้วยลักษณะของเส้น ลูกศร
                                     ิ
แบบต่าง ๆ หรื อใช้รหัสก็ได้
               2.3 การเน้นความสาคัญ เป็ นการทาให้ผทาผังความคิด สามารถลาดับความคิดให้
                                                           ู้
เป็ นระบบ รู ้ถึงความสาคัญมากน้อย หรื อลาดับก่อนหลังได้ โดยวิธีการนี้สามารถทาได้หลายวิธีเช่นกัน
เช่น การใช้ขนาดของตัวอักษร สี ต่าง ๆ กัน หรื ออาจใช้ตวหนังสื อที่มีมิติแตกต่างกัน
                                                              ั
          3. การเขียน การทาผังความคิดต้องมีการเขียนในลักษณะแตกต่างกันไปตามจุดประสงค์
ของผูสร้าง ซึ่ งไม่มีเพียงตัวหนังสื อหรื อคาเท่านั้น ควรต้องมีภาพประกอบ หรื อ สัญลักษณ์ต่าง ๆ
      ้
เพื่อทาให้เกิดความหมายมากยิงขึ้น   ่
          ขั้นตอนในการสร้ างผังความคิด
               ขั้นที่ 1 เริ่ มด้วยสัญลักษณ์ หรื อรู ปภาพลงบนกระดาษ
               ขั้นที่ 2 ระบุคาสาคัญหลัก
               ขั้นที่ 3 เชื่อมโยง คาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคาสาคัญหลักด้วยเส้นโยงจากคาสาคัญหลักตรง
กลางออกไปทุกทิศทุกทาง
               ขั้นที่ 4 เขียนคาที่ตองการ 1 คาต่อ 1 เส้น และแต่ละเส้นควรเกี่ยวข้องกับเส้นอื่น ๆ ด้วย
                                       ้
               ขั้นที่ 5 ขยายคาสาคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้มากที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้
               ขั้นที่ 6 ใช้สี รู ปภาพ ลักษณะของเส้น เป็ นการระบุถึงลักษณะความเชื่อมโยง
การเน้นหรื อลาดับ
          การนาผังความคิดมาใช้ ในงานต่ าง ๆ
                                                                     ่
          Buzan (อ้างใน ธัญญา ผลอนันต์, 2541:55-56) ได้เสนอไว้วา ผังความคิดนั้น
สามารถนามาใช้ประโยชน์ในงานต่าง ๆ ได้มากมาย ดังนี้
           1. การจดบันทึก การจดบันทึกโดยทัวไป คนส่ วนใหญ่มกใช้การจดบันทึกแบบตาม
                                                 ่                 ั
แนวนอน หรื อแนวตั้งทางเดียวตามส่ วนของภาษานั้น ๆ ทาให้ไม่ได้ประโยชน์จากการจดบันทึกอย่างเต็มที่
เนื่องจากไม่เห็นถึงจุดสาคัญ และความสัมพันธ์ของเนื้อหาอย่างชัดเจน แต่หากเปลี่ยนรู ปแบบการจดบันทึก
เป็ นแบบแผนที่ความคิด จะทาให้ผจดบันทึกเห็นถึงจุดสาคัญและความเชื่ อมโยงของเนื้อหา มีความเป็ น
                                  ู้
อิสระ จนเกิดความเข้าใจเนื้ อหานั้น ๆ มากขึ้น
           2. การตัดสิ นใจ ในการตัดสิ นใจทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง โดยปกติมกจะไม่สามารถเห็นถึง
                                                                         ั
ผลดีหรื อผลเสี ยได้ชดเจน ทาให้การตัดสิ นใจในบางครั้งเกิดความผิดพลาด เกิดผลเสี ยมากมายกับตนเอง
                     ั
และส่ วนร่ วมได้ แต่ถาใช้ผงความคิดประกอบการตัดสิ นใจผิดพลาดมีนอยลงด้วย
                       ้ ั                                             ้
           3. การเสนอผลงาน การเสนอผลงานที่ทาโดยทัวไป บางครั้งทาให้ผที่รับสาร
                                                           ่                   ู้
ไม่เข้าใจไม่เห็นภาพรวมหรื อองค์ประกอบของสิ่ งที่กาลังแสดง รวมไปถึงความเชื่อมโยงขององค์ประกอบ
ย่อยอีกด้วย แต่ถาใช้ผงความคิดในการเสนอผลงาน จะทาให้เห็นภาพรวมของสิ่ งที่ตองการแสดงรวมทั้ง
                  ้ ั                                                             ้
การเชื่อมโยงขององค์ประกอบ และมีการเน้นความสาคัญ ทาให้การเสนอผลงานเกิดประสิ ทธิ ภาพมาก
ยิงขึ้น
  ่
           4. การแก้ปัญหา เมื่อบุคคลพบกับปั ญหาแล้วไม่สามารถแก้ไขปั ญหาได้ เป็ นเพราะไม่
ทราบถึงสาเหตุที่แท้จริ ง และไม่สามารถคิดกระบวนการที่จะแก้ปัญหานั้น ๆ ได้ แต่ถาใช้ผงความคิดในการ
                                                                                    ้ ั
แก้ปัญหา ก็จะทาให้ผแก้ปัญหาสามารถรู ้ถึงสาเหตุที่แท้จริ งง่ายขึ้น และยังเชื่อมโยงสาเหตุกบปั ญหาได้ง่าย
                        ู้                                                              ั
ขึ้น รวมทั้งสามารถสร้างทางเลือกที่หลากหลายและยังสามารถลาดับวิธีการแก้ปัญหาได้สะดวก
           5. การวางแผน การวางแผนที่ตองอาศัยการวิเคราะห์ถึงปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับงานต่าง ๆ
                                           ้
ที่จะดาเนินการ เช่น จุดประสงค์ บุคคลที่เกี่ยวข้อง สถานที่ เวลาที่เหมาะสม เป็ นต้น เพราะฉะนั้นหากใช้
ผังความคิดในการวางแผนก็จะให้วเิ คราะห์ปัจจัยดังกล่าวได้ง่ายและครบถ้วนทาให้การวางแผนเกิด
ประสิ ทธิ ภาพมากยิงขึ้น
                   ่
            McClain (1986) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการนาเทคนิ คผังความคิดมาใช้ในการอธิ บายโครงสร้างของ
เนื้อหาวิชาก่อนทาการสอน ซึ่ งทาการศึกษากับนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย พบว่า
เทคนิคผังความคิดช่วยให้นกเรี ยนเข้าใจในมโนทัศน์ได้ดีข้ ึน รวมทั้งยังพบว่า มีส่วนช่วยในการจัดบรรยาย
                           ั
พัฒนาคุณภาพในการระดมสมองของนักศึกษา ทาให้การจดบันทึกชัดเจนและนักศึกษามี
                                                                           ่
ความคิดที่เป็ นอิสระมากขึ้น รวมทั้งยังช่วยเพิ่มความเข้าใจได้ดวย ถือได้วาเป็ นการพัฒนาความคิด
                                                             ้
สร้างสรรค์ของแต่ละบุคคลได้ดีอีกด้วย
่
             จากที่กล่าวมาจึงอาจสรุ ปได้วาการนาผังความคิดสามารถนามาใช้เป็ นพื้นฐานในการศึกษาเรื่ อง
ใดเรื่ องหนึ่งที่เราสนใจ หรื อนาไปแก้ปัญหาให้สาเร็ จได้อย่างมีระบบ
             สุ วทย์ มูลคา (2547:21-39) ใช้แสดงการเชื่ อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งระหว่าง
                  ิ
ความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ระหว่างความคิดหลัก
                                                                 ั
ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กนพัฒนาขึ้น โดย โทนี่ บูซาน (Tony Busan)
                                                  ั




                                   แผนภาพที่ 1 ลักษณะการเขียนผังความคิด
             เทคนิคการคิดคือ นาประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็ นหลัก การนาไปใช้
             1. ใช้ระดมพลังสมอง
             2. ใช้นาเสนอข้อมูล
             3. ใช้จดระบบความคิดและช่วยความจา
                       ั
             4. ใช้วเิ คราะห์เนื้อหาหรื องานต่าง ๆ
             5. ใช้สรุ ปหรื อสร้างองค์ความรู้
             ขั้นตอนการสร้ าง Mind Mapping
             1. เริ่ มเขียนหรื อวาดมโนทัศน์หลักหรื อหัวข้อเรื่ องตางกึ่งกลางหน้ากระดาษซึ่ งควรใช้
กระดาษชนิดไม่มีเส้นและวางแนวนอน (ภาพที่วาดควรเป็ นภาพสี )
                                                       ั
             2. เขียนหรื อวาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กบมโนทัศน์หลักหรื อหัวข้อเรื่ องกระจาย
ออกไปรอบ ๆ มโนทัศน์หลัก
                                          ่              ั
             3. เขียนหรื อวาดมโนทัศน์ยอยที่สัมพันธ์กบมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่ อย ๆ โดยเขียน
                                                                                     ั
ข้อความไว้บนเส้นแต่ละเส้น เส้นที่ใช้อาจเป็ นเส้นตรงหรื อเส้นโค้งก็ได้ แต่เส้นที่ใช้กบมโนทัศน์รองจะ
                                 ่
เป็ นเส้นที่ใหญ่กว่ามโนทัศน์ยอยซึ่ งเปรี ยบเสมือนรากไม้ที่แตกออกจากต้นไม้
             4. ควรใช้ภาพหรื อสัญลักษณ์สื่อความหมายที่เป็ นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด
5. เขียนหรื อพิมพ์คาด้วยตัวบรรจงขนาดใหญ่ คาที่นามาเขียนควรเป็ นสาคัญ
(Key Word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน
           6. เขียนคาเหนือเส้นและแต่ละเส้นต้องเชื่ อมต่อกับเส้นอื่น ๆ (กรณี ที่เขียนเป็ นภาพ
สี เส้นของมโนทัศน์รองและย่อยแต่ละมโนทัศน์ควรเป็ นสี เดียวกันตลอด)
           7. ระบายสี ให้ทว Mind Map
                           ั่
           8. ขณะที่เขียน Mind Map ควรปล่อยการคิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทา

งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
               ่
            จากงานวิจยที่เกี่ยวข้องที่ผวจยสามารถนามาเป็ นแนวทางในการวิจย คือ
                              ั             ู้ ิ ั                          ั
            วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2545 : 59) กล่าวว่า โครงงานเป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้รูปแบบหนึ่งที่
ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ดวยตนเองจากการลงมือปฏิบติ ใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ หรื อค้นคว้าหา
                                   ้                        ั
คาตอบในสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนอยากรู ้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2545: 15) ได้กล่าวถึง การจัดการเรี ยนการสอน
แบบโครงงาน คือ การจัดประสบการณ์ในการปฏิบติงานให้แก่นกเรี ยน เหมือนกับการทางานในชีวิตจริ ง
                                                          ั           ั
ให้นกเรี ยนมีประสบการณ์ตรงได้เรี ยนรู ้วธีแก้ปัญหา รู ้จกการทางานอย่างมีระบบ รู ้จกการวางแผนในการ
      ั                                            ิ          ั                    ั
ทางาน ฝึ กการคิดวิเคราะห์ และเกิดการเรี ยนรู ้ดวยตนเอง้
            ดุษิต พรหมชนะ (2546) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับการใช้กระบวนการสร้างแผนผังความคิดเพื่อ
ส่ งเสริ มความสามารถในการคิดและสร้างองค์ความรู ้ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
โรงเรี ยนปริ นส์ รอยแยลส์วทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างจานวน 52 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง
                                     ิ
แบบเจาะจง วิเคราะห์ขอมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าสถิติ T-test ผลของ
                                 ้
การใช้แผนการสอน พบว่านักเรี ยนมีความรู ้ในเนื้อหาหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่
                                                                                         ั
                                               ่
ระดับ .01 ความสามารถในการคิดอยูในระดับดี และความคิดเห็นของนักเรี ยนพบว่า นักเรี ยนเห็นด้วยว่า
การสร้างผังความคิดทาให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น
                                       ั
            ศิริพร พูแสงทองชัย (2546) ได้ทาวิจยเรื่ องผลการใช้เทคนิคผังความคิดที่มีต่อความคิด
                            ่                           ั
สร้างสรรค์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลการวิจยพบว่า ั
            1. หลังจากการทดลองใช้เทคนิคผังความคิดเพื่อส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์นกเรี ยน  ั
มีความคิดสร้างสรรค์โดยเฉลี่ยสู งขึ้นทุกด้าน
            2. หลังจากการทดลองใช้เทคนิคผังความคิดเพื่อส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ท้ ง        ั
12 แผน นักเรี ยนมีความคิดสร้างสรรค์หลังการทดลองสู งกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่
                                                                                     ั
ระดับ .001
่
             ชาตรี เกิดธรรม (2547: 5) กล่าวถึงความหมายของโครงงานไว้วา โครงงาน (Project)
เป็ นการจัดการเรี ยนรู้แบบหนึ่งที่ทาให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้ดวยตนเอง ได้ปฏิบติจริ งในลักษณะของการศึกษา
                                                                ้            ั
สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ด้วยตนเอง โดยมีครู เป็ นผูคอยกระตุนแนะนาและให้คาปรึ กษา
                                                                          ้        ้
อย่างใกล้ชิด ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ โครงงาน หมายถึง กระบวนการทางานที่ผเู ้ รี ยนทาด้วยตนเอง
ตามจุดประสงค์ที่กาหนดแล้วเสนอผลงานต่อผูสอน         ้
             พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2551: 25) กล่าวถึงการทาโครงงานว่า หมายถึง การศึกษาเพื่อค้นพบ
ความรู ้ใหม่ สิ่ งประดิษฐ์ใหม่ และวิธีการใหม่ ด้วยตัวของนักเรี ยนเอง โดยใช้วธีการทางวิทยาศาสตร์ มีครู
                                                                                     ิ
อาจารย์และผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ นผูให้คาปรึ กษา ความรู ้ใหม่ สิ่ งประดิษฐ์ใหม่ และวิธีการใหม่น้ น ทั้งนักเรี ยน
                               ้                                                              ั
และครู ไม่เคยรู ้หรื อมีประสบการณ์มาก่อน (Unknown by All)
            ชาร์ด (Chard, 2001 อ้างถึงใน ปิ ยาพร ถาวรเศรษฐ, 2546: 22) กล่าวว่าโครงงานเป็ นวิธีการที่
ผูสอนจะแนะให้นกเรี ยนได้ศึกษาอย่างลึกในเรื่ องที่เขาสนใจ การสอนแบบนี้จะไม่มีรูปแบบ มันค่อนข้าง
   ้                    ั
ซับซ้อน แต่มนมีลกษณะพิเศษในเรื่ องปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยนเมื่อครู นาการสอนแบบนี้มาใช้
                 ั ั                                                ้
อย่างประสบความสาเร็ จ นักเรี ยนจะมีแรงจูงใจ มีความรู ้สึกว่า
ได้มีส่วนร่ วมกับกิจกรรมด้านการเรี ยนของเขาเอง และผลงานที่มีคุณภาพสู ง
             ไฮนซ์ (Haines, 1989: 1;อ้างถึงใน สุ เมธตา งามชัด, 2548: 6) ได้ให้ความหมายของโครงงาน
สอดคล้องกับดิวอี้ ว่าเป็ นวิธีการสอนที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลากหลายมุ่งเน้นหัวข้อ เรื่ องที่นกเรี ยน
                                                                                                ั
สนใจมากกว่าตัวภาษา โดยเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนเลือกเนื้ อหา วิธีการศึกษาค้นคว้า การแบ่งงาน ตลอดจน
                                                ั
รู ปแบบชิ้นงานอันเป็ นผลผลิตสุ ดท้ายของกระบวนการที่นกเรี ยนได้ทาข้อตกลงกันไว้ นอกจากนี้การสอน
                                                                  ั
แบบนี้ยงเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ใช้ความรู ้ ภาษาและทักษะที่เรี ยนมาแล้วมาปรับใช้ในการดาเนินงาน
          ั                ั
เป็ นการนาภาษามาใช้ในชีวตจริ ง
                             ิ
            ลาดวน นิรัติศยวานิช (2546) ทาการศึกษาเรื่ อง การจัดการเรี ยนรู ้โดยเน้นทักษะการจัดการกลุ่ม
สาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 2 ประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยน
อนุบาลลาพูน มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรี ยนรู ้โดยเน้นทักษะการจัดการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                      ั
การงานอาชีพและเทคโนโลยี งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 2 ประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน
ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 49 คน และ
ครู ผสอนจานวน 5 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับปั ญหาการ
     ู้
จัดการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หลักสู ตรและแผนการจัดการเรี ยนรู ้ แบบ
ประเมินผลการเรี ยนรู้ วิเคราะห์ขอมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบน
                                      ้
มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า นักเรี ยนทุกกลุ่มมีผลการเรี ยนรู ้ดานความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการ
                                                                        ้
จัดการทางานอยูในระดับดีมาก ส่ วนพฤติกรรมการทางานของกลุ่มทั้ง 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวางแผนการ
                    ่
        ั                                                             ่
ปฏิบติงาน การปรับปรุ งและการประเมินผล นักเรี ยนเห็นว่าอยูในระดับดีมาก และครู ผสอนเห็นว่า   ู้
นักเรี ยนมีพฤติกรรมการทางานกลุ่มทั้ง 4 ขั้นตอน อยูในระดับมากสาหรับด้านผลงานนั้นทั้งนักเรี ยนและ
                                                              ่
่
ครู ผสอนเห็นว่า ผลงานอยูในเกณฑ์ดีมาก ส่ วนเจตคติของนักเรี ยนต่อการเรี ยน โดยเน้นทักษะการจัดการ
         ู้
                              ั              ่
นั้น ก่อให้เกิดลักษณะนิสยด้านต่าง ๆ อยูในระดับมาก รวมทั้งเห็นว่าควรส่ งเสริ มให้นกเรี ยนมีพฤติกรรม
                                                                                         ั
                    ่
การจัดการอยูในระดับมากที่สุดทุกขั้นตอน
               รุ่ งนภา สรรค์สวาสดิ์ (2550) ได้ศึกษาการพัฒนาความสามารถในการทาโครงงาน
เรื่ องการดารงชีวิตและครอบครัว สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ด้วยวิธีการจัดการเรี ยนรู้แบบ
โครงงาน มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสามารถในการทาโครงงานเรื่ องการดารงชีวิตและครอบครัวของ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้เรื่ องการดารงชีวิตและครอบครัวก่อนและหลังที่
ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน และศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้แบบ
โครงงาน กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จานวน 38 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย        ั
ได้แก่ แผนการจัดการเรี ยนรู ้เรื่ อง การดารงชีวิตและครอบครัว ด้วยวิธีการจัดการเรี ยนรู้แบบโครงงาน
แบบทดสอบวัดผลการเรี ยนรู้ เรื่ องการดารงชีวิตและครอบครัว และแบบสอบถามความคิดเห็นนักเรี ยนที่มี
ต่อการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน ผลการวิจยพบว่า นักเรี ยนมีความสามารถในการทาโครงงานอยูใน
                                                  ั                                                 ่
                                                       ่
ระดับพอใช้ ความสามารถในการตั้งชื่ อโครงงานอยูในระดับสู ง และการสรุ ปผลการศึกษาอยูในระดับต่า     ่
ผลการเรี ยนรู ้ก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน แตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
                                                                                 ั
.05 ความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงานโดยภาพรวมอยูในระดับเห็นด้วยมาก
                                                                                    ่
               จากการศึกษาผลงานวิจยที่เกี่ยวข้องดังกล่าว สรุ ปได้วา การจัดการเรี ยนรู ้โดยเน้นทักษะการ
                                       ั                           ่
จัดการ กิจกรรมการสอนแบบโครงงาน การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ผงความคิดและการจัดการเรี ยนรู ้ที่ยด
                                                                     ั                                ึ
ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เป็ นการส่ งเสริ มให้นกเรี ยนมีทกษะการจัดการ ทั้งการวางแผน การปฏิบติงาน การ
                                           ั         ั                                        ั
ปรับปรุ งและการประเมินผล อันจะส่ งผลต่อการพัฒนาการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
2542 ดังนั้น ผลงานการศึกษานี้จึงสามารถใช้เป็ นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้โดยเน้น
ทักษะการจัดการแบบ P A O R วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 กลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรี ยนสตรี ราชินูทิศ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ได้

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพdechathon
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 3 4Koksi Vocation
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาโครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาPanupong Srimuang
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯสาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯณัฐพล บัวพันธ์
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลDuangnapa Inyayot
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นschool
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 

What's hot (16)

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 3 4
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาโครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯสาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Grupo 208 novos talentos natura 2011 - atividade colaborativa - Solidariedade
Grupo 208   novos talentos natura 2011 - atividade colaborativa - SolidariedadeGrupo 208   novos talentos natura 2011 - atividade colaborativa - Solidariedade
Grupo 208 novos talentos natura 2011 - atividade colaborativa - Solidariedade
 
Skoletube
SkoletubeSkoletube
Skoletube
 
Curso Elaboração de Projetos
Curso Elaboração de ProjetosCurso Elaboração de Projetos
Curso Elaboração de Projetos
 
Ap Pernambiental Mata Sul áGua Preta
Ap   Pernambiental Mata Sul   áGua PretaAp   Pernambiental Mata Sul   áGua Preta
Ap Pernambiental Mata Sul áGua Preta
 
2013.03.07_商業周刊
2013.03.07_商業周刊2013.03.07_商業周刊
2013.03.07_商業周刊
 
04
0404
04
 
Calavera
CalaveraCalavera
Calavera
 
Fotos Tiernas Presentacion
Fotos Tiernas PresentacionFotos Tiernas Presentacion
Fotos Tiernas Presentacion
 
Tipos de planos
Tipos de planosTipos de planos
Tipos de planos
 
Modelos de avaliacao de ambientes virtuais de aprendizagem
Modelos de avaliacao de ambientes virtuais de aprendizagemModelos de avaliacao de ambientes virtuais de aprendizagem
Modelos de avaliacao de ambientes virtuais de aprendizagem
 
Contraste
ContrasteContraste
Contraste
 
Convite
ConviteConvite
Convite
 
DiseñO Automotriz
DiseñO AutomotrizDiseñO Automotriz
DiseñO Automotriz
 
50 momentos
50 momentos50 momentos
50 momentos
 
Presentacion TiCHi
Presentacion TiCHiPresentacion TiCHi
Presentacion TiCHi
 
Todo el dia estaba carlos
Todo el dia estaba carlosTodo el dia estaba carlos
Todo el dia estaba carlos
 
Daily Report - Rabu 6 Maret 2013
Daily Report - Rabu 6 Maret 2013Daily Report - Rabu 6 Maret 2013
Daily Report - Rabu 6 Maret 2013
 
Professor Digital
Professor DigitalProfessor Digital
Professor Digital
 
Vida sã.pps
Vida sã.pps Vida sã.pps
Vida sã.pps
 
liat ini punyaku....
liat ini punyaku....liat ini punyaku....
liat ini punyaku....
 

Similar to Slideshare

รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 

Similar to Slideshare (20)

รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 

More from paewwaew

ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4paewwaew
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3paewwaew
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2paewwaew
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

More from paewwaew (10)

ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Plan
PlanPlan
Plan
 

Slideshare

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง ั ่ การวิจยครั้งนี้ผวจยได้ศึกษาปั ญหาจากการสังเกตการใช้ภาษาของครู และนักเรี ยน การใช้ ั ู้ ิ ั ประสบการณ์ของผูวจย และการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องเพื่อนามาประกอบการศึกษา ้ิั ั ดังนี้ 1. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2. การเรี ยนรู้แบบโครงงาน 3. การเรี ยนรู้โดยใช้ผงความคิด ั 4. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐานและกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ้ กรมวิชาการ (2544: 1-2) ได้ให้เหตุผลในการจัดทาหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไว้วา ความ ่ เจริ ญก้าวหน้าทางวิทยาการด้านต่างๆ ของโลกยุคโลกาภิวฒน์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ ั เศรษฐกิจของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วย จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องปรับปรุ งหลักสู ตรการศึกษาของ ชาติซ่ ึงถือเป็ นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ เพื่อสร้างคนไทยให้เป็ นคนดี มี ปั ญญา มีความสุ ข มีศกยภาพ พร้อมที่จะแข่งขันและร่ วมมืออย่างสร้างสรรค์ในเวทีโลก ประกอบกับ ั พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดให้การศึกษาเป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้เพื่อความเจริ ญ งอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู ้ การฝึ ก การอบรม การสื บสานทางวัฒนธรรม การ สร้างสรรค์ ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อนเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมทางสังคมแห่ง ั การเรี ยนรู ้ และปั จจัยเกื้อหนุ นให้บุคคลเกิดการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ น มนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ งร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู ้และคุณธรรม มีจริ ยธรรมและวัฒนธรรมในการ ั ดารงชีวิต สามารถอยูร่วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุ ขและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2544: ่ ้ คานา) ได้กล่าวถึง แนวทางการจัดการศึกษาว่าในกระบวนการจัดการศึกษานับว่าการปฏิรูปการเรี ยนรู ้น้ นถือว่า ั ผูเ้ รี ยนสาคัญที่สุดสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้เป็ นหัวใจของการปฏิรูปการศึกษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็ นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผเู ้ รี ยน มีความรู้ ความเข้าใจ มีทกษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการดารงชีวต และรู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถ ั ิ นาความรู ้เกี่ยวกับการดารงชี วต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทางานอย่างมีความคิด ิ สร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทางาน และมี เจตคติที่ดีต่อการทางาน สามารถดารงชีวิตอยูในสังคมได้อย่างพอเพียง ่ และมีความสุ ข
  • 2. กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบองค์รวม เพื่อให้มีความรู ้ ่ ความสามารถ มีทกษะในการทางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมี ั ประสิ ทธิ ภาพ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้  การดารงชีวตและครอบครัว เป็ นสาระเกี่ยวกับการทางานในชีวตประจาวัน ช่วยเหลือตนเอง ิ ิ ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม เน้นการปฏิบติจริ งจนเกิดความ ั มันใจและภูมิใจในผลสาเร็ จของงาน เพื่อให้คนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง ่ ้  การออกแบบและเทคโนโลยี เป็ นสาระการเรี ยนรู ้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของมนุษย์ ั อย่างสร้างสรรค์ โดยนาความรู ้มาใช้กบกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่ งของ เครื่ องใช้ วิธีการ หรื อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพในการดารงชีวิต  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เป็ นสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่ อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ขอมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อการสร้างงาน คุณค่า ้ และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร  การอาชีพ เป็ นสาระที่เกี่ยวข้องกับทักษะที่จาเป็ นต่ออาชี พ เห็นความสาคัญของคุณธรรม จริ ยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต และเห็น แนวทางในการประกอบอาชีพ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 การดารงชีวตและครอบครัว ิ มาตรฐาน ง1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะ ั การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และ สิ่ งแวดล้อมเพื่อการดารงชีวตและครอบครัว ิ สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้าง สิ่ งของเครื่ องใช้ หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วม ในการจัดการเทคโนโลยี ที่ยงยืน ั่ สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม
  • 3. สาระที่ 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ั ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชี พ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ การจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน การเรี ยนรู้แบบโครงงานเป็ นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรื อการค้นคว้าหาคาตอบในสิ่ งที่ ผูเ้ รี ยนอยากรู ้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่างๆ เป็ นวิธีการเรี ยนรู้ที่ผเู้ รี ยนได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเอง หรื อของกลุ่ม เป็ นการตัดสิ นใจร่ วมกัน จนได้ชิ้นงานที่สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ได้ในชีวตจริ ง ิ การเรี ยนรู้แบบโครงงาน เป็ นการเรี ยนรู ้ที่ใช้เทคนิคหลากหลายรู ปแบบนามาผสมผสานกัน ได้แก่ กระบวนการกลุ่ม การฝึ กคิด การแก้ปัญหา การเน้นกระบวนการ การสอนแบบปริ ศนาความคิด และการ สอนแบบร่ วมกันคิด ทั้งนี้มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้เรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจากความสนใจอยากรู ้อยากเรี ยนของ ผูเ้ รี ยนเอง โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูลงมือปฏิบติกิจกรรมต่างๆ เพื่อ ้ ั ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง เป็ นการเรี ยนรู ้ที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู ้ เบื้องต้น ผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ปความรู้ได้ดวยตนเอง ซึ่งความรู้ที่ผเู้ รี ยนได้มาไม่จาเป็ นต้องตรงกับตารา แต่ ้ ผูสอนจะสนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาค้นคว้าเพิมเติมจากแหล่งการเรี ยนรู ้และปรับปรุ งความรู ้ท่ีได้ให้สมบูรณ์ ้ ่ การเรี ยนรู้แบบโครงงาน เป็ นการเรี ยนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้น และยังเป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญในทุกขั้นตอนของการเรี ยนรู ้ ตั้งแต่ การวางแผนการเรี ยนรู้ การออกแบบการเรี ยนรู้ การสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงาน โดยผูสอนมีบทบาทเป็ นผูจดการเรี ยนรู้ แนวคิด 6 ขั้นของบลูม คือ ้ ้ั 1. ความรู้ความจา (Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนาไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมินค่า (Evaluation) กระบวนการของกิจกรรมการเรี ยนรู้ แบบโครงงาน กระบวนการแบ่งเป็ น 3 ระยะใหญ่ๆ ด้วยกันคือ ระยะที่ 1 การเริ่มต้ นโครงงาน เป็ นระยะที่ผสอนต้องสังเกต/สร้างความสนใจให้เกิดขึ้นในตัวผูเ้ รี ยนจากนั้นตกลงร่ วมกัน เลือก ู้ เรื่ องที่ตองการศึกษาอย่างละเอียด ผูสอนสร้างความสนใจให้เกิดกับผูเ้ รี ยนซึ่ งมีหลายวิธี โดยอาจศึกษาเรื่ อง ้ ้
  • 4. จากการบอกเล่าของผูใหญ่หรื อผูรู้ จากประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน/ผูสอน จากเอกสารสิ่ งพิมพ์ หรื อสื่ อต่างๆ ้ ้ ้ จากการเล่นของผูเ้ รี ยน จากความคิดที่เกิดขึ้น จากวัตถุสิ่งของที่ผสอนนามาในห้องเรี ยน หรื อจากตัวอย่าง ู้ โครงงานที่ผอื่นทาไว้แล้ว เป็ นต้น เมื่อเกิดความสนใจแล้วก็จะถึงการกาหนดหัวข้อโครงงาน โดยนาเรื่ องที่ ู้ ผูเ้ รี ยนสนใจมาอภิปรายร่ วมกัน แล้วกาหนดเรื่ องนั้นเป็ นหัวข้อโครงงาน ทั้งนี้จะต้องคานึงว่าการกาหนด หัวข้อโครงงานนั้นจะกระทาหลังจากการตรวจสอบสมมติฐานเสร็ จสิ้ นแล้ว ระยะที่ 2 ขั้นพัฒนาโครงงาน เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนกาหนดหัวข้อคาถาม หรื อประเด็นปั ญหา ที่ผเู้ รี ยนสนใจอยากรู้ แล้ว ตั้งสมมติฐานมาตอบคาถามเหล่านั้น ทดสอบสมมติฐานด้วยการลงมือปฏิบติ จนค้นพบคาตอบด้วยตนเอง ั ตามขั้นตอนดังนี้ 1. ผูเ้ รี ยนกาหนดปั ญหาที่จะศึกษา 2. ผูเ้ รี ยนตั้งสมมติฐานเบื้องต้น 3. ผูเ้ รี ยนตรวจสอบสมมติฐานเบื้องต้น 4. สรุ ปข้อความรู้จากผลการตรวจสอบสมมติฐาน ในกรณี ที่ผลการตรวจสอบไม่เป็ นไปตามสมมติฐาน ผูสอนควรให้กาลังใจผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนไป ้ แสวงหาความรู ้เพิ่มเติม สิ่ งที่ไม่ควรกระทาคือการตาหนิหรื อกล่าวโทษ ผูสอนควรกระตุนให้ผเู้ รี ยนมี ้ ้ กาลังใจจนสามารถตั้งสมมติฐานใหม่ได้ ในกรณี ที่ผลการตรวจสอบเป็ นไปตามสมมติฐาน ให้ผเู้ รี ยนสรุ ป องค์ความรู ้จากการค้นพบด้วยการลงมือปฏิบติของผูเ้ รี ยนเองเมื่อได้องค์ความรู ้ใหม่แล้ว ผูเ้ รี ยนจะนาองค์ ั ความรู ้น้ นไปใช้ในการทากิจกรรมตามความสนใจต่อไปได้ ผูเ้ รี ยนอาจใช้ความรู ้ที่คนพบเป็ นพื้นฐานของ ั ้ การกาหนดประเด็น ปั ญหาขึ้นมาใหม่เพื่อ กาหนดเป็ นโครงงานย่อย ศึกษารายละเอียดในเรื่ องนั้นต่อไปอีก ระยะที่ 3 ขั้นสรุ ป เป็ นระยะสุ ดท้ายของโครงงานที่ผเู้ รี ยนค้นพบคาตอบของปัญหาแล้ว และได้แสดงให้ ผูสอนเห็นว่าได้สิ้นสุ ดความสนใจในหัวข้อโครงงานเดิม และเริ่ มหันเหความสนใจไปสู่ เรื่ องใหม่ ระยะนี้ ้ เป็ นระยะที่ผสอนและผูเ้ รี ยนจะได้แบ่งปั นประสบการณ์การทางานและแสดงให้เห็นถึงความสาเร็ จของการ ู้ ทางานตลอดโครงงานแก่คนอื่นๆ มีกิจกรรมที่ผสอนให้ผเู ้ รี ยนดาเนินการในขั้นตอนนี้ ดังนี้ ู้ 1. ผูเ้ รี ยนเขียนรายงานเป็ นรู ปแบบงานวิจยเล็กๆ ั 2. ผูเ้ รี ยนนาเสนอผลงาน (แสดงเป็ นแผงโครงงาน) ให้ผสนใจรับรู้ สรุ ปและนาไปใช้ใน ู้ ชีวตประจาวัน ิ
  • 5. ขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู้ ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้แบบโครงงานมีดงนี้ ั 1. ขั้นนาเสนอ หมายถึง ขั้นที่ผสอนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาใบความรู ้ กาหนดสถานการณ์ ศึกษา ู้ สถานการณ์ เกม รู ปภาพ หรื อการใช้เทคนิคการตั้งคาถามเกี่ยวกับสาระการเรี ยนรู ้ที่กาหนดในแผนการ จัดการเรี ยนรู ้แต่ละแผน เช่น สาระการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรและสาระการเรี ยนรู ้ที่เป็ นขั้นตอนของโครงงาน เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนการเรี ยนรู้ 2. ขั้นวางแผน หมายถึง ขั้นที่ผเู ้ รี ยนร่ วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารื อ ข้อสรุ ปของกลุ่มเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบติ ั 3. ขั้นปฏิบติ หมายถึง ขั้นที่ผเู ้ รี ยนปฏิบติกิจกรรมเขียนสรุ ปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการ ั ั วางแผนร่ วมกัน 4. ขั้นประเมินผล หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง โดยให้บรรลุ จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีครู ผูเ้ รี ยนและเพื่อนร่ วมกันประเมิน แนวทางการจัดการเรี ยนรู้ การจัดการเรี ยนรู้แบบโครงงาน มี 2 แนวทาง ดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมตามความสนใจ ่ เป็ นการจัดกิจกรรมที่ให้ผเู ้ รี ยนเลือกศึกษาโครงงานจากสิ่ งที่สนใจอยากรู ้ท่ีมีอยูใน ชีวตประจาวัน สิ่ งแวดล้อมในสังคม หรื อจากประสบการณ์ต่างๆ ที่ยงต้องการคาตอบ ข้อสรุ ป ซึ่ งอาจจะอยู่ ิ ั นอกเหนือจากสาระการเรี ยนรู้ในบทเรี ยนของหลักสู ตร มีข้ นตอนดังต่อไปนี้ ั 1) ตรวจสอบ วิเคราะห์ พิจารณา รวบรวมความสนใจแก่ผเู ้ รี ยน 2) กาหนดประเด็นปั ญหา/หัวข้อเรื่ อง 3) กาหนดวัตถุประสงค์ 4) ตั้งสมมติฐาน 5) กาหนดวิธีการศึกษาและแหล่งความรู ้ 6) กาหนดเค้าโครงของโครงงาน 7) ตรวจสอบสมมติฐาน 8) สรุ ปผลการศึกษาและการนาไปใช้ 9) เขียนรายงานเชิงวิจยง่ายๆ ั 10) จัดแสดงผลงาน
  • 6. 2. การจัดกิจกรรมตามสาระการเรี ยนรู้ เป็ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยยึดเนื้อหาสาระตามที่หลักสู ตรกาหนด ผูเ้ รี ยนเลือกทา โครงงานตามสาระการเรี ยนรู ้ จากหน่วยเนื้ อหาที่เรี ยนในชั้นเรี ยน นามาเป็ นหัวข้อโครงงาน มีข้ นตอนที่ผสอนดาเนิ นการดังต่อไปนี้ ั ู้ 1) เริ่ มจากศึกษาเอกสารหลักสู ตร คู่มือครู 2) วิเคราะห์หลักสู ตร 3) วิเคราะห์คาอธิ บายรายวิชา เพื่อแยกเนื้อหา จุดประสงค์ และกิจกรรมให้เด่นชัด 4) จัดทากาหนดการสอน 5) เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ 6) ผลิตสื่ อ จัดหาแหล่งการเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 7) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ดังนี้ 7.1) แจ้งจุดประสงค์ เนื้อหาของหลักสู ตรให้ผเู ้ รี ยนทราบ 7.2) กระตุนความสนใจของผูเ้ รี ยนในขอบเขตของเนื้อหาและจุดประสงค์ในหลักสู ตร ้ 7.3) จัดกลุ่มผูเ้ รี ยนตามความสนใจ 7.4) ผูสอนใช้คาถามเพื่อกระตุนให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เช่น ้ ้ ♦ ทาไมผูเ้ รี ยนจึงสนใจอยากเรี ยนเรื่ องนี้ (แนวคิด/แรงดลใจ) ♦ ผูเ้ รี ยนสนใจเกี่ยวกับอะไรบ้าง (กาหนดเนื้อหา) ♦ ผูเ้ รี ยนอยากเรี ยนรู ้เรื่ องนี้ เพื่ออะไร (กาหนดจุด ประสงค์) ♦ ผูเ้ รี ยนจะทาอย่างไรจึงจะเรี ยนรู ้ได้ในเรื่ องนี้ (กาหนดวิธีศึกษา/กิจกรรม) ♦ ผูเ้ รี ยนจะใช้เครื่ องมืออะไรบ้างในการศึกษาครั้งนี้ (กาหนดสื่ ออุปกรณ์) ♦ ผูเ้ รี ยนจะไปศึกษาที่ใดบ้าง (กาหนดแหล่งความรู ้ แหล่งข้อมูล) ♦ ผลที่ผเู ้ รี ยนคาดว่าจะได้รับคืออะไรบ้าง (สรุ ปความรู้/สมมติฐาน) ่ ♦ ผูเ้ รี ยนจะทาอย่างไรจึงจะรู ้วาผลงานของผูเ้ รี ยนดีหรื อไม่ดีอย่างไร จะให้ใครเป็ นผูประเมิน ้ (กาหนดการวัดและประเมินผล) ♦ ผูเ้ รี ยนจะเผยแพร่ ผลงานให้ผอื่นรู ้ได้อย่างไร (นาเสนอผลงาน รายงาน) ู้ 7.5) ผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาตามที่ตกลงกันไว้ (จากคาถามที่ผสอนซักถาม) ภายใต้กรอบเวลา ู้ ในแต่ละครั้ง ถ้ายังไม่สาเร็ จให้ศึกษาต่อในคาบต่อไป 7.6) ผูเ้ รี ยนทุกคนต้องสรุ ปองค์ความรู้ได้ดวยการเรี ยนของผูเ้ รี ยนและสามารถนาเสนอความรู้ที่ ้ ได้แก่เพื่อนๆ และผูสอนได้ ้ 7.7) ผูเ้ รี ยนเขียนรายงานเชิงวิจยแบบง่ายๆ และแสดงแผงโครงงาน ั
  • 7. 8) ผูสอนจัดแหล่งความรู ้เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยงขึ้น ้ ิ่ 9) ผูสอนเขียนบันทึกผลการเรี ยนรู้ ้ บทบาทของครู ทปรึ กษา ี่ 1. ใช้วธีการต่างๆที่จะกระตุนให้นกเรี ยนคิดหัวข้อเรื่ องโครงงาน ิ ้ ั 2. จัดหาสิ่ งอานวยความสะดวก วัสดุอุปกรณ์ในการทางาน 3. ติดตามการทางานอย่างใกล้ชิด เด็กประถมควรคานึงถึงความปลอดภัยเป็ นสิ่ งสาคัญ 4. ให้กาลังใจในกรณี ที่ลมเหลว ควรแก้ปัญหาต่อไป ้ 5. ชี้แนะแหล่ขอมูล แหล่งความรู ้ ผูรู้ เอกสารต่างๆในการศึกษาค้นคว้า ้ ้ 6. ประเมินผลงาน ส่ งผลงานเข้าประกวด จัดเวทีให้แสดงความรู ้ ความสามารถ การเสนอผลงานโครงงาน ให้นกเรี ยนผูทาโครงงานได้เสนอผลงาน เป็ นการเผยแพร่ ผลงาน กิจกรรมนี้จะส่ งเสริ มให้นกเรี ยน ั ้ ั มีความกล้าแสดงออก เชื่ อมันในผลงาน ตอบข้อซักถาม การเสนอผลงานมีหลายลักษณะ คือ ่ 1. บรรยายประกอบแผ่นใส/ สไลด์ 2. บรรยายประกอบแผงโครงงาน 3. จัดนิทรรศการ การเขียนรายงานโครงงาน การเรี ยนรายงานโครงงาน เป็ นการเสนอผลงานที่นกเรี ยนได้ศึกษาค้นคว้ามาโดยตลอดจนงาน ั เสร็ จสมบูรณ์ หัวข้อในการเขียนโครงงาน มีดงนี้ ั 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผูจดทาโครงงาน / ้ั โรงเรี ยน / พ.ศ. ที่จดทา ั 3. ชื่อครู ที่ปรึ กษา 4. บทคัดย่อ(บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ประกอบด้วย เรื่ อง / วัตถุประสงค์ / วิธีการศึกษา / สรุ ปผล) 5. กิตติกรรมประกาศ (แสดงความขอบคุณบุคคล หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ) 6. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 8. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า 9. วิธีการดาเนินการ 10. ผลการศึกษาค้นคว้า 11. สรุ ปผล 12. ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ 13. เอกสารอ้างอิง
  • 8. ประเภทของโครงงาน โครงงานโดยทัวไปแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ๔ ประเภท ได้แก่ ่ • โครงงานสารวจหรือรวบรวมข้ อมูล ผูเ้ รี ยนที่จดทาโครงงานประเภทนี้ มีจุดประสงค์เพื่อสารวจ ั และเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องที่กาลังศึกษา หรื องานที่กาลังทา โดยมีระบบในการจาแนกและนาเสนอ เพื่อความชัดเจน วิธีการใช้อาจเป็ นการสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การสารวจจากสภาพจริ ง เพื่อนามา พัฒนาปรับปรุ งหรื อส่ งเสริ มเพื่อให้ได้ผลดียงขึ้นเช่น ศึกษาเรื่ องเล่าในท้องถิ่น ิ่ • โครงงานประเภทศึกษาค้ นคว้า ผูเ้ รี ยนที่จดทาโครงงานประเภทนี้ มีจุดประสงค์เพื่อแสวงหา ั ความรู้ ตรวจสอบข้อเท็จจริ ง พิสูจน์ทฤษฎีหรื อเรื่ องเล่าต่างๆ จากการศึกษาค้นคว้าทั้งจากแหล่งวิทยาการ ต่างๆ เช่น ห้องสุ ด สถาบันการศึกษา แหล่งเรี ยนรู ้ประเภทเอกสาร เช่น ตารา รายงานการค้นคว้าทางวิชาการ หรื อเอกสารทางวิชาการและตัวบุคคล ได้แก่ผที่มีความรู ้ในเรื่ องนั้นโดยตรง ซึ่ งเป็ นแหล่งที่มีอางอิงข้อมูล ู้ ้ ชัดเจนและเชื่อถือได้ ผลที่ได้จากการค้นคว้าอาจไม่สมบูรณ์ครบถ้วน แต่เมื่อปรับปรุ งแก้ไขวิธีการที่ถูกต้อง จากผูสอนแล้ว ก็สามารถเป็ นแม่แบบแม่บทในการเรี ยนหรื อการศึกษาค้นคว้าเพื่อแสวงหาความรู ้ดวยตนเอง ้ ้ ในระดับชั้นที่สูงขึ้นหรื อนาใช้ในชีวตจริ งได้ เช่น ศึกษาประวัติบุคคลสาคัญ ิ • โครงงานทดลอง ผูเ้ รี ยนที่จดทาโครงงานประเภทนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ซ่ ึง ั การทดลองอาจมีหลายขั้นตอนเพื่อให้ได้ขอมูลมาประกอบการตัดสิ นใจในเบ้องต้นแล้วจึงมีการศึกษา ้ ค้นคว้าต่อไป เช่น แต่งคาประพันธ์ร้อยกรอง โดยคิดกาหนดฉันท์ • โครงงานสิ่ งประดิษฐ์ ผูเ้ รี ยนที่จดทาโครงงานประเภทนี้ จะได้รับการส่ งเสริ มให้สร้างสรรค์ ั สิ่ งประดิษฐ์หรื อพัฒนาชิ้นงานโดยสิ่ งที่ผจดทาโครงงาจะได้รับคือส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์โดยการ ู้ ั สังเกต วิเคราะห์กลวิธีในการจัดการต่างๆ แล้วพัฒนาหรื อสร้างชิ้นงานขึ้นใหม่เพื่อสนองความต้องการของ ่ สังคมตามความรู ้ความสามารถที่มีอยูหรื อที่ได้รับจากบทเรี ยน เช่น การเขียน หลักภาษา การเรียนรู้ โดยใช้ ผงความคิด ั ความหมายของเทคนิคผังความคิด (Mind Mapping) เทคนิคผังความคิด (Mind Mapping Technique) เป็ นเทคนิคที่พฒนาขึ้นโดย Buzan ั ในปี ค.ศ. 1970 ซึ่ งเขาได้อธิ บายว่าในสมองของมนุษย์มีเซลล์ประสาทในสมองกว่าสิ บล้านเซลล์ และแต่ละเซลล์ความเชื่อมโยงกันด้วยส่ วนที่เรี ยกว่า Dendrite ที่ยนออกไปรอบทิศทางเพื่อรับข้อมูลจาก ื่ เซลล์ประสาทเซลล์อื่น ๆ และ Axon ที่ใช้ในการส่ งข้อมูลไปยังเซลล์ประสาทเซลล์อื่น ๆ ทั้ง Dendrite ่ และ Axon จะมีการโยงใยกันอยูในสมองอย่างไม่มีที่สิ้นสุ ดซึ่ งการทางานในสมองมนุ ษย์ดงกล่าวนี้ Buzan ั ่ เรี ยกว่า การคิดรอบทิศทาง (Rediant Thinking) เป็ นโครงสร้างและกระบวนการที่อยูภายในสมอง
  • 9. คุณลักษณะสาคัญของผังความคิด Buzan (อ้างในสุ วทย์ มูลคา, 2547) ได้สรุ ปคุณลักษณะเฉพาะของผังความคิดไว้ 4 ิ ลักษณะดังนี้ 1. ประเด็นที่สนใจถูกสร้างขึ้นภายในภาพตรงกลาง ่ 2. หัวข้อหลักของประเด็นอยูรอบภาพกลางทุกทิศทาง เปรี ยบเสมือนกิ่งก้านของต้นไม้ 3. กิ่งก้านประกอบด้วยภาพ หรื อคาสาคัญที่เขียนบนเส้นที่โยงใยกัน ส่ วนคาอื่น ๆ ที่มี ความสาคัญรองลงมาจะถูกเขียนในกิ่งก้านที่แตกออกตามลาดับต่อ ๆ ไป 4. กิ่งก้านจะถูกเชื่อมโยงกันในลักษณะที่แตกต่างกันตามตาแหน่ง และความสาคัญ สาระสาคัญของผังความคิด 1. การเริ่ ม ในการเริ่ มสร้างผังความคิดต้องอาศัยการเริ่ มจากคาหรื อมโนทัศน์ที่จะเป็ น ประเด็นหลักของการทาผังความคิด 2. การใช้ ผังความคิดจะใช้ 3 องค์ประกอบย่อยดังนี้ 2.1 สาคัญเป็ นคาที่จะแสดงถึงสิ่ งซึ่ งต้องการเชื่ อมโยงหรื อเกี่ยวข้องกับคาหรื อ มโนทัศน์ที่เป็ นประเด็นหลักโดยคาสาคัญไม่จากัดจะเป็ นคาที่มีความเป็ นนามธรรมหรื อรู ปแบบมากเท่าใด 2.2 การเชื่อมโยง ในการทาแผนผังความคิดต้องแสดงถึงความเชื่อมโยงของคา ่ สาคัญที่ปรากฏอยูบนผัง เพื่อจะทาให้ความคิดมีความต่อเนื่องและคาสาคัญมีความหมายมากขึ้น โดยการเชื่ อมโยงนั้นสามารถใช้วธีการได้หลายวิธี เช่น การแสดงด้วยลักษณะของเส้น ลูกศร ิ แบบต่าง ๆ หรื อใช้รหัสก็ได้ 2.3 การเน้นความสาคัญ เป็ นการทาให้ผทาผังความคิด สามารถลาดับความคิดให้ ู้ เป็ นระบบ รู ้ถึงความสาคัญมากน้อย หรื อลาดับก่อนหลังได้ โดยวิธีการนี้สามารถทาได้หลายวิธีเช่นกัน เช่น การใช้ขนาดของตัวอักษร สี ต่าง ๆ กัน หรื ออาจใช้ตวหนังสื อที่มีมิติแตกต่างกัน ั 3. การเขียน การทาผังความคิดต้องมีการเขียนในลักษณะแตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ ของผูสร้าง ซึ่ งไม่มีเพียงตัวหนังสื อหรื อคาเท่านั้น ควรต้องมีภาพประกอบ หรื อ สัญลักษณ์ต่าง ๆ ้ เพื่อทาให้เกิดความหมายมากยิงขึ้น ่ ขั้นตอนในการสร้ างผังความคิด ขั้นที่ 1 เริ่ มด้วยสัญลักษณ์ หรื อรู ปภาพลงบนกระดาษ ขั้นที่ 2 ระบุคาสาคัญหลัก ขั้นที่ 3 เชื่อมโยง คาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคาสาคัญหลักด้วยเส้นโยงจากคาสาคัญหลักตรง กลางออกไปทุกทิศทุกทาง ขั้นที่ 4 เขียนคาที่ตองการ 1 คาต่อ 1 เส้น และแต่ละเส้นควรเกี่ยวข้องกับเส้นอื่น ๆ ด้วย ้ ขั้นที่ 5 ขยายคาสาคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้มากที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ ขั้นที่ 6 ใช้สี รู ปภาพ ลักษณะของเส้น เป็ นการระบุถึงลักษณะความเชื่อมโยง
  • 10. การเน้นหรื อลาดับ การนาผังความคิดมาใช้ ในงานต่ าง ๆ ่ Buzan (อ้างใน ธัญญา ผลอนันต์, 2541:55-56) ได้เสนอไว้วา ผังความคิดนั้น สามารถนามาใช้ประโยชน์ในงานต่าง ๆ ได้มากมาย ดังนี้ 1. การจดบันทึก การจดบันทึกโดยทัวไป คนส่ วนใหญ่มกใช้การจดบันทึกแบบตาม ่ ั แนวนอน หรื อแนวตั้งทางเดียวตามส่ วนของภาษานั้น ๆ ทาให้ไม่ได้ประโยชน์จากการจดบันทึกอย่างเต็มที่ เนื่องจากไม่เห็นถึงจุดสาคัญ และความสัมพันธ์ของเนื้อหาอย่างชัดเจน แต่หากเปลี่ยนรู ปแบบการจดบันทึก เป็ นแบบแผนที่ความคิด จะทาให้ผจดบันทึกเห็นถึงจุดสาคัญและความเชื่ อมโยงของเนื้อหา มีความเป็ น ู้ อิสระ จนเกิดความเข้าใจเนื้ อหานั้น ๆ มากขึ้น 2. การตัดสิ นใจ ในการตัดสิ นใจทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง โดยปกติมกจะไม่สามารถเห็นถึง ั ผลดีหรื อผลเสี ยได้ชดเจน ทาให้การตัดสิ นใจในบางครั้งเกิดความผิดพลาด เกิดผลเสี ยมากมายกับตนเอง ั และส่ วนร่ วมได้ แต่ถาใช้ผงความคิดประกอบการตัดสิ นใจผิดพลาดมีนอยลงด้วย ้ ั ้ 3. การเสนอผลงาน การเสนอผลงานที่ทาโดยทัวไป บางครั้งทาให้ผที่รับสาร ่ ู้ ไม่เข้าใจไม่เห็นภาพรวมหรื อองค์ประกอบของสิ่ งที่กาลังแสดง รวมไปถึงความเชื่อมโยงขององค์ประกอบ ย่อยอีกด้วย แต่ถาใช้ผงความคิดในการเสนอผลงาน จะทาให้เห็นภาพรวมของสิ่ งที่ตองการแสดงรวมทั้ง ้ ั ้ การเชื่อมโยงขององค์ประกอบ และมีการเน้นความสาคัญ ทาให้การเสนอผลงานเกิดประสิ ทธิ ภาพมาก ยิงขึ้น ่ 4. การแก้ปัญหา เมื่อบุคคลพบกับปั ญหาแล้วไม่สามารถแก้ไขปั ญหาได้ เป็ นเพราะไม่ ทราบถึงสาเหตุที่แท้จริ ง และไม่สามารถคิดกระบวนการที่จะแก้ปัญหานั้น ๆ ได้ แต่ถาใช้ผงความคิดในการ ้ ั แก้ปัญหา ก็จะทาให้ผแก้ปัญหาสามารถรู ้ถึงสาเหตุที่แท้จริ งง่ายขึ้น และยังเชื่อมโยงสาเหตุกบปั ญหาได้ง่าย ู้ ั ขึ้น รวมทั้งสามารถสร้างทางเลือกที่หลากหลายและยังสามารถลาดับวิธีการแก้ปัญหาได้สะดวก 5. การวางแผน การวางแผนที่ตองอาศัยการวิเคราะห์ถึงปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับงานต่าง ๆ ้ ที่จะดาเนินการ เช่น จุดประสงค์ บุคคลที่เกี่ยวข้อง สถานที่ เวลาที่เหมาะสม เป็ นต้น เพราะฉะนั้นหากใช้ ผังความคิดในการวางแผนก็จะให้วเิ คราะห์ปัจจัยดังกล่าวได้ง่ายและครบถ้วนทาให้การวางแผนเกิด ประสิ ทธิ ภาพมากยิงขึ้น ่ McClain (1986) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการนาเทคนิ คผังความคิดมาใช้ในการอธิ บายโครงสร้างของ เนื้อหาวิชาก่อนทาการสอน ซึ่ งทาการศึกษากับนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย พบว่า เทคนิคผังความคิดช่วยให้นกเรี ยนเข้าใจในมโนทัศน์ได้ดีข้ ึน รวมทั้งยังพบว่า มีส่วนช่วยในการจัดบรรยาย ั พัฒนาคุณภาพในการระดมสมองของนักศึกษา ทาให้การจดบันทึกชัดเจนและนักศึกษามี ่ ความคิดที่เป็ นอิสระมากขึ้น รวมทั้งยังช่วยเพิ่มความเข้าใจได้ดวย ถือได้วาเป็ นการพัฒนาความคิด ้ สร้างสรรค์ของแต่ละบุคคลได้ดีอีกด้วย
  • 11. จากที่กล่าวมาจึงอาจสรุ ปได้วาการนาผังความคิดสามารถนามาใช้เป็ นพื้นฐานในการศึกษาเรื่ อง ใดเรื่ องหนึ่งที่เราสนใจ หรื อนาไปแก้ปัญหาให้สาเร็ จได้อย่างมีระบบ สุ วทย์ มูลคา (2547:21-39) ใช้แสดงการเชื่ อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งระหว่าง ิ ความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ระหว่างความคิดหลัก ั ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กนพัฒนาขึ้น โดย โทนี่ บูซาน (Tony Busan) ั แผนภาพที่ 1 ลักษณะการเขียนผังความคิด เทคนิคการคิดคือ นาประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็ นหลัก การนาไปใช้ 1. ใช้ระดมพลังสมอง 2. ใช้นาเสนอข้อมูล 3. ใช้จดระบบความคิดและช่วยความจา ั 4. ใช้วเิ คราะห์เนื้อหาหรื องานต่าง ๆ 5. ใช้สรุ ปหรื อสร้างองค์ความรู้ ขั้นตอนการสร้ าง Mind Mapping 1. เริ่ มเขียนหรื อวาดมโนทัศน์หลักหรื อหัวข้อเรื่ องตางกึ่งกลางหน้ากระดาษซึ่ งควรใช้ กระดาษชนิดไม่มีเส้นและวางแนวนอน (ภาพที่วาดควรเป็ นภาพสี ) ั 2. เขียนหรื อวาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กบมโนทัศน์หลักหรื อหัวข้อเรื่ องกระจาย ออกไปรอบ ๆ มโนทัศน์หลัก ่ ั 3. เขียนหรื อวาดมโนทัศน์ยอยที่สัมพันธ์กบมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่ อย ๆ โดยเขียน ั ข้อความไว้บนเส้นแต่ละเส้น เส้นที่ใช้อาจเป็ นเส้นตรงหรื อเส้นโค้งก็ได้ แต่เส้นที่ใช้กบมโนทัศน์รองจะ ่ เป็ นเส้นที่ใหญ่กว่ามโนทัศน์ยอยซึ่ งเปรี ยบเสมือนรากไม้ที่แตกออกจากต้นไม้ 4. ควรใช้ภาพหรื อสัญลักษณ์สื่อความหมายที่เป็ นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด
  • 12. 5. เขียนหรื อพิมพ์คาด้วยตัวบรรจงขนาดใหญ่ คาที่นามาเขียนควรเป็ นสาคัญ (Key Word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน 6. เขียนคาเหนือเส้นและแต่ละเส้นต้องเชื่ อมต่อกับเส้นอื่น ๆ (กรณี ที่เขียนเป็ นภาพ สี เส้นของมโนทัศน์รองและย่อยแต่ละมโนทัศน์ควรเป็ นสี เดียวกันตลอด) 7. ระบายสี ให้ทว Mind Map ั่ 8. ขณะที่เขียน Mind Map ควรปล่อยการคิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทา งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ จากงานวิจยที่เกี่ยวข้องที่ผวจยสามารถนามาเป็ นแนวทางในการวิจย คือ ั ู้ ิ ั ั วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2545 : 59) กล่าวว่า โครงงานเป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้รูปแบบหนึ่งที่ ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ดวยตนเองจากการลงมือปฏิบติ ใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ หรื อค้นคว้าหา ้ ั คาตอบในสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนอยากรู ้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2545: 15) ได้กล่าวถึง การจัดการเรี ยนการสอน แบบโครงงาน คือ การจัดประสบการณ์ในการปฏิบติงานให้แก่นกเรี ยน เหมือนกับการทางานในชีวิตจริ ง ั ั ให้นกเรี ยนมีประสบการณ์ตรงได้เรี ยนรู ้วธีแก้ปัญหา รู ้จกการทางานอย่างมีระบบ รู ้จกการวางแผนในการ ั ิ ั ั ทางาน ฝึ กการคิดวิเคราะห์ และเกิดการเรี ยนรู ้ดวยตนเอง้ ดุษิต พรหมชนะ (2546) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับการใช้กระบวนการสร้างแผนผังความคิดเพื่อ ส่ งเสริ มความสามารถในการคิดและสร้างองค์ความรู ้ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนปริ นส์ รอยแยลส์วทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างจานวน 52 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง ิ แบบเจาะจง วิเคราะห์ขอมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าสถิติ T-test ผลของ ้ การใช้แผนการสอน พบว่านักเรี ยนมีความรู ้ในเนื้อหาหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ ั ่ ระดับ .01 ความสามารถในการคิดอยูในระดับดี และความคิดเห็นของนักเรี ยนพบว่า นักเรี ยนเห็นด้วยว่า การสร้างผังความคิดทาให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น ั ศิริพร พูแสงทองชัย (2546) ได้ทาวิจยเรื่ องผลการใช้เทคนิคผังความคิดที่มีต่อความคิด ่ ั สร้างสรรค์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลการวิจยพบว่า ั 1. หลังจากการทดลองใช้เทคนิคผังความคิดเพื่อส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์นกเรี ยน ั มีความคิดสร้างสรรค์โดยเฉลี่ยสู งขึ้นทุกด้าน 2. หลังจากการทดลองใช้เทคนิคผังความคิดเพื่อส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ท้ ง ั 12 แผน นักเรี ยนมีความคิดสร้างสรรค์หลังการทดลองสู งกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ ั ระดับ .001
  • 13. ชาตรี เกิดธรรม (2547: 5) กล่าวถึงความหมายของโครงงานไว้วา โครงงาน (Project) เป็ นการจัดการเรี ยนรู้แบบหนึ่งที่ทาให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้ดวยตนเอง ได้ปฏิบติจริ งในลักษณะของการศึกษา ้ ั สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ด้วยตนเอง โดยมีครู เป็ นผูคอยกระตุนแนะนาและให้คาปรึ กษา ้ ้ อย่างใกล้ชิด ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ โครงงาน หมายถึง กระบวนการทางานที่ผเู ้ รี ยนทาด้วยตนเอง ตามจุดประสงค์ที่กาหนดแล้วเสนอผลงานต่อผูสอน ้ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2551: 25) กล่าวถึงการทาโครงงานว่า หมายถึง การศึกษาเพื่อค้นพบ ความรู ้ใหม่ สิ่ งประดิษฐ์ใหม่ และวิธีการใหม่ ด้วยตัวของนักเรี ยนเอง โดยใช้วธีการทางวิทยาศาสตร์ มีครู ิ อาจารย์และผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ นผูให้คาปรึ กษา ความรู ้ใหม่ สิ่ งประดิษฐ์ใหม่ และวิธีการใหม่น้ น ทั้งนักเรี ยน ้ ั และครู ไม่เคยรู ้หรื อมีประสบการณ์มาก่อน (Unknown by All) ชาร์ด (Chard, 2001 อ้างถึงใน ปิ ยาพร ถาวรเศรษฐ, 2546: 22) กล่าวว่าโครงงานเป็ นวิธีการที่ ผูสอนจะแนะให้นกเรี ยนได้ศึกษาอย่างลึกในเรื่ องที่เขาสนใจ การสอนแบบนี้จะไม่มีรูปแบบ มันค่อนข้าง ้ ั ซับซ้อน แต่มนมีลกษณะพิเศษในเรื่ องปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยนเมื่อครู นาการสอนแบบนี้มาใช้ ั ั ้ อย่างประสบความสาเร็ จ นักเรี ยนจะมีแรงจูงใจ มีความรู ้สึกว่า ได้มีส่วนร่ วมกับกิจกรรมด้านการเรี ยนของเขาเอง และผลงานที่มีคุณภาพสู ง ไฮนซ์ (Haines, 1989: 1;อ้างถึงใน สุ เมธตา งามชัด, 2548: 6) ได้ให้ความหมายของโครงงาน สอดคล้องกับดิวอี้ ว่าเป็ นวิธีการสอนที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลากหลายมุ่งเน้นหัวข้อ เรื่ องที่นกเรี ยน ั สนใจมากกว่าตัวภาษา โดยเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนเลือกเนื้ อหา วิธีการศึกษาค้นคว้า การแบ่งงาน ตลอดจน ั รู ปแบบชิ้นงานอันเป็ นผลผลิตสุ ดท้ายของกระบวนการที่นกเรี ยนได้ทาข้อตกลงกันไว้ นอกจากนี้การสอน ั แบบนี้ยงเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ใช้ความรู ้ ภาษาและทักษะที่เรี ยนมาแล้วมาปรับใช้ในการดาเนินงาน ั ั เป็ นการนาภาษามาใช้ในชีวตจริ ง ิ ลาดวน นิรัติศยวานิช (2546) ทาการศึกษาเรื่ อง การจัดการเรี ยนรู ้โดยเน้นทักษะการจัดการกลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 2 ประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยน อนุบาลลาพูน มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรี ยนรู ้โดยเน้นทักษะการจัดการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ั การงานอาชีพและเทคโนโลยี งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 2 ประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 49 คน และ ครู ผสอนจานวน 5 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับปั ญหาการ ู้ จัดการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หลักสู ตรและแผนการจัดการเรี ยนรู ้ แบบ ประเมินผลการเรี ยนรู้ วิเคราะห์ขอมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบน ้ มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า นักเรี ยนทุกกลุ่มมีผลการเรี ยนรู ้ดานความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการ ้ จัดการทางานอยูในระดับดีมาก ส่ วนพฤติกรรมการทางานของกลุ่มทั้ง 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวางแผนการ ่ ั ่ ปฏิบติงาน การปรับปรุ งและการประเมินผล นักเรี ยนเห็นว่าอยูในระดับดีมาก และครู ผสอนเห็นว่า ู้ นักเรี ยนมีพฤติกรรมการทางานกลุ่มทั้ง 4 ขั้นตอน อยูในระดับมากสาหรับด้านผลงานนั้นทั้งนักเรี ยนและ ่
  • 14. ่ ครู ผสอนเห็นว่า ผลงานอยูในเกณฑ์ดีมาก ส่ วนเจตคติของนักเรี ยนต่อการเรี ยน โดยเน้นทักษะการจัดการ ู้ ั ่ นั้น ก่อให้เกิดลักษณะนิสยด้านต่าง ๆ อยูในระดับมาก รวมทั้งเห็นว่าควรส่ งเสริ มให้นกเรี ยนมีพฤติกรรม ั ่ การจัดการอยูในระดับมากที่สุดทุกขั้นตอน รุ่ งนภา สรรค์สวาสดิ์ (2550) ได้ศึกษาการพัฒนาความสามารถในการทาโครงงาน เรื่ องการดารงชีวิตและครอบครัว สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ด้วยวิธีการจัดการเรี ยนรู้แบบ โครงงาน มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสามารถในการทาโครงงานเรื่ องการดารงชีวิตและครอบครัวของ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้เรื่ องการดารงชีวิตและครอบครัวก่อนและหลังที่ ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน และศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้แบบ โครงงาน กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จานวน 38 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย ั ได้แก่ แผนการจัดการเรี ยนรู ้เรื่ อง การดารงชีวิตและครอบครัว ด้วยวิธีการจัดการเรี ยนรู้แบบโครงงาน แบบทดสอบวัดผลการเรี ยนรู้ เรื่ องการดารงชีวิตและครอบครัว และแบบสอบถามความคิดเห็นนักเรี ยนที่มี ต่อการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน ผลการวิจยพบว่า นักเรี ยนมีความสามารถในการทาโครงงานอยูใน ั ่ ่ ระดับพอใช้ ความสามารถในการตั้งชื่ อโครงงานอยูในระดับสู ง และการสรุ ปผลการศึกษาอยูในระดับต่า ่ ผลการเรี ยนรู ้ก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน แตกต่างกันอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ ั .05 ความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงานโดยภาพรวมอยูในระดับเห็นด้วยมาก ่ จากการศึกษาผลงานวิจยที่เกี่ยวข้องดังกล่าว สรุ ปได้วา การจัดการเรี ยนรู ้โดยเน้นทักษะการ ั ่ จัดการ กิจกรรมการสอนแบบโครงงาน การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ผงความคิดและการจัดการเรี ยนรู ้ที่ยด ั ึ ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เป็ นการส่ งเสริ มให้นกเรี ยนมีทกษะการจัดการ ทั้งการวางแผน การปฏิบติงาน การ ั ั ั ปรับปรุ งและการประเมินผล อันจะส่ งผลต่อการพัฒนาการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 ดังนั้น ผลงานการศึกษานี้จึงสามารถใช้เป็ นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้โดยเน้น ทักษะการจัดการแบบ P A O R วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 กลุ่มสาระการ เรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรี ยนสตรี ราชินูทิศ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ได้