SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
คานา
การพัฒนาประเทศไปสู่สังคมอุดมปัญญา จะต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ
ตระหนักในความสาคัญของการรับรู้ข้อมูลและสารสนเทศต่างๆ อย่างมีวิจารญาณ จนเกิดปัญญาปฏิบัติ
เพื่อนาองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การจัดการความรู้จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องปลูกฝังและฝึกฝน
ทั้งด้านการสืบค้น วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อนาเสนอองค์ความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสมในรูปแบบต่างๆ
รายวิชาภาษาไทยเชิงวิชาการ GEL 2001 จึงเกิดขึ้นเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญและใช้
ภาษาเชิงวิชาการเพื่อถ่ายทอดงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม รายวิชา
ภาษาไทยเชิงวิชาการนี้จัดทาโดยศูนย์การศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาที่มุ่งพัฒนาการ
เรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หลักสูตรปริญญาบัณฑิต มีการเรียนการสอนตามหลักการปฏิรูป
การเรียนรู้ตามระบบการเรียนกลุ่มใหญ่ ร่วมกับระบบ E-Learning เน้นให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองเพื่อ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนต่อไป
เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทยเชิงวิชาการ GEL 2001 นี้ คณาจารย์ผู้เขียนได้แบ่งเนื้อหา
ออกเป็น ๘ หน่วยการเรียน ได้แก่ หน่วยการเรียนที่ ๑ ความรู้พื้นฐานเรื่องการเขียนเชิงวิชาการ หน่วย
การเรียนที่ ๒ การใช้ภาษาเชิงวิชาการ หน่วยการเรียนที่ ๓ การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ
หน่วยการเรียนที่ ๔ การเขียนรายงานวิชาการ หน่วยการเรียนที่ ๕ การเขียนบทความแสดงความคิดเห็น
หน่วยการเรียนที่ ๖ การเขียนบทความวิชาการ หน่วยการเรียนที่ ๗ การเขียนเอกสารราชการ และหน่วย
การเรียนที่ ๘ การเขียนรายงานวิจัย เอกสารประกอบการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา
ภาษาไทยเชิงวิชาการระดับเบื้องต้นเท่านั้น ผู้เรียนจะต้องศึกษาเพิ่มเติมในระบบ E-Learnning ที่
คณาจารย์สาขาวิชาภาษาไทยได้จัดทาร่วมกับเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด
เพราะจะมีแบบทดสอบประจาแต่ละหน่วยสาหรับวัดความรู้ของผู้เรียนซึ่งจะทาให้มีความเข้าใจใน
บทเรียนมากยิ่งขึ้น รวมทั้งฝึกให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบที่จะต้องศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง มีวินัยต่อการ
ปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละหน่วยการเรียน ตอบสนองต่อปณิธานของมหาวิทยาลัยที่ต้องการมุ่งให้ผู้เรียน
เป็นผู้“ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นาสังคม” สมดังปณิธานอย่างแท้จริง
คณาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
สารบัญ
หน้า
หน่วยการเรียนที่ ๔ การเขียนรายงานวิชาการ ๕๗
ขั้นตอนการทารายงานวิชาการ ๕๘
ส่วนประกอบรายงาน ๖๓
การใช้ภาษาในการเรียบเรียงเนื้อหารายงาน ๗๒
นักศึกษาสามารถดาวน์โหลดไฟล์Powerpoint จากเอกสารแนบ (Attachments file)
หน่วยการเรียนที่ ๔
การเขียนรายงานวิชาการ
แนวคิด
๑. การทารายงานวิชาการเป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบขั้นตอน เพื่อให้ได้ผล
การศึกษาที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ
๒. ส่วนประกอบของรายงานเป็นองค์ประกอบสาคัญ ทาให้รายงานวิชาการมีความครบถ้วน
สมบูรณ์ตามรูปแบบการเขียนรายงานวิชาการ
๓. การให้ความสาคัญกับการใช้ภาษาในรายงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และการพิมพ์
รายงานอย่างประณีตจะเพิ่มคุณค่าให้รายงานวิชาการน่าอ่านยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนที่ ๔ แล้วผู้เรียนสามารถ
๑. อธิบายกระบวนการทารายงานวิชาการได้
๒. เขียนส่วนประกอบต่างๆ ของรายงานวิชาการได้
๓. ทารายงานวิชาการในหัวที่ได้รับมอบหมายได้
วิธีการเรียน
๑. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนหน่วยการเรียนที่ ๔
๒. เข้าฟังการบรรยายระบบการเรียนกลุ่มใหญ่ครั้งที่ ๔
๓. ทาแบบทดสอบท้ายการเรียนระบบการเรียนกลุ่มใหญ่
๔. ศึกษาด้วยตนเองในระบบ E-Learning
๕. ทาแบบทดสอบประจาหน่วยจากระบบ E-Learning
กลับสู่หน้าสารบัญ
หน่วยการเรียนที่ ๔
การเขียนรายงานวิชาการ
อาจารย์เสาวลักษณ์ แซ่ลี้
การเขียนรายงานวิชาการเป็นกระบวนการหนึ่งของการศึกษาค้นคว้า และนาเสนอผลการศึกษา
ค้นคว้านั้นในรูปแบบลายลักษณ์อักษร โดยมีการดาเนินการอย่างเป็นลาดับขั้นตอน และถ่ายทอดออกมา
ในรูปแบบที่ถูกต้องตามหลักการเขียนรายงานวิชาการ เพื่อให้กระบวนการศึกษาค้นคว้านั้นสมบูรณ์และ
น่าเชื่อถือ ผู้ที่กาลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาจึงจาเป็นที่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเขียนรายงาน
วิชาการอย่างถูกต้อง
ความหมายของรายงานวิชาการ
คาว่า รายงาน (Report) หรือ รายงานวิชาการ มีผู้ให้ความหมายไว้ต่างๆ กันดังนี้
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒๕๔๗, หน้า ๒ ) กล่าวถึงรายงาน
วิชาการ ว่าหมายถึง รายงานผลการค้นคว้าวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อประกอบการเรียน
รายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง (ในรายวิชาหนึ่งอาจมีรายงานวิชาการได้หลายเรื่อง)...
ธนู ทดแทนคุณ (๒๕๔๗, หน้า ๗๒) กล่าวว่ารายงานเป็นเอกสารทางวิชาการที่ผู้สอน
มอบหมายผู้เรียนจัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการประเมินผลในรายวิชานั้นๆ การศึกษารายงานไม่ลุ่ม
ลึกมาก ใช้เวลาน้อย รูปแบบการพิมพ์หรือส่วนประกอบมีไม่มากเท่ากับรายงานทางวิชาการประเภทอื่น
โปรแกรมวิชาภาษาไทยและโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (๒๕๔๕,
หน้า ๒๑๖) ได้กล่าวว่า รายงานเป็นการเรียบเรียงผลจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร การสังเกต การ
ทดลองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆในแต่ละรายวิชาซึ่งผู้ศึกษาและผู้สอนจะมีการตกลงกันเกี่ยวกับชื่อเรื่อง
จานวนบุคคลที่ทารายงาน จานวนรายงาน โดยมีการพิมพ์หรือเขียนตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกาหนด
ดังนั้นพอสรุปได้ว่า รายงานหรือรายงานวิชาการ เป็นการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง เพื่อประกอบการศึกษารายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง มีรูปแบบการจัดทาที่ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก แต่
เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ขั้นตอนการทารายงานวิชาการ
การจัดทารายงานวิชาการโดยทั่วไปมีขั้นตอน ดังนี้
๑. วางแผนการทารายงาน
๒. สารวจ รวบรวม และจัดเก็บข้อมูล
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๕๙
๓. ศึกษารูปแบบและส่วนประกอบของรายงาน
๔. วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล
๕. อ้างอิง
ขั้นตอนต่างๆ ดังข้างต้นเป็นแนวทางปฏิบัติ เมื่อผู้จัดทาต้องการศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่
เกี่ยวข้องกับการเรียนวิชานั้นๆ เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือ โดยมีรายละเอียดของวิธีการ
ดาเนินการ ดังนี้
๑. วางแผนการทารายงาน ประกอบด้วยการกาหนดหัวเรื่อง กาหนดวัตถุประสงค์ และจัดทา
โครงเรื่อง
๑.๑ กาหนดหัวเรื่อง
การกาหนดหัวเรื่องรายงานวิชาการ อาจเกิดจากการตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและ
ผู้เรียน
หรืออาจเกิดจากการให้อิสระในการเลือกค้นคว้าข้อมูลที่ผู้เรียนสนใจก็ได้ ดังนั้นหากต้องกาหนดหัว
เรื่องเพื่อทารายงานด้วยตนเอง เราควรพิจารณาจากประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
ก. เลือกเรื่องที่เราสนใจ การทาในสิ่งที่ตนพอใจย่อมก่อให้เกิดความสุข และ
มุ่งมั่นที่จะดาเนินการต่อไปจนสาเร็จ และถ้าเรื่องเลือกเกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายวิชาที่กาลังศึกษาอยู่ด้วย
ก็จะเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น เพราะนอกจากจะทางานในประเด็นที่เราสนใจแล้ว ยังเป็นโอกาสเพิ่มเติม
ความรู้ในวิชานั้นด้วย
ข. เลือกเรื่องที่ตรงกับความสามารถของเรา เพราะการทางานที่ตรงกับ
ความสามารถของตนย่อมส่งผลให้งานมีคุณภาพมากกว่าเลือกทางานที่ตนไม่ถนัด
ค. เลือกเรื่องที่คาดว่าเราจะทาได้สาเร็จ สาหรับผู้เรียนในระดับชั้นต่างกัน พื้นฐาน
ความรู้ก็ย่อมต่างกัน ดังนั้นจึงควรพิจารณาถึงศักยภาพของตนเองด้วย ควรตระหนักว่าเรื่องที่สนใจนั้น
สามารถจะทาได้สาเร็จภายในระยะเวลาที่กาหนดหรือไม่ การเลือกเรื่องที่เหมาะสมกับความสามารถ
ของตนก็จะเป็นเหตุผลหนึ่งที่สนับสนุนให้การทารายงานสาเร็จได้ตามเป้าหมาย
ง. เลือกเรื่องที่สามารถหาข้อมูลได้ เพราะในการทารายงานวิชาการทุกครั้งข้อมูล
อ้างอิงเป็นสิ่งสาคัญ หากหัวข้อที่เลือกไว้ไม่สามารถหาข้อมูลมาสนับสนุนได้ก็จะทาให้ข้อมูลไม่มี
น้าหนักและไม่น่าเชื่อถือ ดังนั้นก่อนเลือกเรื่องให้คานึงถึงแหล่งข้อมูลไปพร้อมๆ กัน
เมื่อได้เรื่องตามที่ต้องการแล้ว สิ่งสาคัญอีกอย่างก็คือ “การตั้งชื่อเรื่อง” เนื่องจาก
การนาเสนอผลการค้นคว้าด้วยรายงานวิชาการนี้เป็นการเขียนที่ต้องใช้ภาษาแบบแผน ดังนั้นภาษาใน
การตั้งชื่อเรื่องจึงแตกต่างจากการตั้งชื่อประเภทอื่น ชื่อเรื่องของรายงานวิชาการไม่ต้องการความตื่นเต้น
โลดโผน ไม่ใช้ประโยคคาถาม แต่ควรเป็นคาวลีหรือกลุ่มคาที่มีความหมายในตัวมันเองและแสดง
ประเด็นที่จะศึกษาให้ชัดเจน อาทิ
 แสดงสภาพการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงของพยัญชนะต้นเป็นอักษรนา
กลับสู่หน้าสารบัญ
๖๐ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
การใช้ภาษาในห้องสนทนาทางคอมพิวเตอร์ กลวิธีการแสดงความเห็นโต้แย้งในภาษาไทย
 แสดงประเด็นปัญหา เช่น ปัญหาการอ่านภาษาไทยในเด็กชั้นประถม การใช้
สารเคมีปราบศัตรูพืชในนาข้าว ความขัดแย้งทางความคิดระหว่างพรรคสีเหลืองกับพรรคสีแดง
 แสดงวิธีการศึกษา เช่น การศึกษาวัฒนธรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจาก
เรื่องขุนช้างขุนแผน วิเคราะห์ลีลาการใช้ภาษาในสารคดีสาหรับเด็ก
 แสดงเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งสองสิ่ง เช่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวร่วมกับ
การอนุรักษ์ธรรมชาติ ความนิยมบริโภคผักปลอดสารเคมีในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด
นอกจากนั้นการตั้งชื่อเรื่องที่ดีนั้นควรจะกะทัดรัด ชัดเจน หลีกเลี่ยงคาที่ไม่จาเป็น เลี่ยง
คาซ้าๆ โดยนาคาหรือข้อความที่สาคัญขึ้นต้นก่อน ควรตั้งชื่อเรื่องในลักษณะของคานามซึ่งจะให้ความ
ไพเราะสละสลวยกว่าคากริยา เช่น การศึกษาเปรียบเทียบ... การศึกษา... การสารวจ... การวิเคราะห์...
การทดลอง... เป็นต้น
๑.๒ กาหนดวัตถุประสงค์ เป็นการวางแผนขั้นต่อไป แสดงถึงความคาดหวังว่าเมื่อทา
รายงานฉบับนั้นแล้วจะได้ทราบผลเกี่ยวกับอะไรบ้าง ซึ่งเชื่อมโยงไปสู่การจากัดขอบเขตของเนื้อหา
รายงานว่ามีมากน้อยเพียงใด ประโยชน์ที่จะได้จากรายงานนั้นคืออะไร ผู้ทารายงานอาจใช้กลุ่มคาว่า
“เพื่อศึกษา...” “เพื่อวิเคราะห์...” “เพื่อให้ทราบ...” เป็นตัวช่วยแนะความคิดขณะกาหนดวัตถุประสงค์
ของเนื้อหา
๑.๓ กาหนดโครงเรื่อง การกาหนดโครงเรื่องเป็นประโยชน์สาหรับการทางานเขียนทุก
ประเภท รวมทั้งรายงานวิชาการ เพราะโครงเรื่องทาให้ผู้ทารายงานสามารถทราบเนื้อหาโดยรวมทั้งหมด
ทราบปริมาณเนื้อหาของแต่ละหัวข้อ และสามารถปรับแก้เนื้อหาให้เหมาะสมก่อนที่จะลงมือค้นคว้า
เรียบเรียงข้อมูล ปรีชา ช้างขวัญยืน (๒๕๕๐, หน้า ๖๑-๖๒) จาแนกขั้นตอนในการวางโครงเรื่องดังนี้
๑. กาหนดประเด็นใหญ่และประเด็นย่อยให้ครบถ้วน
๒. ลาดับหัวเรื่อง
๓. แบ่งหัวข้อใหญ่ออกเป็นหัวข้อย่อย
๔. จัดหัวข้อทุกหัวข้อให้มีน้าหนักใกล้เคียงกัน
ตัวอย่างเช่นเมื่อต้องการทารายงานเรื่อง “กล้วยกับวิถีชีวิตไทย” ผู้ทารายงานต้อง
กาหนดว่าในเรื่องนี้จะกล่าวถึงประเด็นอะไรได้บ้าง เช่น ใบตอง เชือกกล้วย ม้าก้านกล้วย กระทง
ใบตอง ประโยชน์ของกล้วยด้านต่างๆ ส่วนต่างๆ ของกล้วยที่นามาใช้ประโยชน์ การปลูกกล้วย การ
พัฒนาผลิตภัณฑ์จากกล้วย กล้วยในฐานะสมุนไพร เป็นต้น
เมื่อได้รวบรวมประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องแล้ว จากนั้นให้นาประเด็นที่ได้
ทั้งหมดข้างต้นที่ได้จดไว้มาเรียงลาดับความสาคัญ โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของเนื้อหา ประเด็น
ใดไม่เกี่ยวข้องก็ตัดออก คงไว้แต่ส่วนที่สัมพันธ์กับหัวเรื่อง เรียงลาดับตามความเหมาะสม อาจจะเรียง
ตามลาดับเวลา ตามเหตุการณ์หรือระยะเวลาการเกิดกระบวนการ ลาดับตามสถานที่ ลาดับตามเหตุผล
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๑
อื่นๆ ที่เหมาะสม และจัดวางหัวข้อใหญ่ไว้ด้านซ้ายมือ ส่วนหัวข้อย่อยให้เยื้องเข้าด้านขวาลดหลั่นกันไป
โดยมีตัวเลขหรือตัวอักษรกากับหน้าหัวข้อ
ยกตัวอย่างเรื่อง “กล้วยกับวิถีชีวิตไทย” เราสามารถเรียงลาดับประเด็นต่างๆ โดยเรียง
จากง่ายไปยาก หรือจากข้อมูลทั่วไปสู่ข้อมูลซับซ้อน ได้โครงเรื่อง ดังนี้
กล้วยกับวิถีชีวิตไทย
บทนา
1. ส่วนต่างๆ ของกล้วยที่นามาใช้ประโยชน์
1.1 ใบ
1.2 ต้น
1.3 กาบ
1.4 ก้าน
1.5 ดอกหรือปลี
1.6 ผล
2. บทบาทของกล้วยในชีวิตประจาวัน
2.1 การอุปโภคและบริโภค
2.2 การละเล่น
2.3 การสร้างงานศิลป์
3. บทบาทของกล้วยในพิธีกรรม
3.1 พิธีทางศาสนา
3.2 พิธีทาขวัญเด็ก
3.3 พิธีแต่งงาน
3.4 พิธีการปลูกบ้าน
3.5 พิธีศพ
บทสรุป
จากโครงเรื่องข้างต้นนี้ สังเกตว่าเราไม่จาเป็นต้องนาประเด็นทั้งหมดที่รวบรวมไว้มาใช้
ในโครงเรื่อง เช่น การปลูกกล้วย กล้วยในฐานะสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกล้วย ด้วยเหตุผล
ว่าเป็นประเด็นที่ไม่สัมพันธ์กับหัวเรื่องที่ต้องการค้นคว้า หรืออาจจะเนื้อหามีมากเกินไป ไม่เหมาะสม
กับขนาดของรายงานและเวลาอันจากัด
กลับสู่หน้าสารบัญ
๖๒ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
๒. สารวจ รวบรวม และจัดเก็บข้อมูล1
ดังที่กล่าวไว้ตั้งแต่ขั้นตอนการเลือกเรื่องเพื่อจะทา
รายงานแล้วว่า ควรพิจารณาแหล่งข้อมูลไปพร้อมๆ กัน เพื่อเป็นการประเมินความสาเร็จของการทา
รายงานฉบับนั้นว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด เพราะหากเรื่องน่าสนใจ แต่ไม่มีแหล่งข้อมูลหรือ
มีข้อมูลแคบมาก จนไม่น่านามาทาเป็นรายงานได้ การทารายงานเรื่องนั้นให้สาเร็จก็มีความเป็นไปได้
น้อย หรืออาจจะต้องเปลี่ยนแปลงหัวเรื่องใหม่กลางครันได้
๓. ศึกษารูปแบบและส่วนประกอบของรายงาน ก่อนลงมือทารายงานผู้จัดทาควรศึกษารูปแบบ
และส่วนประกอบของรายงานให้เข้าใจเป็นอย่างดี เนื่องจากการเขียนรายงานวิชาการเป็นงานเขียนที่มี
รูปแบบเฉพาะ ดังนั้นหากผู้จัดทารายงานไม่ให้ความสาคัญกับส่วนที่เป็นองค์ประกอบเหล่านี้แล้ว งาน
เขียนย่อมไม่สมบูรณ์ มีผลทาให้คุณค่าของรายงานวิชาการด้อยลงได้ ดังนั้นในบทนี้จึงได้กล่าวถึงการ
เขียนส่วนประกอบของรายงานไว้เพื่อใช้ประกอบการจัดทารายงานด้วย
๔. วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล เมื่อผ่านขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ให้นาข้อมูล
มาวิเคราะห์ด้วยแนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ที่ศึกษา ตัวอย่างเรื่อง “การออกเสียงของ
ผู้สื่อข่าว” ถ้าศึกษาในแนวภาษาศาสตร์ อาจจะศึกษาวิธีการออกเสียงว่าผู้สื่อข่าวออกเสียงถูกต้องตาม
หลักการออกเสียงภาษาไทยหรือไม่ มีเสียงไหนที่ผิดแปลกหรือเบี่ยงเบนไปจากเสียงมาตรฐานบ้าง
เบี่ยงเบนไปอย่างไร สาเหตุของการออกเสียงผิดปกติเนื่องจากอะไรบ้าง แต่นักนิเทศศาสตร์อาจจะ
เลือกศึกษาการออกเสียงขณะรายงานข่าวแต่ละประเภท ว่ามีลักษณะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร และ
ลักษณะที่แตกต่างเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กับเนื้อหาข่าวหรือไม่ การออกเสียงหรือการใช้เสียงใน
ลักษณะดังกล่าวสร้างความน่าสนใจให้กับเนื้อข่าวมากน้อยเพียงใด เป็นต้น
ข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดต้องนามาเรียบเรียงด้วยสานวนภาษาของตนเอง หลีกเลี่ยงการลอกจาก
ต้นฉบับหรือข้อมูลอ้างอิง และจัดลาดับการนาเสนอตามกรอบโครงเรื่องที่ได้กาหนดไว้แล้ว ซึ่งจะ
กล่าวถึงอีกครั้งในหัวข้อการใช้ภาษาในการเรียบเรียงรายงาน
๕. อ้างอิง2
การอ้างอิงแหล่งข้อมูลสาหรับการทารายงานวิชาการเป็นสิ่งที่ผู้ทารายงานต้องให้
ความสาคัญโดยให้คานึงถึงคุณภาพของข้อมูลที่นามามากกว่าคานึงแต่เพียงปริมาณของข้อมูล
จุดประสงค์ของการอ้างอิงก็เพื่อเป็นการแสดงหลักฐาน เพื่อเสนอความรู้เพิ่มเติมหรือความรู้ที่สาคัญ
ประกอบเนื้อหา ทาให้รายงานมีคุณค่ายิ่งขึ้น ข้อพึงระวังสาหรับการนาข้อมูลของผู้อื่นมาอ้างอิงใน
รายงานของตนมากเกินไป อาจก่อให้เกิดผลเสียคือผู้จัดทาไม่ได้นาเสนอแนวคิดของตนให้เป็นที่
ประจักษ์ชัด เนื่องจากแนวคิดทั้งหมดที่นาเสนอล้วนนามาจากผู้อื่น
1
ศึกษาเพิ่มเติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ
2
ศึกษาเพิ่มเติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๓
การเลือกแหล่งข้อมูลอ้างอิง ควรเลือกอ้างอิงข้อมูลเบื้องต้น หรือข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลที่ได้มา
จากแหล่งเดิมของเรื่องราว เช่น การสัมภาษณ์ผู้อยู่ในเหตุการณ์ บันทึกผู้ร่วมปฏิบัติภารกิจ ทฤษฎีการ
คิดค้นของผู้เขียนเรื่องนั้นๆ เป็นต้น แหล่งข้อมูลประเภทนี้จะทาให้ข้อมูลในรายงานน่าเชื่อถือมากกว่า
แหล่งข้อมูลที่เป็นการอ้างต่อๆ กันมา
ส่วนประกอบของรายงานวิชาการ
รายงานมีส่วนประกอบใหญ่ๆ ๓ ส่วน ดังนี้
๑. ส่วนประกอบตอนต้น ได้แก่ ปกนอก ใบรองปก ปกใน คานา สารบัญ
๒. ส่วนเนื้อหา ได้แก่ บทนา เนื้อหา บทสรุป
๓. ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก อภิธานศัพท์ ดัชนี ใบรองปก ปก
หลัง
ส่วนประกอบตอนต้น
๑. ปกนอก
ควรจัดทาด้วยกระดาษเนื้อหนากว่ากระดาษด้านในที่เป็นเนื้อหารายงาน โดยมีรูปแบบและ
รายละเอียดที่ขึ้นอยู่กับสถาบันและผู้สอนกาหนด แต่โดยทั่วไปหน้าปกรายงานจะประกอบด้วยชื่อ
รายงาน ชื่อผู้จัดทา ชื่อวิชา ชื่อสถาบัน ภาคเรียน และปีการศึกษา โดยจัดวางรูปแบบให้เหมาะสม
นอกจากนี้ในบางสถาบันก็กาหนดให้ระบุชื่ออาจารย์ผู้สอนในหน้าปกด้วย หรือบางแห่งให้ระบุเพียงชื่อ
รายงานเท่านั้น ส่วนรายละเอียดอื่นๆ ให้ใส่ไว้ในหน้าปกใน สาหรับกรณีที่ชื่อเรื่องยาวเกินหนึ่งบรรทัด
ให้จัดพิมพ์ในรูปแบบสามเหลี่ยมหัวกลับเพื่อความสวยงาม
กลับสู่หน้าสารบัญ
๖๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
ตัวอย่างการวางรูปแบบหน้าปกรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
เสนอ
อาจารย์ยิ่งรัก มีเมตตา
จัดทาโดย
นายปัญญา คิดดี
รหัส ๕๐๑๑๑๑๑๑๑๑
สาขาวิชาภาษาไทย
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาภาษาไทยเชิงวิชาการ (GEL 2001)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓
๒. ใบรองปก
ใบรองปกเป็นกระดาษเปล่าที่วางเรียงต่อจากปกนอก ผู้จัดทารายงานส่วนใหญ่มักไม่มีใบรอง
ปก เนื่องจากเป็นกระดาษไม่มีข้อมูลใดๆ ในการทารายงานวิชาการจะปรากฏการแทรกใบรองปกใน
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๕
ตาแหน่งต่อจากปกหน้าและก่อนปกหลัง แม้จะเป็นเพียงหน้ากระดาษเปล่า แต่ใบรองปกก็เป็น
ส่วนประกอบที่ทาให้รายงานวิชาการมีองค์ประกอบสมบูรณ์
๓. ปกใน
ปกในจะนาเสนอข้อมูลเหมือนกับปกนอกทุกประการ แต่พิมพ์ข้อมูลลงบนกระดาษสีขาว
เหมือนการพิมพ์เนื้อหารายงาน ปกในมีประโยชน์เพราะหากปกนอกชารุดหรือขาดหาย ข้อมูลของ
ผู้จัดทารายงานก็ยังปรากฏอยู่ในปกใน
๔. คานา
คานาเป็นส่วนที่แสดงถึงความสาคัญ ความเป็นมาของการจัดทารายงาน วัตถุประสงค์
ขอบเขตของเนื้อหา คาขอบคุณผู้ที่ช่วยเหลือให้การทารายงานสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี การเขียนคานาไม่
ควรกล่าวถึงข้อบกพร่องหรือคาขอโทษที่จัดทารายงานไม่เรียบร้อย ในส่วนท้ายของคานาจะระบุชื่อ-
นามสกุลของผู้จัดทารายงาน และวัน เดือน ปี แต่ถ้าผู้จัดทามีหลายคนให้เขียนว่า คณะผู้จัดทา แทนการ
ลงชื่อ-นามสกุลของผู้จัดทาจนครบทุกคน ตัวอย่าง
คานา
รายงานเรื่อง การเขียนรายงานวิชาการ ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการศึกษารายวิชา GEL
2001 ภาษาไทยเชิงวิชาการ ประจาภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับความหมาย
ของรายงาน ขั้นตอนการทารายงาน และส่วนประกอบรายงาน
ขอขอบคุณเจ้าของงานเขียนทุกท่านที่ผู้จัดทาได้นาข้อมูลมาใช้อ้างอิงประกอบการศึกษา และ
ขอขอบคุณอาจารย์ยิ่งรัก มีเมตตา ที่ช่วยให้คาแนะนาในการจัดทารายงานจนเป็นผลสาเร็จ และหวัง
เป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจเรื่องการเขียนรายงานวิชาการต่อไป
ปัญญา คิดดี
๘ พฤษภาคม ๒๕๕๓
๕. สารบัญ
สารบัญทาหน้าที่บอกหัวเรื่องต่างๆ ที่มีอยู่ในรายงาน เรียงลาดับตั้งแต่ต้นจนจบ โดยระบุเลข
หน้ากากับหัวข้อเรื่องนั้นไว้เริ่มต้นหน้าที่ ๑ เมื่อเป็นส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนหน้าที่เป็นส่วนประกอบรายงาน
กลับสู่หน้าสารบัญ
๖๖ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
ได้แก่ คานา สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง จะใช้ตัวเลขหรือตัวอักษรภายในวงเล็บ ในกรณีที่
เนื้อหาของรายงานมีภาพประกอบและตารางแสดงข้อมูลจานวนมาก ก็อาจจัดทาสารบัญภาพและ
สารบัญตารางเรียงต่อสารบัญเนื้อหา
ตัวอย่างสารบัญ
สารบัญ
หน้า
คานา _________________________________________________________ (๑)
สารบัญ ____________________________________________________ (๒)
สารบัญภาพ __________________________________________________ (๓)
สารบัญตาราง _________________________________________________ (๔)
ความหมายของรายงานวิชาการ ____________________________________ ๑
ขั้นตอนการทารายงานวิชาการ _____________________________________ ๒
ส่วนประกอบรายงานวิชาการ ____________________________________ ๑๐
การลงรายการบรรณานุกรม _______________________________________ ๑๙
บรรณานุกรม __________________________________________________ ๒๗
ภาคผนวก __________________________________________________ ๒๙
อภิธานศัพท์ __________________________________________________ ๓๓
ดัชนี _________________________________________________________ ๓๕
ตัวอย่างสารบัญภาพ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
๑ แบบอักษร ๓
๒ ตัวอย่างรูปแบบหน้าปกรายงาน ๖
๓ ตัวอย่างบัตรบันทึกข้อมูล ๙
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๗
ข้อควรระวังในการจัดทาสารบัญ การจัดทาสารบัญไม่ใช่เรื่องยากแต่มีข้อควรระวัง ดังนี้
๑. หัวข้อในสารบัญไม่ครบตามหัวเรื่องในเล่มรายงาน ฉะนั้นควรตรวจสอบหัวข้อให้
ถูกต้องเพื่อทาให้สารบัญสามารถแสดงเนื้อหาภายในเล่มได้สมบูรณ์ที่สุด และการพิมพ์หัวข้อในสารบัญ
อาจพิมพ์ทั้งหัวข้อหลักกับหัวข้อรอง หรือหัวข้อหลักอย่างเดียว อย่างไรก็ตามหากพิมพ์ทั้งหัวข้อหลัก
และหัวข้อรอง ควรพิมพ์หัวข้อรองเยื้องไปด้านขวาของหัวข้อหลักเพื่อแสดงลาดับชัดเจน
๒. ชื่อหัวข้อในเล่มรายงานไม่ตรงกับหัวข้อในสารบัญ อาจเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
หัวข้อในเนื้อหาภายหลังการจัดทาสารบัญแล้ว แต่ไม่ได้ปรับเปลี่ยนในหน้าสารบัญด้วย
๓. เลขหน้าไม่ตรงกับเนื้อหาภายในเล่ม หรือบางครั้งไม่มีเลขหน้าตามที่กาหนดใน
สารบัญต้องมีการตรวจสอบให้ดีก่อนจัดพิมพ์
ส่วนเนื้อหา
เนื้อหาเป็นส่วนสาคัญที่สุดในรายงาน เพราะเป็นส่วนที่ผู้จัดทาได้รวบรวม ค้นคว้า และเรียง
เรียงข้อมูล เพื่อตอบจุดประสงค์ของเรื่องที่กาหนดไว้ ในส่วนเนื้อหาจะประกอบด้วยบทนา เนื้อหา และ
บทสรุป ดังนี้
๑. บทนา
บทนาหรือความนา เป็นข้อความเริ่มต้นในส่วนเนื้อหา ซึ่งบทนาอาจเป็นเพียงย่อหน้าเดียว
หรือขึ้นบทใหม่ทั้งบทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของรายงาน หากเป็นรายงานฉบับเล็ก อาจมีบทนา
เพียงย่อหน้าเดียว เป็นเพียงย่อหน้านา ซึ่งการเขียนบทนาสาหรับรายงานทั่วไป ผู้จัดทาอาจกล่าวถึง
ความสาคัญของประเด็นที่ศึกษา หรืออาจเสนอข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็นอันนาไปสู่ประเด็นในเนื้อเรื่อง แต่
หากผู้จัดทาต้องการนาเสนอข้อมูลเบื้องหลังการจัดทารายงานก็ควรให้รายละเอียดในประเด็นต่างๆ มาก
ขึ้น ซึ่งการเขียนในลักษณะนี้อาจทาเป็นบทนา ๑ บทต่างหาก โดยกล่าวถึงความสาคัญของประเด็นที่
ศึกษา วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษา คานิยามเฉพาะที่ใช้ในรายงาน สถิติที่ใช้ใน
การวิเคราะห์(ถ้ามี) ปัญหาที่พบในการเก็บข้อมูล และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
กลับสู่หน้าสารบัญ
๖๘ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
ตัวอย่างการเขียนบทนาในรายงานขนาดเล็ก
“โฆษณาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนในกรุงมากเท่าๆ กับเครื่องรับโทรทัศน์ และในปัจจุบันเรา
สามารถกล่าวได้ว่า โฆษณาเป็นของคู่กับรายการทางโทรทัศน์ ค่าใช้จ่ายสาหรับรายการโทรทัศน์ต่างๆ
ล้วนได้มาจากการโฆษณาทั้งสิ้น” (วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์, ๒๕๓๗, หน้า ๑ )
จากข้อความข้างต้นได้แสดงว่าโฆษณาเป็นสิ่งสาคัญในการสื่อสารมวลชน ทาให้ข้อความ
โฆษณาเป็นสิ่งที่ต้องพิถีพิถันมากในงานโฆษณาแต่ละชิ้น เพราะเป็นสิ่งที่ได้ผ่านการคิดค้นขึ้นมาเพื่อจูง
ใจให้คนแสดงพฤติกรรมตามที่ผู้สร้างสรรค์โฆษณาต้องการ ความต้องการพื้นฐานที่สาคัญที่สุดคือ
ความต้องการ ชักจูงให้คนยอมจ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าหรือบริการ
รายการวิทยุปัจจุบันก็มีการโฆษณาสินค้าเกือบทุกสถานี โดยเฉพาะสถานีที่เป็นรายการเพลงซึ่ง
มีคนฟังค่อนข้างมาก รูปแบบการสร้างภาษาในโฆษณาจึงต้องมีการพัฒนาและแข่งขันเพื่อให้ผู้ฟัง
ประทับใจมากที่สุด และจากความแตกต่างของรูปแบบรายการวิทยุประเภทเอเอ็มและเอฟเอ็ม ซึ่งมีกลุ่ม
ผู้ฟังแตกต่างกันอย่างชัดเจน ผู้วิเคราะห์เห็นว่าน่าจะมีบางสิ่งบางอย่างในการโฆษณาแตกต่างกันไป
อาทิ เรื่องของรูปแบบ ภาษา ตลอดจนตัวสินค้าที่นาเสนอ เป็นเหตุผลให้ผู้วิเคราะห์เกิดความสนใจที่จะ
ศึกษาถึงความแตกต่างที่ปรากฏอยู่จริง
๒. เนื้อหา
การเรียบเรียงส่วนเนื้อหาในรายงานประกอบด้วยส่วนที่เป็นเนื้อความ การอ้างอิงในเนื้อหา3
การเขียน อัญประภาษ และเชิงอรรถ
ในส่วนเนื้อความ เมื่อผู้จัดทารายงานได้ผ่านกระบวนการค้นคว้า รวบรวมและบันทึกข้อมูล
ได้ตามที่ต้องการแล้ว ก่อนอื่นต้องตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูลก่อน โดย
พิจารณาถึงแหล่งข้อมูลที่นามา บุคคลหรือหน่วยงานที่จัดทาข้อมูลนั้น เช่น ถ้าผู้เขียนเป็นผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะในสาขาวิชาย่อมน่าเชื่อถือกว่าบุคคลที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น หรือเรื่องเกี่ยวกับ
การศึกษา ควรอ้างอิงแหล่งที่มาจากกระทรวงศึกษาธิการมากกว่ากระทรวงวัฒนธรรม เป็นต้น ปัจจุบัน
การนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้ประกอบในรายงานมีจานวนมากขึ้น เนื่องจากการสืบค้นสะดวก ไม่
เสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากเท่ากับการเข้าใช้บริการห้องสมุดต่างๆ แต่ข้อควรระวังในการนาข้อมูลจาก
อินเทอร์เน็ตมาใช้ คือควรพิจารณาแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่น เลือกใช้ฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัย
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) หรือเนื้อหาที่แสดงข้อมูลผู้เขียนชัดเจน น่าเชื่อถือ และเราสามารถนามา
อ้างอิงได้ ย่อมดีกว่าการนาข้อมูลของใครก็ได้ที่แสดงไว้ในเว็บไซต์ทั่วๆ ไป มาใช้ประกอบการทา
3
ศึกษาเพิ่มเติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๙
รายงาน เพราะข้อมูลนั้นอาจจะเป็นเพียงการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ข้อคิดเห็น ของบุคคลทั่วไป
แต่บังเอิญเป็นข้อมูลที่ตรงกับประเด็นในรายงานของเราเท่านั้น
เมื่อพิจารณาและคัดเลือกข้อมูลทั้งหมดแล้ว ให้นาข้อมูลทั้งหมดมาเรียบเรียง โดยมีการนา
แนวคิดหรือทฤษฎีตามหลักวิชานั้นๆ มาใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
สิ่งที่ผู้จัดทารายงานควรตระหนักก็คือการนาข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ในรายงาน ไม่ควรใช้วิธี
คัดลอก หรือนามาตัดต่อ แต่ควรเป็นการเรียบเรียงใหม่โดยใช้สานวนภาษาของผู้ทารายงานเอง อาจใช้
การบรรยาย การอธิบาย การยกตัวอย่างประกอบ และการนาเสนอผลในรูปแบบของตาราง รูปภาพ
แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเหมือนที่ผู้จัดทาเข้าใจ เรียงลาดับเนื้อหาไปตามลาดับของ
โครงเรื่องที่ได้กาหนดไว้ และในแต่ละย่อหน้าต้องคานึงถึงสารัตถภาพที่อาจจะเป็นข้อเท็จจริง การ
วิเคราะห์ข้อมูลการแสดงความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ โดยเรียบเรียงให้มีเอกภาพและสัมพันธภาพ
ตั้งแต่ต้นจนจบแต่ละหัวข้อเรื่อง
ตัวอย่างการเรียบเรียงเนื้อหาประเด็น “ความสาคัญของใบตองกับการบริโภคของคนไทย”
ตัวอย่างนี้มีข้อมูลเกี่ยวข้องซึ่งรวบรวมไว้ได้จานวน ๔ ข้อมูล นามาพิจารณาเลือกข้อมูลที่สัมพันธ์กับ
เรื่อง และเรียบเรียงใหม่ด้วยสานวนภาษาของตนเอง
ข้อมูลที่ ๑
กระทงใบตองแห้ง เป็นสิ่งที่ใช้ในเทศกาลตรุษจีน สารทจีน และอื่น ๆ อีกมากมาย และ กระทงใบตอง
แห้งของจังหวัดสมุทรสงครามเป็นสินค้าที่ส่งออกมาหลายชั่วอายุคน การเย็บกระทงใบตองแห้ง วัสดุหา
ง่ายในท้องถิ่น มีทุกพื้นที่ สามารถนามาเป็นอาชีพเสริม และอาชีพหลักได้ ขึ้นอยู่กับราคาและเทศกาล
เดือนหนึ่ง ๆ สร้างรายได้ประมาณ 2,000-3,000 บาท
(ดัดแปลงข้อมูลจาก www.moac-info.net/modules/news/.../75_4_55329_katong.pdf -)
ข้อมูลที่ ๒
ใบตองแห้งนาไปใช้ในงานศิลปกรรมไทยได้หลายอย่าง เช่น นาไปทารักสมุก ในงานของช่าง
เขียน ช่าง+ปั้น ช่างแกะ และช่างหุ่น เพราะรักสมุกใบตองแห้ง ช่วยในการเคลือบและปกป้ องเนื้อ
ไม้ ขัดแต่งง่าย เมื่อแห้งผิวเป็นมัน น้าหนักเบา เหมาะในการทาหัวโขน และการลงรักปิดทอง
ข้อมูลที่ ๓
ในงานศพ ในสมัยโบราณ มีการนาใบตองมารองศพ ก่อนนาศพวางลงในโลง นอกจากนี้ใบตองยังมี
บทบาทสาคัญมากในพิธีกรรมต่างๆ โดยการนามาทากระทงใส่ของ ใส่ดอกไม้ และประดิษฐ์เป็น
กระทงบายศรี
กลับสู่หน้าสารบัญ
๗๐ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
ข้อมูลที่ ๔
ในชีวิตประจาวัน ใช้ใบตองในการห่อผักสดและอาหาร เนื่องจากใบตองสดมีความชื้น ดังนั้นเมื่อใช้
ห่อผักสดหรืออาหาร ความชื้นจะช่วยรักษาผักหรืออาหารให้สดอยู่เสมอ นอกจากนี้ใบตองยังทนทาน
ต่อความเย็นและความร้อน ดังนั้นเมื่อนาใบตองห่ออาหารแล้วเอาไปปิ้ง นึ่ง ต้ม ใบตองก็จะไม่สลาย
หรือละลายเหมือนเช่นพลาสติก จึงมีอาหารหลายอย่างที่ห่อใบตองแล้วนาไปนึ่ง เช่น ห่อข้าวต้ม
ผัด ขนม+กล้วย ขนมตาล ขนมใส่ไส้ หรือเอาไปปิ้ง เช่น ข้าวเหนียวปิ้ง หรือนาไปต้ม เช่น ข้าวต้ม
มัด หรือข้าวต้มจิ้ม อาหารเหล่านี้เมื่อนาไปต้ม ปิ้ง หรือนึ่งแล้ว ยังทาให้เกิดความหอมของใบตองอีก
ด้วย สาหรับใบตองแห้งนามาใช้ทากระทงเพื่อใส่อาหาร ห่อกะละแม มวนบุหรี่ โดยใบตองแห้งก็จะมี
กลิ่นหอมเช่นกัน ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้มีการทดลองนาเอาใบตองแห้งมาอัดกันแน่นหลายๆ
ชั้น ทาเป็นภาชนะใส่ของแทนการใช้โฟม
(ดัดแปลงข้อมูลจาก http://www.polyboon.com/stories/story000070.html)
สานวนภาษาที่เรียงเรียงแล้ว
ใบตองเป็นวัสดุธรรมชาติที่มีบทบาทคู่กับครัวเรือนของไทยมาช้านาน ทั้งใบตองสดและ
ใบตองแห้ง สามารถนามาสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งสิ้น บทบาทหนึ่งของใบตองคือการนาทา
เป็นภาชนะบรรจุและห่อหุ้มอาหาร ในชีวิตประจาวันของคนในสมัยก่อนนิยมใช้ใบตองสดห่อผักสด
เนื่องจากใบตองสดมีความชื้นซึ่งจะช่วยให้ผักสดนาน ปัจจุบันยังพบเห็นการใช้ประโยชน์ของใบตอง
ในลักษณะนี้บ้างตามต่างจังหวัด ในด้านการนาใบตองมาใช้บรรจุอาหารและขนม เช่น ห่อหมก ตะโก้
ขนมตาล และขนมไทยอื่นๆ รวมทั้งขนมเข่ง ขนมประจาเทศกาลตรุษสารทของชาวจีนที่เลือกใช้เฉพาะ
กระทงใบตองแห้ง ก็เป็นวัฒนธรรมการกินที่ยังคงปรากฏให้เห็นอยู่จนทุกวันนี้
บทบาทของใบตองในการประกอบอาหารไทย ใบตองสดจะถูกนามาห่ออาหารแล้วนาไปปิ้ง
นึ่ง หรือต้ม เช่น ข้าวต้มผัด ข้าวเหนียวปิ้ง และขนมใส่ไส้ เป็นต้น เนื่องจากคุณสมบัติของใบตองที่
คงทนต่อความร้อนได้ ไม่ละลายเหมือนผลิตภัณฑ์จากพลาสติก อีกทั้งกลิ่นหอมของใบตองทาให้
อาหารมีกลิ่นชวนรับประทาน ดังเช่นการนาใบตองอ่อนมาห่อกาละแม ยิ่งเพิ่มเสน่ห์ด้วยกลิ่นหอม
อบอวลให้แก่ขนมที่มีรสชาติกลมกล่อมอยู่แล้ว
จากตัวอย่างข้างต้นจะพบว่าข้อมูลที่ได้รวบรวมมา มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของ
ใบตองมากมาย แต่ก็มีอีกหลายประเด็นไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กาลังศึกษา จึงต้องตัดข้อมูลเหล่านั้นทิ้ง
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๑
ไป ผู้จัดทารายงานไม่ควรเสียดายข้อมูลที่มีอยู่และพยายามนามาเขียนแทรกลงไป เพราะจะทาให้
เนื้อหาผิดไปจากโครงเรื่องที่กาหนดไว้
๓. บทสรุป
บทสรุป เป็นข้อความที่อยู่ตอนท้ายของเนื้อหา อาจเป็นเพียงย่อหน้าเดียวหรือแยกเป็นบท
ต่างหากก็ได้ ซึ่งขนาดของบทสรุปจะสัมพันธ์กับขนาดของบทนา ข้อความในส่วนนี้เป็นการสรุป
รายละเอียดงานวิชาการที่ได้เรียบเรียงไว้ ประเด็นที่นามาสรุปอาจเป็นผลการศึกษาที่ได้จากการค้นคว้า
ข้อมูล หรือเป็นข้อมูลเพื่อตอบคาถามประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับรายงานได้ครบถ้วนชัดเจน บทสรุปมี
ประโยชน์ในการทาให้ผู้อ่านจับประเด็นของเรื่องทั้งหมดได้ง่ายขึ้น
ตัวอย่างการเขียนบทสรุปรายงานขนาดเล็ก
สรุปและข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาและวิเคราะห์ลีลาภาษาร้อยแก้วในบทพระราชนิพนธ์ในพระราชวรวงศ์เธอ กรม
หมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) จากเรื่องจดหมายจางวางหร่าและนิทานเวตาล ผู้ศึกษาพบว่าลีลาภาษาร้อย
แก้วที่ปรากฏมีการใช้ภาษาอย่างประณีต โดดเด่นอย่างมีเอกลักษณ์ พระนิพนธ์เรื่องจดหมายจางวางหร่า
ก็จะงดงามด้วยลีลาภาษาร้อยแก้วแห่งโวหารข้อคิดตลอดทั้งเรื่อง ส่วนพระนิพนธ์ร้อยแก้วที่มี
จุดมุ่งหมายเพื่อความบันเทิงอย่างนิทานเวตาล แม้จะมีลีลาภาษาร้อยแก้วครบทุกลีลา แต่ปรากฏลีลา
ภาษาข้อคิดโวหารและลีลาภาษาสุนทรียะค่อนข้างมากกว่าลีลาภาษาประเภทอื่น ทั้งนี้สอดคล้องกับ
จุดมุ่งหมายที่มุ่งให้ข้อคิด ความบันเทิงและให้อรรถรสทางวรรณศิลป์
ข้อสังเกตจากการศึกษาที่พบ มี ๒ ประเด็น คือ ประเด็นที่ ๑ ผู้แต่งเป็นผู้มีอารมณ์ขันแสดงออก
โดยใช้การใช้ภาษา การใช้บริบทแวดล้อมของภาษา การใช้คา การสร้างพฤติกรรมตัวละครให้น่าขัน
ประเด็นที่ ๒ การใช้คา สานวนของผู้แต่งซึ่งเป็นคาง่ายๆ แต่สร้างความมีชีวิตชีวาให้กับเรื่องราวด้วย
สานวนภาษาที่ไม่เหมือนใคร ซึ่งทาให้บทนิพนธ์ทั้งสองเรื่องนี้จึงยังเป็นที่ประทับใจและชื่นชอบของ
ผู้อ่านทุกยุคทุกสมัยตราบจนทุกวันนี้
(ดัดแปลงจากรายงานเรื่อง “ลีลาภาษาร้อยแก้วในบทพระนิพนธ์ในพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์” ของ
สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ)
กลับสู่หน้าสารบัญ
๗๒ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
การใช้ภาษาในการเรียบเรียงเนื้อหารายงาน
ภาษาการเขียนรายงานมีลักษณะเป็นภาษาแบบแผน ไม่ใช้ภาษาปากหรือภาษาพูด แต่ควรเป็น
ภาษาสุภาพและเหมาะกับผู้อ่าน การใช้ภาษาในการเรียบเรียงรายงานควรพิจารณาในประเด็นต่างๆ ดังนี้
๑. ความถูกต้องและสมบูรณ์
๑.๑ การสะกดคา ในการเขียนรายงานผู้จัดทาต้องพิถีพิถันในการตรวจสอบความถูกต้องของ
การสะกดคาที่ใช้เสมอ หากไม่แน่ใจควรเปิดพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไม่ควร
เดาสุ่มหรือปล่อยข้ามไปโดยไม่มีการตรวจสอบ หากเป็นคาทับศัพท์ซึ่งปัจจุบันมีการเขียนที่ต่างกันมาก
ดังนั้นควรยึดหลักการเขียนตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถานจึงจะเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ เลี่ยงการ
ฉีกคาออกจากกันเมื่อขึ้นบรรทัดใหม่ หากจาเป็นต้องฉีกคาแล้วก็ควรใส่เครื่องหมายยติภังค์หรือยัตติภังค์
ซึ่งเป็นเครื่องหมายขีดกลางบรรทัด (-) เพื่อแสดงว่ามีส่วนของคาที่อยู่ในบรรทัดใหม่ เช่น มหาวิทยาลัย
ราชภัฏ- สวนสุนันทา กระทรวงวิทยาศาสตร์-และเทคโนโลยี แต่ไม่ควรฉีกคาในกรณีที่คานั้นเป็นคา
เดียวกัน แต่อ่านออกเสียงหลายพยางค์ เช่น สามา-รถ ปฏิสัง-ขรณ์ สวนสุ-นันทา เป็นต้น
๑.๒ การเขียนตัวเลข โดยปกติการแสดงจานวนนิยมเขียนด้วยตัวเลขอยู่แล้ว ทั้งวันที่ เดือน ปี
อายุ เลขหน้า เลขบท เลขตาราง จานวนเงิน จานวนนับหน้าคาลักษณนาม จานวนนับทาง
คณิตศาสตร์ และจานวนหน้าคาว่า เปอร์เซ็นต์ แต่ความนิยมเขียนจานวนด้วยตัวอักษรก็พบในกรณีดังนี้
 สิ่งที่กล่าวถึงมีจานวนต่ากว่า ๑๐ โดยเฉพาะ เลข ๐ และ ๑ เช่น หนึ่งในล้าน ค่า
เป็นศูนย์ สี่ครั้ง ภาพสามมิติ เป็นต้น แต่สาหรับข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีนิยมเขียนเป็นตัวเลขไม่ว่าจะมีค่าเท่าใด เช่น อุณหภูมิ ๔๓ องศา
เซลเซียส กาลังไฟ ๒๒๐ โวลต์
 ตัวเลขที่เป็นคาแรกของประโยค ชื่อเรื่อง หรือหัวข้อในหนังสือ เช่น ชายสาม
โบสถ์ สี่สหายปราบโจร ร้อยแปดพันเก้า เจ็ดดรุณี เป็นต้น
 เศษส่วน เช่น หนึ่งในสามของรายได้ หนึ่งต่อหนึ่ง เศษสองส่วนสี่ เป็นต้น
 สาหรับตัวเลขตั้งแต่หลักล้านขึ้นไปให้ใช้ตัวเลขและอักษรประสมกัน เช่น
๗ หมื่นล้านบาท ๖๐ ล้านคน ๒๐๐ ล้านบาท เป็นต้น
๑.๓ การเว้นระยะหลังเครื่องหมายวรรคตอน เพื่อความเป็นระเบียบแบบแผนและสวยงาม เมื่อ
มีการพิมพ์ข้อความหลังเครื่องหมายจุลภาค (,) อัฒภาค (;) ทวิภาค (:) และอัญประกาศ (“ ”) ให้เว้นวรรค
๑ เคาะ แต่ถ้ามีเครื่องหมายมหัพภาค (.) นามาก่อนให้เว้นวรรค ๒ เคาะ
๑.๔ ความสม่าเสมอ ดังที่ได้กล่าวแล้วว่าภาษาในการเขียนรายงานต้องเป็นภาษาแบบแผน
ดังนั้นการใช้ภาษาตลอดทั้งเล่มรายงานต้องเป็นภาษาระดับเดียวกัน ไม่ควรนาภาษาระดับไม่เป็น
ทางการเข้ามาปะปน เช่น การเดินทางโดยรถโดยสารประจาทางเป็นยานพาหนะที่สาคัญของคนเมือง
หากวันใดรถเมล์เกิดการประท้วงผู้คนคงลาบาก
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๓
๑.๕ การใช้ประโยคและย่อหน้าที่สมบูรณ์ ประโยคที่สมบูรณ์เกิดจากการเรียงคาได้ถูกต้องตาม
หลักไวยากรณ์ไทย ไม่ใช้ประโยคกากวม ทาให้ตีความได้หลายอย่าง มีความเป็นเหตุเป็นผลสอดคล้อง
กัน และควรหลีกเลี่ยงสานวนภาษาต่างประเทศ ส่วนย่อหน้าที่สมบูรณ์เกิดจากขั้นตอนการวางโครง
เรื่อง ทาให้แต่ละย่อหน้ามีเอกภาพ สารัตถภาพ คือมีประเด็นหลักที่ต้องการนาเสนอเพียงประเด็นเดียว
เท่านั้น และข้อมูลที่เรียบเรียงมีความสัมพันธ์กันเกี่ยวข้องกันไปจนจบย่อหน้า
๑.๖ หลีกเลี่ยงคาที่ไม่ควรใช้ ได้แก่ การใช้ภาษาพูดหรือภาษาปาก คาหยาบ คาไม่สุภาพ
คาสแลง คาย่อที่ไม่เป็นที่รู้จัก คาโบราณที่ไม่เป็นที่ไม่เป็นที่รู้จักแล้ว คาที่มีความหมายกากวม ยกเว้น
คาเหล่านี้จาเป็นต้องนาเสนอเนื่องจากเกี่ยวข้องกับเนื้อหาหรือเป็นผลการค้นคว้า ส่วนคาศัพท์เทคนิค
และคาศัพท์ยาก หากนามาใช้ควรมีคาอธิบายกากับเสมอเพื่อให้ผู้อ่านรายงานได้เข้าใจ โดยอาจรวบรวม
ไว้ในอภิธานศัพท์ในส่วนประกอบตอนท้ายของรายงาน
๒. ความกะทัดรัด หลีกเลี่ยงการเขียนรายงานด้วยการใช้คาฟุ่มเฟือยในประโยค ข้อความ
ฟุ่มเฟือยในย่อหน้า การทารายงานโดยการเขียนข้อความยืดยาวเพื่อให้มีปริมาณงานมากขึ้นไม่ใช่สิ่งที่ดี
แต่หากเมื่อมีการวางโครงเรื่องอย่างเหมาะสม ใช้ภาษากระชับ รัดกุมเพื่อสื่อความหมายได้ชัดเจนจะทา
ให้รายงานน่าอ่านมากกว่า
๓. ความชัดเจน ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดดซึ่งคาแต่ละคามีความหมายโดยไม่ต้องมีการ
เปลี่ยนรูปคาเหมือนภาษาอังกฤษ การเรียงลาดับคาและการเว้นวรรคตอน เป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้
ความหมายของคาเปลี่ยนไปได้ เช่น เขาสั่งให้ไปทา แตกต่างจาก เขาสั่งไปให้ทา และ เขาสั่งทาไปให้
หรือประโยคว่า น้อยซื้อข้าวหมูแดงมากินกับนิด ความหมายแตกต่างจาก น้อยซื้อข้าวหมู แดงมากิน
กับนิด เป็นต้น ดังนั้นต้องการสื่อความหมายอย่างใดก็ควรพิจารณารูปภาษาให้ละเอียดถี่ถ้วนเสมอ
๔. การลาดับความ ก่อนลงมือเขียนต้องมีการจัดลาดับความ หรือกาหนดจุดมุ่งหมายในการจะ
นาเสนอโดยการวางโครงเรื่อง ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดกรอบความคิดและลาดับความสาคัญของเนื้อหาให้
เหมาะสมก่อนจะลงมือเขียน และขณะที่เขียนก็ให้หมั่นกลับไปดูโครงเรื่องที่กาหนดไว้เพื่อจะได้ไม่หลง
ออกนอกประเด็น
ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม4
ภาคผนวก อภิธานศัพท์ ดัชนี ใบรองปก และ
ปกหลัง
๑. ภาคผนวก
ภาคผนวกเป็นข้อความที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายงาน อาจช่วยขยายเนื้อหาของรายงาน
หรือเป็นข้อความที่ยาวเกินกว่าจะนาไปใส่เป็นเชิงอรรถได้ นอกจากนั้นอาจเป็นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ
กับการทารายงาน เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แผนที่ แต่ถ้าข้อมูลนั้นไม่จาเป็นก็ไม่ควรนามา
ประกอบในรายงาน เพียงเพื่อให้ตัวเล่มมีปริมาณหน้าเพิ่มขึ้น
4
ศึกษาเพิ่มเติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ
กลับสู่หน้าสารบัญ
๗๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
๒. อภิธานศัพท์
อภิธานศัพท์ เป็นการอธิบายคาศัพท์ที่สาคัญ คาศัพท์เทคนิคในสาขาวิชานั้นๆ คาศัพท์ที่ใช้
ในความหมายเฉพาะในรายงานเท่านั้น หรืออาจเป็นคาศัพท์ยากที่ผู้จัดทารายงานคาดว่าผู้อ่านอาจไม่
เข้าใจ โดยจัดเรียงตามลาดับตัวอักษร ซึ่งอภิธานศัพท์อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ เพราะว่าถ้าในรายงานมี
ศัพท์ที่ต้องมี การอธิบายเพิ่มเติมจานวนไม่มาก ผู้จัดทาอาจจะใช้วิธีการอธิบายคาศัพท์เหล่านั้นใน
ส่วนที่เป็นบันทึกเพิ่มเติมส่วนท้ายของแต่ละบท หรือทาเชิงอรรถเสริมความในส่วนล่างของหน้ารายงาน
ก็ได้
ตัวอย่างอภิธานศัพท์ในรายงานเรื่อง “ความสัมพันธ์ของพุทธศาสนากับคนไทย” ท้ายรายงาน
อภิธานศัพท์
การถวายสังฆทาน การถวายสิ่งของจตุปัจจัยวัตถุแก่หมู่พระสงฆ์ โดยไม่เลือกระบุถวาย
เฉพาะเจาะจงแก่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่ง
ตลกบาตร ถุงใส่บาตรที่มีสายสาหรับคล้องบ่า เรียกว่า ถลกบาตร ก็มี เมื่อแยกส่วนออก
จะมีส่วนประกอบคือสายโยก คือสายของตลกบาตร สาหรับคล้องบ่า และ
ตะเครียว คือถุงตาข่ายที่ถักด้วยด้ายหรือไหมเป็นตาโปร่งมีหูรูด หุ้มตลกบาตรอีก
ชั้นหนึ่ง เรียกว่า ตะเครียว ก็มี พระใช้เมื่อออกบิณฑบาต
เบญจธรรม ธรรมะ ๕ ประการ คู่กับเบญจศีล ได้แก่ เมตตา ทาน ความสารวมในกาม
สัจจะ สติ
ปวารณา วันที่สิ้นการจาพรรษาแห่งพระสงฆ์คือ วันขึ้น ๑๕ ค่าเดือน ๑๑ ในวันนี้จะมี
พิธีกรรมทางศาสนายอมให้สงฆ์ว่ากล่าวตักเตือนได้
สังเวชนียสถาน สถานเป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช, ที่ที่ให้เกิดความสังเวช มี ๔ คือ ๑. ที่
พระพุทธเจ้าประสูติ คือ อุทยาน ลุมพินีปัจจุบันเรียกลุมพินีหรือรุมมินเด ๒. ที่
พระพุทธเจ้า ตรัสรู้ คือ ควงโพธิ์ ที่ตาบล พุทธคยา ๓. ที่พระพุทธเจ้าทรง
แสดงปฐมเทศนา คือ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวง เมืองพาราณสี ปัจจุบัน
เรียก สารนาถ ๔. ที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน คือที่สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา
หรือกุสินคร บัดนี้เรียกว่ากาเซีย
กลับสู่หน้าสารบัญ
G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๕
๓. ดัชนีหรือดรรชนี เป็นรายการคาที่ปรากฏในรายงาน อาจแบ่งเป็นหัวข้อต่างๆ เช่น รายการ
ชื่อต้นไม้ ชื่อพืชสมุนไพร ชื่อพันธุ์สัตว์ป่าคุ้มครอง เป็นต้น ซึ่งแต่ละรายการคาจะจัดเรียงตามลาดับ
ตัวอักษรเพื่อให้ค้นหาสะดวก โดยที่ผู้อ่านไม่ต้องอ่านรายงานทั้งฉบับเมื่อต้องการทราบเนื้อหาเฉพาะ
เรื่องนั้น การทารายงานอาจจะมีหรือไม่มีดัชนีก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม
ตัวอย่างดัชนี
ดัชนี
รายการคา หน้า
กฎแห่งการกลายเสียง ๑๙๔
กะเหรี่ยง-ภาษา ๑๑๓
การกลายเสียง ๓๗, ๒๐๖
ความหมายกว้างออก ๒๙๙
ความหมายแคบเข้า ๒๙๗
คาซ้อน ๒๒,๒๗๙
ชวา-ภาษา ๙๙
ญี่ปุ่น – ภาษา ๑๒๓
นิรุกติศาสตร์ ๕
บาลี – ภาษา ๗๑
ภาษาคาโดด ๕๐
ภาษาถิ่น ๓๗,๑๒๘
ลักษณะของรายงานการค้นคว้าที่ดี
พูลสุข เอกไทยเจริญ (๒๕๕๑, หน้า ๑๖๕-๑๖๖) กล่าวถึงการเขียนรายงานหรือภาคนิพนธ์ที่ดี
ควรมีลักษณะดังนี้
๑. เนื้อเรื่อง ถูกต้องครบถ้วน ครอบคลุมประเด็นที่ต้องการนาเสนอ มีการจัดลาดับเนื้อเรื่อง
อย่าง
เหมาะสม ชัดเจน มีเอกภาพ สารัตถภาพ และสัมพันธภาพ มีวิธีการนาเสนอที่ดี อ่านเข้าใจง่าย
๒. ภาษา ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม เป็นภาษาเขียนที่เรียบง่ายอย่างพิถีพิถัน ไม่คลุมเครือ
สั้น
กลับสู่หน้าสารบัญ
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ

More Related Content

What's hot

Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวkrupornpana55
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

What's hot (20)

Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Similar to การเขียนรายงานวิชาการ

Similar to การเขียนรายงานวิชาการ (20)

ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
งาน2 8
งาน2 8งาน2 8
งาน2 8
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

More from Surapong Klamboot

โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSurapong Klamboot
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
สื่อสร้างปัญญา
สื่อสร้างปัญญาสื่อสร้างปัญญา
สื่อสร้างปัญญาSurapong Klamboot
 
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความการอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความSurapong Klamboot
 
การอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียงการอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียงSurapong Klamboot
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 

More from Surapong Klamboot (8)

โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
สื่อสร้างปัญญา
สื่อสร้างปัญญาสื่อสร้างปัญญา
สื่อสร้างปัญญา
 
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความการอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
 
การอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียงการอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียง
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 

การเขียนรายงานวิชาการ

  • 1.
  • 2. คานา การพัฒนาประเทศไปสู่สังคมอุดมปัญญา จะต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ตระหนักในความสาคัญของการรับรู้ข้อมูลและสารสนเทศต่างๆ อย่างมีวิจารญาณ จนเกิดปัญญาปฏิบัติ เพื่อนาองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การจัดการความรู้จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องปลูกฝังและฝึกฝน ทั้งด้านการสืบค้น วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อนาเสนอองค์ความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสมในรูปแบบต่างๆ รายวิชาภาษาไทยเชิงวิชาการ GEL 2001 จึงเกิดขึ้นเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญและใช้ ภาษาเชิงวิชาการเพื่อถ่ายทอดงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม รายวิชา ภาษาไทยเชิงวิชาการนี้จัดทาโดยศูนย์การศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาที่มุ่งพัฒนาการ เรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หลักสูตรปริญญาบัณฑิต มีการเรียนการสอนตามหลักการปฏิรูป การเรียนรู้ตามระบบการเรียนกลุ่มใหญ่ ร่วมกับระบบ E-Learning เน้นให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองเพื่อ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนต่อไป เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทยเชิงวิชาการ GEL 2001 นี้ คณาจารย์ผู้เขียนได้แบ่งเนื้อหา ออกเป็น ๘ หน่วยการเรียน ได้แก่ หน่วยการเรียนที่ ๑ ความรู้พื้นฐานเรื่องการเขียนเชิงวิชาการ หน่วย การเรียนที่ ๒ การใช้ภาษาเชิงวิชาการ หน่วยการเรียนที่ ๓ การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ หน่วยการเรียนที่ ๔ การเขียนรายงานวิชาการ หน่วยการเรียนที่ ๕ การเขียนบทความแสดงความคิดเห็น หน่วยการเรียนที่ ๖ การเขียนบทความวิชาการ หน่วยการเรียนที่ ๗ การเขียนเอกสารราชการ และหน่วย การเรียนที่ ๘ การเขียนรายงานวิจัย เอกสารประกอบการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา ภาษาไทยเชิงวิชาการระดับเบื้องต้นเท่านั้น ผู้เรียนจะต้องศึกษาเพิ่มเติมในระบบ E-Learnning ที่ คณาจารย์สาขาวิชาภาษาไทยได้จัดทาร่วมกับเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด เพราะจะมีแบบทดสอบประจาแต่ละหน่วยสาหรับวัดความรู้ของผู้เรียนซึ่งจะทาให้มีความเข้าใจใน บทเรียนมากยิ่งขึ้น รวมทั้งฝึกให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบที่จะต้องศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง มีวินัยต่อการ ปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละหน่วยการเรียน ตอบสนองต่อปณิธานของมหาวิทยาลัยที่ต้องการมุ่งให้ผู้เรียน เป็นผู้“ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นาสังคม” สมดังปณิธานอย่างแท้จริง คณาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • 3. ๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร สารบัญ หน้า หน่วยการเรียนที่ ๔ การเขียนรายงานวิชาการ ๕๗ ขั้นตอนการทารายงานวิชาการ ๕๘ ส่วนประกอบรายงาน ๖๓ การใช้ภาษาในการเรียบเรียงเนื้อหารายงาน ๗๒ นักศึกษาสามารถดาวน์โหลดไฟล์Powerpoint จากเอกสารแนบ (Attachments file)
  • 4. หน่วยการเรียนที่ ๔ การเขียนรายงานวิชาการ แนวคิด ๑. การทารายงานวิชาการเป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบขั้นตอน เพื่อให้ได้ผล การศึกษาที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ ๒. ส่วนประกอบของรายงานเป็นองค์ประกอบสาคัญ ทาให้รายงานวิชาการมีความครบถ้วน สมบูรณ์ตามรูปแบบการเขียนรายงานวิชาการ ๓. การให้ความสาคัญกับการใช้ภาษาในรายงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และการพิมพ์ รายงานอย่างประณีตจะเพิ่มคุณค่าให้รายงานวิชาการน่าอ่านยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนที่ ๔ แล้วผู้เรียนสามารถ ๑. อธิบายกระบวนการทารายงานวิชาการได้ ๒. เขียนส่วนประกอบต่างๆ ของรายงานวิชาการได้ ๓. ทารายงานวิชาการในหัวที่ได้รับมอบหมายได้ วิธีการเรียน ๑. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนหน่วยการเรียนที่ ๔ ๒. เข้าฟังการบรรยายระบบการเรียนกลุ่มใหญ่ครั้งที่ ๔ ๓. ทาแบบทดสอบท้ายการเรียนระบบการเรียนกลุ่มใหญ่ ๔. ศึกษาด้วยตนเองในระบบ E-Learning ๕. ทาแบบทดสอบประจาหน่วยจากระบบ E-Learning กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 5. หน่วยการเรียนที่ ๔ การเขียนรายงานวิชาการ อาจารย์เสาวลักษณ์ แซ่ลี้ การเขียนรายงานวิชาการเป็นกระบวนการหนึ่งของการศึกษาค้นคว้า และนาเสนอผลการศึกษา ค้นคว้านั้นในรูปแบบลายลักษณ์อักษร โดยมีการดาเนินการอย่างเป็นลาดับขั้นตอน และถ่ายทอดออกมา ในรูปแบบที่ถูกต้องตามหลักการเขียนรายงานวิชาการ เพื่อให้กระบวนการศึกษาค้นคว้านั้นสมบูรณ์และ น่าเชื่อถือ ผู้ที่กาลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาจึงจาเป็นที่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเขียนรายงาน วิชาการอย่างถูกต้อง ความหมายของรายงานวิชาการ คาว่า รายงาน (Report) หรือ รายงานวิชาการ มีผู้ให้ความหมายไว้ต่างๆ กันดังนี้ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒๕๔๗, หน้า ๒ ) กล่าวถึงรายงาน วิชาการ ว่าหมายถึง รายงานผลการค้นคว้าวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อประกอบการเรียน รายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง (ในรายวิชาหนึ่งอาจมีรายงานวิชาการได้หลายเรื่อง)... ธนู ทดแทนคุณ (๒๕๔๗, หน้า ๗๒) กล่าวว่ารายงานเป็นเอกสารทางวิชาการที่ผู้สอน มอบหมายผู้เรียนจัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการประเมินผลในรายวิชานั้นๆ การศึกษารายงานไม่ลุ่ม ลึกมาก ใช้เวลาน้อย รูปแบบการพิมพ์หรือส่วนประกอบมีไม่มากเท่ากับรายงานทางวิชาการประเภทอื่น โปรแกรมวิชาภาษาไทยและโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (๒๕๔๕, หน้า ๒๑๖) ได้กล่าวว่า รายงานเป็นการเรียบเรียงผลจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร การสังเกต การ ทดลองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆในแต่ละรายวิชาซึ่งผู้ศึกษาและผู้สอนจะมีการตกลงกันเกี่ยวกับชื่อเรื่อง จานวนบุคคลที่ทารายงาน จานวนรายงาน โดยมีการพิมพ์หรือเขียนตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกาหนด ดังนั้นพอสรุปได้ว่า รายงานหรือรายงานวิชาการ เป็นการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าเรื่องใด เรื่องหนึ่ง เพื่อประกอบการศึกษารายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง มีรูปแบบการจัดทาที่ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก แต่ เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ขั้นตอนการทารายงานวิชาการ การจัดทารายงานวิชาการโดยทั่วไปมีขั้นตอน ดังนี้ ๑. วางแผนการทารายงาน ๒. สารวจ รวบรวม และจัดเก็บข้อมูล กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 6. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๕๙ ๓. ศึกษารูปแบบและส่วนประกอบของรายงาน ๔. วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล ๕. อ้างอิง ขั้นตอนต่างๆ ดังข้างต้นเป็นแนวทางปฏิบัติ เมื่อผู้จัดทาต้องการศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ เกี่ยวข้องกับการเรียนวิชานั้นๆ เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือ โดยมีรายละเอียดของวิธีการ ดาเนินการ ดังนี้ ๑. วางแผนการทารายงาน ประกอบด้วยการกาหนดหัวเรื่อง กาหนดวัตถุประสงค์ และจัดทา โครงเรื่อง ๑.๑ กาหนดหัวเรื่อง การกาหนดหัวเรื่องรายงานวิชาการ อาจเกิดจากการตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและ ผู้เรียน หรืออาจเกิดจากการให้อิสระในการเลือกค้นคว้าข้อมูลที่ผู้เรียนสนใจก็ได้ ดังนั้นหากต้องกาหนดหัว เรื่องเพื่อทารายงานด้วยตนเอง เราควรพิจารณาจากประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้ ก. เลือกเรื่องที่เราสนใจ การทาในสิ่งที่ตนพอใจย่อมก่อให้เกิดความสุข และ มุ่งมั่นที่จะดาเนินการต่อไปจนสาเร็จ และถ้าเรื่องเลือกเกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายวิชาที่กาลังศึกษาอยู่ด้วย ก็จะเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น เพราะนอกจากจะทางานในประเด็นที่เราสนใจแล้ว ยังเป็นโอกาสเพิ่มเติม ความรู้ในวิชานั้นด้วย ข. เลือกเรื่องที่ตรงกับความสามารถของเรา เพราะการทางานที่ตรงกับ ความสามารถของตนย่อมส่งผลให้งานมีคุณภาพมากกว่าเลือกทางานที่ตนไม่ถนัด ค. เลือกเรื่องที่คาดว่าเราจะทาได้สาเร็จ สาหรับผู้เรียนในระดับชั้นต่างกัน พื้นฐาน ความรู้ก็ย่อมต่างกัน ดังนั้นจึงควรพิจารณาถึงศักยภาพของตนเองด้วย ควรตระหนักว่าเรื่องที่สนใจนั้น สามารถจะทาได้สาเร็จภายในระยะเวลาที่กาหนดหรือไม่ การเลือกเรื่องที่เหมาะสมกับความสามารถ ของตนก็จะเป็นเหตุผลหนึ่งที่สนับสนุนให้การทารายงานสาเร็จได้ตามเป้าหมาย ง. เลือกเรื่องที่สามารถหาข้อมูลได้ เพราะในการทารายงานวิชาการทุกครั้งข้อมูล อ้างอิงเป็นสิ่งสาคัญ หากหัวข้อที่เลือกไว้ไม่สามารถหาข้อมูลมาสนับสนุนได้ก็จะทาให้ข้อมูลไม่มี น้าหนักและไม่น่าเชื่อถือ ดังนั้นก่อนเลือกเรื่องให้คานึงถึงแหล่งข้อมูลไปพร้อมๆ กัน เมื่อได้เรื่องตามที่ต้องการแล้ว สิ่งสาคัญอีกอย่างก็คือ “การตั้งชื่อเรื่อง” เนื่องจาก การนาเสนอผลการค้นคว้าด้วยรายงานวิชาการนี้เป็นการเขียนที่ต้องใช้ภาษาแบบแผน ดังนั้นภาษาใน การตั้งชื่อเรื่องจึงแตกต่างจากการตั้งชื่อประเภทอื่น ชื่อเรื่องของรายงานวิชาการไม่ต้องการความตื่นเต้น โลดโผน ไม่ใช้ประโยคคาถาม แต่ควรเป็นคาวลีหรือกลุ่มคาที่มีความหมายในตัวมันเองและแสดง ประเด็นที่จะศึกษาให้ชัดเจน อาทิ  แสดงสภาพการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงของพยัญชนะต้นเป็นอักษรนา กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 7. ๖๐ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร การใช้ภาษาในห้องสนทนาทางคอมพิวเตอร์ กลวิธีการแสดงความเห็นโต้แย้งในภาษาไทย  แสดงประเด็นปัญหา เช่น ปัญหาการอ่านภาษาไทยในเด็กชั้นประถม การใช้ สารเคมีปราบศัตรูพืชในนาข้าว ความขัดแย้งทางความคิดระหว่างพรรคสีเหลืองกับพรรคสีแดง  แสดงวิธีการศึกษา เช่น การศึกษาวัฒนธรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจาก เรื่องขุนช้างขุนแผน วิเคราะห์ลีลาการใช้ภาษาในสารคดีสาหรับเด็ก  แสดงเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งสองสิ่ง เช่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวร่วมกับ การอนุรักษ์ธรรมชาติ ความนิยมบริโภคผักปลอดสารเคมีในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด นอกจากนั้นการตั้งชื่อเรื่องที่ดีนั้นควรจะกะทัดรัด ชัดเจน หลีกเลี่ยงคาที่ไม่จาเป็น เลี่ยง คาซ้าๆ โดยนาคาหรือข้อความที่สาคัญขึ้นต้นก่อน ควรตั้งชื่อเรื่องในลักษณะของคานามซึ่งจะให้ความ ไพเราะสละสลวยกว่าคากริยา เช่น การศึกษาเปรียบเทียบ... การศึกษา... การสารวจ... การวิเคราะห์... การทดลอง... เป็นต้น ๑.๒ กาหนดวัตถุประสงค์ เป็นการวางแผนขั้นต่อไป แสดงถึงความคาดหวังว่าเมื่อทา รายงานฉบับนั้นแล้วจะได้ทราบผลเกี่ยวกับอะไรบ้าง ซึ่งเชื่อมโยงไปสู่การจากัดขอบเขตของเนื้อหา รายงานว่ามีมากน้อยเพียงใด ประโยชน์ที่จะได้จากรายงานนั้นคืออะไร ผู้ทารายงานอาจใช้กลุ่มคาว่า “เพื่อศึกษา...” “เพื่อวิเคราะห์...” “เพื่อให้ทราบ...” เป็นตัวช่วยแนะความคิดขณะกาหนดวัตถุประสงค์ ของเนื้อหา ๑.๓ กาหนดโครงเรื่อง การกาหนดโครงเรื่องเป็นประโยชน์สาหรับการทางานเขียนทุก ประเภท รวมทั้งรายงานวิชาการ เพราะโครงเรื่องทาให้ผู้ทารายงานสามารถทราบเนื้อหาโดยรวมทั้งหมด ทราบปริมาณเนื้อหาของแต่ละหัวข้อ และสามารถปรับแก้เนื้อหาให้เหมาะสมก่อนที่จะลงมือค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล ปรีชา ช้างขวัญยืน (๒๕๕๐, หน้า ๖๑-๖๒) จาแนกขั้นตอนในการวางโครงเรื่องดังนี้ ๑. กาหนดประเด็นใหญ่และประเด็นย่อยให้ครบถ้วน ๒. ลาดับหัวเรื่อง ๓. แบ่งหัวข้อใหญ่ออกเป็นหัวข้อย่อย ๔. จัดหัวข้อทุกหัวข้อให้มีน้าหนักใกล้เคียงกัน ตัวอย่างเช่นเมื่อต้องการทารายงานเรื่อง “กล้วยกับวิถีชีวิตไทย” ผู้ทารายงานต้อง กาหนดว่าในเรื่องนี้จะกล่าวถึงประเด็นอะไรได้บ้าง เช่น ใบตอง เชือกกล้วย ม้าก้านกล้วย กระทง ใบตอง ประโยชน์ของกล้วยด้านต่างๆ ส่วนต่างๆ ของกล้วยที่นามาใช้ประโยชน์ การปลูกกล้วย การ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากกล้วย กล้วยในฐานะสมุนไพร เป็นต้น เมื่อได้รวบรวมประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องแล้ว จากนั้นให้นาประเด็นที่ได้ ทั้งหมดข้างต้นที่ได้จดไว้มาเรียงลาดับความสาคัญ โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของเนื้อหา ประเด็น ใดไม่เกี่ยวข้องก็ตัดออก คงไว้แต่ส่วนที่สัมพันธ์กับหัวเรื่อง เรียงลาดับตามความเหมาะสม อาจจะเรียง ตามลาดับเวลา ตามเหตุการณ์หรือระยะเวลาการเกิดกระบวนการ ลาดับตามสถานที่ ลาดับตามเหตุผล กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 8. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๑ อื่นๆ ที่เหมาะสม และจัดวางหัวข้อใหญ่ไว้ด้านซ้ายมือ ส่วนหัวข้อย่อยให้เยื้องเข้าด้านขวาลดหลั่นกันไป โดยมีตัวเลขหรือตัวอักษรกากับหน้าหัวข้อ ยกตัวอย่างเรื่อง “กล้วยกับวิถีชีวิตไทย” เราสามารถเรียงลาดับประเด็นต่างๆ โดยเรียง จากง่ายไปยาก หรือจากข้อมูลทั่วไปสู่ข้อมูลซับซ้อน ได้โครงเรื่อง ดังนี้ กล้วยกับวิถีชีวิตไทย บทนา 1. ส่วนต่างๆ ของกล้วยที่นามาใช้ประโยชน์ 1.1 ใบ 1.2 ต้น 1.3 กาบ 1.4 ก้าน 1.5 ดอกหรือปลี 1.6 ผล 2. บทบาทของกล้วยในชีวิตประจาวัน 2.1 การอุปโภคและบริโภค 2.2 การละเล่น 2.3 การสร้างงานศิลป์ 3. บทบาทของกล้วยในพิธีกรรม 3.1 พิธีทางศาสนา 3.2 พิธีทาขวัญเด็ก 3.3 พิธีแต่งงาน 3.4 พิธีการปลูกบ้าน 3.5 พิธีศพ บทสรุป จากโครงเรื่องข้างต้นนี้ สังเกตว่าเราไม่จาเป็นต้องนาประเด็นทั้งหมดที่รวบรวมไว้มาใช้ ในโครงเรื่อง เช่น การปลูกกล้วย กล้วยในฐานะสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกล้วย ด้วยเหตุผล ว่าเป็นประเด็นที่ไม่สัมพันธ์กับหัวเรื่องที่ต้องการค้นคว้า หรืออาจจะเนื้อหามีมากเกินไป ไม่เหมาะสม กับขนาดของรายงานและเวลาอันจากัด กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 9. ๖๒ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ๒. สารวจ รวบรวม และจัดเก็บข้อมูล1 ดังที่กล่าวไว้ตั้งแต่ขั้นตอนการเลือกเรื่องเพื่อจะทา รายงานแล้วว่า ควรพิจารณาแหล่งข้อมูลไปพร้อมๆ กัน เพื่อเป็นการประเมินความสาเร็จของการทา รายงานฉบับนั้นว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด เพราะหากเรื่องน่าสนใจ แต่ไม่มีแหล่งข้อมูลหรือ มีข้อมูลแคบมาก จนไม่น่านามาทาเป็นรายงานได้ การทารายงานเรื่องนั้นให้สาเร็จก็มีความเป็นไปได้ น้อย หรืออาจจะต้องเปลี่ยนแปลงหัวเรื่องใหม่กลางครันได้ ๓. ศึกษารูปแบบและส่วนประกอบของรายงาน ก่อนลงมือทารายงานผู้จัดทาควรศึกษารูปแบบ และส่วนประกอบของรายงานให้เข้าใจเป็นอย่างดี เนื่องจากการเขียนรายงานวิชาการเป็นงานเขียนที่มี รูปแบบเฉพาะ ดังนั้นหากผู้จัดทารายงานไม่ให้ความสาคัญกับส่วนที่เป็นองค์ประกอบเหล่านี้แล้ว งาน เขียนย่อมไม่สมบูรณ์ มีผลทาให้คุณค่าของรายงานวิชาการด้อยลงได้ ดังนั้นในบทนี้จึงได้กล่าวถึงการ เขียนส่วนประกอบของรายงานไว้เพื่อใช้ประกอบการจัดทารายงานด้วย ๔. วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล เมื่อผ่านขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ให้นาข้อมูล มาวิเคราะห์ด้วยแนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ที่ศึกษา ตัวอย่างเรื่อง “การออกเสียงของ ผู้สื่อข่าว” ถ้าศึกษาในแนวภาษาศาสตร์ อาจจะศึกษาวิธีการออกเสียงว่าผู้สื่อข่าวออกเสียงถูกต้องตาม หลักการออกเสียงภาษาไทยหรือไม่ มีเสียงไหนที่ผิดแปลกหรือเบี่ยงเบนไปจากเสียงมาตรฐานบ้าง เบี่ยงเบนไปอย่างไร สาเหตุของการออกเสียงผิดปกติเนื่องจากอะไรบ้าง แต่นักนิเทศศาสตร์อาจจะ เลือกศึกษาการออกเสียงขณะรายงานข่าวแต่ละประเภท ว่ามีลักษณะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร และ ลักษณะที่แตกต่างเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กับเนื้อหาข่าวหรือไม่ การออกเสียงหรือการใช้เสียงใน ลักษณะดังกล่าวสร้างความน่าสนใจให้กับเนื้อข่าวมากน้อยเพียงใด เป็นต้น ข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดต้องนามาเรียบเรียงด้วยสานวนภาษาของตนเอง หลีกเลี่ยงการลอกจาก ต้นฉบับหรือข้อมูลอ้างอิง และจัดลาดับการนาเสนอตามกรอบโครงเรื่องที่ได้กาหนดไว้แล้ว ซึ่งจะ กล่าวถึงอีกครั้งในหัวข้อการใช้ภาษาในการเรียบเรียงรายงาน ๕. อ้างอิง2 การอ้างอิงแหล่งข้อมูลสาหรับการทารายงานวิชาการเป็นสิ่งที่ผู้ทารายงานต้องให้ ความสาคัญโดยให้คานึงถึงคุณภาพของข้อมูลที่นามามากกว่าคานึงแต่เพียงปริมาณของข้อมูล จุดประสงค์ของการอ้างอิงก็เพื่อเป็นการแสดงหลักฐาน เพื่อเสนอความรู้เพิ่มเติมหรือความรู้ที่สาคัญ ประกอบเนื้อหา ทาให้รายงานมีคุณค่ายิ่งขึ้น ข้อพึงระวังสาหรับการนาข้อมูลของผู้อื่นมาอ้างอิงใน รายงานของตนมากเกินไป อาจก่อให้เกิดผลเสียคือผู้จัดทาไม่ได้นาเสนอแนวคิดของตนให้เป็นที่ ประจักษ์ชัด เนื่องจากแนวคิดทั้งหมดที่นาเสนอล้วนนามาจากผู้อื่น 1 ศึกษาเพิ่มเติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ 2 ศึกษาเพิ่มเติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 10. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๓ การเลือกแหล่งข้อมูลอ้างอิง ควรเลือกอ้างอิงข้อมูลเบื้องต้น หรือข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลที่ได้มา จากแหล่งเดิมของเรื่องราว เช่น การสัมภาษณ์ผู้อยู่ในเหตุการณ์ บันทึกผู้ร่วมปฏิบัติภารกิจ ทฤษฎีการ คิดค้นของผู้เขียนเรื่องนั้นๆ เป็นต้น แหล่งข้อมูลประเภทนี้จะทาให้ข้อมูลในรายงานน่าเชื่อถือมากกว่า แหล่งข้อมูลที่เป็นการอ้างต่อๆ กันมา ส่วนประกอบของรายงานวิชาการ รายงานมีส่วนประกอบใหญ่ๆ ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนประกอบตอนต้น ได้แก่ ปกนอก ใบรองปก ปกใน คานา สารบัญ ๒. ส่วนเนื้อหา ได้แก่ บทนา เนื้อหา บทสรุป ๓. ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก อภิธานศัพท์ ดัชนี ใบรองปก ปก หลัง ส่วนประกอบตอนต้น ๑. ปกนอก ควรจัดทาด้วยกระดาษเนื้อหนากว่ากระดาษด้านในที่เป็นเนื้อหารายงาน โดยมีรูปแบบและ รายละเอียดที่ขึ้นอยู่กับสถาบันและผู้สอนกาหนด แต่โดยทั่วไปหน้าปกรายงานจะประกอบด้วยชื่อ รายงาน ชื่อผู้จัดทา ชื่อวิชา ชื่อสถาบัน ภาคเรียน และปีการศึกษา โดยจัดวางรูปแบบให้เหมาะสม นอกจากนี้ในบางสถาบันก็กาหนดให้ระบุชื่ออาจารย์ผู้สอนในหน้าปกด้วย หรือบางแห่งให้ระบุเพียงชื่อ รายงานเท่านั้น ส่วนรายละเอียดอื่นๆ ให้ใส่ไว้ในหน้าปกใน สาหรับกรณีที่ชื่อเรื่องยาวเกินหนึ่งบรรทัด ให้จัดพิมพ์ในรูปแบบสามเหลี่ยมหัวกลับเพื่อความสวยงาม กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 11. ๖๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ตัวอย่างการวางรูปแบบหน้าปกรายงานวิชาการ การเขียนรายงานวิชาการ เสนอ อาจารย์ยิ่งรัก มีเมตตา จัดทาโดย นายปัญญา คิดดี รหัส ๕๐๑๑๑๑๑๑๑๑ สาขาวิชาภาษาไทย รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาภาษาไทยเชิงวิชาการ (GEL 2001) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๒. ใบรองปก ใบรองปกเป็นกระดาษเปล่าที่วางเรียงต่อจากปกนอก ผู้จัดทารายงานส่วนใหญ่มักไม่มีใบรอง ปก เนื่องจากเป็นกระดาษไม่มีข้อมูลใดๆ ในการทารายงานวิชาการจะปรากฏการแทรกใบรองปกใน กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 12. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๕ ตาแหน่งต่อจากปกหน้าและก่อนปกหลัง แม้จะเป็นเพียงหน้ากระดาษเปล่า แต่ใบรองปกก็เป็น ส่วนประกอบที่ทาให้รายงานวิชาการมีองค์ประกอบสมบูรณ์ ๓. ปกใน ปกในจะนาเสนอข้อมูลเหมือนกับปกนอกทุกประการ แต่พิมพ์ข้อมูลลงบนกระดาษสีขาว เหมือนการพิมพ์เนื้อหารายงาน ปกในมีประโยชน์เพราะหากปกนอกชารุดหรือขาดหาย ข้อมูลของ ผู้จัดทารายงานก็ยังปรากฏอยู่ในปกใน ๔. คานา คานาเป็นส่วนที่แสดงถึงความสาคัญ ความเป็นมาของการจัดทารายงาน วัตถุประสงค์ ขอบเขตของเนื้อหา คาขอบคุณผู้ที่ช่วยเหลือให้การทารายงานสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี การเขียนคานาไม่ ควรกล่าวถึงข้อบกพร่องหรือคาขอโทษที่จัดทารายงานไม่เรียบร้อย ในส่วนท้ายของคานาจะระบุชื่อ- นามสกุลของผู้จัดทารายงาน และวัน เดือน ปี แต่ถ้าผู้จัดทามีหลายคนให้เขียนว่า คณะผู้จัดทา แทนการ ลงชื่อ-นามสกุลของผู้จัดทาจนครบทุกคน ตัวอย่าง คานา รายงานเรื่อง การเขียนรายงานวิชาการ ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการศึกษารายวิชา GEL 2001 ภาษาไทยเชิงวิชาการ ประจาภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับความหมาย ของรายงาน ขั้นตอนการทารายงาน และส่วนประกอบรายงาน ขอขอบคุณเจ้าของงานเขียนทุกท่านที่ผู้จัดทาได้นาข้อมูลมาใช้อ้างอิงประกอบการศึกษา และ ขอขอบคุณอาจารย์ยิ่งรัก มีเมตตา ที่ช่วยให้คาแนะนาในการจัดทารายงานจนเป็นผลสาเร็จ และหวัง เป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจเรื่องการเขียนรายงานวิชาการต่อไป ปัญญา คิดดี ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ๕. สารบัญ สารบัญทาหน้าที่บอกหัวเรื่องต่างๆ ที่มีอยู่ในรายงาน เรียงลาดับตั้งแต่ต้นจนจบ โดยระบุเลข หน้ากากับหัวข้อเรื่องนั้นไว้เริ่มต้นหน้าที่ ๑ เมื่อเป็นส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนหน้าที่เป็นส่วนประกอบรายงาน กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 13. ๖๖ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ได้แก่ คานา สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง จะใช้ตัวเลขหรือตัวอักษรภายในวงเล็บ ในกรณีที่ เนื้อหาของรายงานมีภาพประกอบและตารางแสดงข้อมูลจานวนมาก ก็อาจจัดทาสารบัญภาพและ สารบัญตารางเรียงต่อสารบัญเนื้อหา ตัวอย่างสารบัญ สารบัญ หน้า คานา _________________________________________________________ (๑) สารบัญ ____________________________________________________ (๒) สารบัญภาพ __________________________________________________ (๓) สารบัญตาราง _________________________________________________ (๔) ความหมายของรายงานวิชาการ ____________________________________ ๑ ขั้นตอนการทารายงานวิชาการ _____________________________________ ๒ ส่วนประกอบรายงานวิชาการ ____________________________________ ๑๐ การลงรายการบรรณานุกรม _______________________________________ ๑๙ บรรณานุกรม __________________________________________________ ๒๗ ภาคผนวก __________________________________________________ ๒๙ อภิธานศัพท์ __________________________________________________ ๓๓ ดัชนี _________________________________________________________ ๓๕ ตัวอย่างสารบัญภาพ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ๑ แบบอักษร ๓ ๒ ตัวอย่างรูปแบบหน้าปกรายงาน ๖ ๓ ตัวอย่างบัตรบันทึกข้อมูล ๙ กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 14. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๗ ข้อควรระวังในการจัดทาสารบัญ การจัดทาสารบัญไม่ใช่เรื่องยากแต่มีข้อควรระวัง ดังนี้ ๑. หัวข้อในสารบัญไม่ครบตามหัวเรื่องในเล่มรายงาน ฉะนั้นควรตรวจสอบหัวข้อให้ ถูกต้องเพื่อทาให้สารบัญสามารถแสดงเนื้อหาภายในเล่มได้สมบูรณ์ที่สุด และการพิมพ์หัวข้อในสารบัญ อาจพิมพ์ทั้งหัวข้อหลักกับหัวข้อรอง หรือหัวข้อหลักอย่างเดียว อย่างไรก็ตามหากพิมพ์ทั้งหัวข้อหลัก และหัวข้อรอง ควรพิมพ์หัวข้อรองเยื้องไปด้านขวาของหัวข้อหลักเพื่อแสดงลาดับชัดเจน ๒. ชื่อหัวข้อในเล่มรายงานไม่ตรงกับหัวข้อในสารบัญ อาจเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง หัวข้อในเนื้อหาภายหลังการจัดทาสารบัญแล้ว แต่ไม่ได้ปรับเปลี่ยนในหน้าสารบัญด้วย ๓. เลขหน้าไม่ตรงกับเนื้อหาภายในเล่ม หรือบางครั้งไม่มีเลขหน้าตามที่กาหนดใน สารบัญต้องมีการตรวจสอบให้ดีก่อนจัดพิมพ์ ส่วนเนื้อหา เนื้อหาเป็นส่วนสาคัญที่สุดในรายงาน เพราะเป็นส่วนที่ผู้จัดทาได้รวบรวม ค้นคว้า และเรียง เรียงข้อมูล เพื่อตอบจุดประสงค์ของเรื่องที่กาหนดไว้ ในส่วนเนื้อหาจะประกอบด้วยบทนา เนื้อหา และ บทสรุป ดังนี้ ๑. บทนา บทนาหรือความนา เป็นข้อความเริ่มต้นในส่วนเนื้อหา ซึ่งบทนาอาจเป็นเพียงย่อหน้าเดียว หรือขึ้นบทใหม่ทั้งบทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของรายงาน หากเป็นรายงานฉบับเล็ก อาจมีบทนา เพียงย่อหน้าเดียว เป็นเพียงย่อหน้านา ซึ่งการเขียนบทนาสาหรับรายงานทั่วไป ผู้จัดทาอาจกล่าวถึง ความสาคัญของประเด็นที่ศึกษา หรืออาจเสนอข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็นอันนาไปสู่ประเด็นในเนื้อเรื่อง แต่ หากผู้จัดทาต้องการนาเสนอข้อมูลเบื้องหลังการจัดทารายงานก็ควรให้รายละเอียดในประเด็นต่างๆ มาก ขึ้น ซึ่งการเขียนในลักษณะนี้อาจทาเป็นบทนา ๑ บทต่างหาก โดยกล่าวถึงความสาคัญของประเด็นที่ ศึกษา วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษา คานิยามเฉพาะที่ใช้ในรายงาน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์(ถ้ามี) ปัญหาที่พบในการเก็บข้อมูล และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 15. ๖๘ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ตัวอย่างการเขียนบทนาในรายงานขนาดเล็ก “โฆษณาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนในกรุงมากเท่าๆ กับเครื่องรับโทรทัศน์ และในปัจจุบันเรา สามารถกล่าวได้ว่า โฆษณาเป็นของคู่กับรายการทางโทรทัศน์ ค่าใช้จ่ายสาหรับรายการโทรทัศน์ต่างๆ ล้วนได้มาจากการโฆษณาทั้งสิ้น” (วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์, ๒๕๓๗, หน้า ๑ ) จากข้อความข้างต้นได้แสดงว่าโฆษณาเป็นสิ่งสาคัญในการสื่อสารมวลชน ทาให้ข้อความ โฆษณาเป็นสิ่งที่ต้องพิถีพิถันมากในงานโฆษณาแต่ละชิ้น เพราะเป็นสิ่งที่ได้ผ่านการคิดค้นขึ้นมาเพื่อจูง ใจให้คนแสดงพฤติกรรมตามที่ผู้สร้างสรรค์โฆษณาต้องการ ความต้องการพื้นฐานที่สาคัญที่สุดคือ ความต้องการ ชักจูงให้คนยอมจ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าหรือบริการ รายการวิทยุปัจจุบันก็มีการโฆษณาสินค้าเกือบทุกสถานี โดยเฉพาะสถานีที่เป็นรายการเพลงซึ่ง มีคนฟังค่อนข้างมาก รูปแบบการสร้างภาษาในโฆษณาจึงต้องมีการพัฒนาและแข่งขันเพื่อให้ผู้ฟัง ประทับใจมากที่สุด และจากความแตกต่างของรูปแบบรายการวิทยุประเภทเอเอ็มและเอฟเอ็ม ซึ่งมีกลุ่ม ผู้ฟังแตกต่างกันอย่างชัดเจน ผู้วิเคราะห์เห็นว่าน่าจะมีบางสิ่งบางอย่างในการโฆษณาแตกต่างกันไป อาทิ เรื่องของรูปแบบ ภาษา ตลอดจนตัวสินค้าที่นาเสนอ เป็นเหตุผลให้ผู้วิเคราะห์เกิดความสนใจที่จะ ศึกษาถึงความแตกต่างที่ปรากฏอยู่จริง ๒. เนื้อหา การเรียบเรียงส่วนเนื้อหาในรายงานประกอบด้วยส่วนที่เป็นเนื้อความ การอ้างอิงในเนื้อหา3 การเขียน อัญประภาษ และเชิงอรรถ ในส่วนเนื้อความ เมื่อผู้จัดทารายงานได้ผ่านกระบวนการค้นคว้า รวบรวมและบันทึกข้อมูล ได้ตามที่ต้องการแล้ว ก่อนอื่นต้องตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูลก่อน โดย พิจารณาถึงแหล่งข้อมูลที่นามา บุคคลหรือหน่วยงานที่จัดทาข้อมูลนั้น เช่น ถ้าผู้เขียนเป็นผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะในสาขาวิชาย่อมน่าเชื่อถือกว่าบุคคลที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น หรือเรื่องเกี่ยวกับ การศึกษา ควรอ้างอิงแหล่งที่มาจากกระทรวงศึกษาธิการมากกว่ากระทรวงวัฒนธรรม เป็นต้น ปัจจุบัน การนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้ประกอบในรายงานมีจานวนมากขึ้น เนื่องจากการสืบค้นสะดวก ไม่ เสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากเท่ากับการเข้าใช้บริการห้องสมุดต่างๆ แต่ข้อควรระวังในการนาข้อมูลจาก อินเทอร์เน็ตมาใช้ คือควรพิจารณาแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่น เลือกใช้ฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) หรือเนื้อหาที่แสดงข้อมูลผู้เขียนชัดเจน น่าเชื่อถือ และเราสามารถนามา อ้างอิงได้ ย่อมดีกว่าการนาข้อมูลของใครก็ได้ที่แสดงไว้ในเว็บไซต์ทั่วๆ ไป มาใช้ประกอบการทา 3 ศึกษาเพิ่มเติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 16. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๙ รายงาน เพราะข้อมูลนั้นอาจจะเป็นเพียงการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ข้อคิดเห็น ของบุคคลทั่วไป แต่บังเอิญเป็นข้อมูลที่ตรงกับประเด็นในรายงานของเราเท่านั้น เมื่อพิจารณาและคัดเลือกข้อมูลทั้งหมดแล้ว ให้นาข้อมูลทั้งหมดมาเรียบเรียง โดยมีการนา แนวคิดหรือทฤษฎีตามหลักวิชานั้นๆ มาใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล สิ่งที่ผู้จัดทารายงานควรตระหนักก็คือการนาข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ในรายงาน ไม่ควรใช้วิธี คัดลอก หรือนามาตัดต่อ แต่ควรเป็นการเรียบเรียงใหม่โดยใช้สานวนภาษาของผู้ทารายงานเอง อาจใช้ การบรรยาย การอธิบาย การยกตัวอย่างประกอบ และการนาเสนอผลในรูปแบบของตาราง รูปภาพ แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเหมือนที่ผู้จัดทาเข้าใจ เรียงลาดับเนื้อหาไปตามลาดับของ โครงเรื่องที่ได้กาหนดไว้ และในแต่ละย่อหน้าต้องคานึงถึงสารัตถภาพที่อาจจะเป็นข้อเท็จจริง การ วิเคราะห์ข้อมูลการแสดงความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ โดยเรียบเรียงให้มีเอกภาพและสัมพันธภาพ ตั้งแต่ต้นจนจบแต่ละหัวข้อเรื่อง ตัวอย่างการเรียบเรียงเนื้อหาประเด็น “ความสาคัญของใบตองกับการบริโภคของคนไทย” ตัวอย่างนี้มีข้อมูลเกี่ยวข้องซึ่งรวบรวมไว้ได้จานวน ๔ ข้อมูล นามาพิจารณาเลือกข้อมูลที่สัมพันธ์กับ เรื่อง และเรียบเรียงใหม่ด้วยสานวนภาษาของตนเอง ข้อมูลที่ ๑ กระทงใบตองแห้ง เป็นสิ่งที่ใช้ในเทศกาลตรุษจีน สารทจีน และอื่น ๆ อีกมากมาย และ กระทงใบตอง แห้งของจังหวัดสมุทรสงครามเป็นสินค้าที่ส่งออกมาหลายชั่วอายุคน การเย็บกระทงใบตองแห้ง วัสดุหา ง่ายในท้องถิ่น มีทุกพื้นที่ สามารถนามาเป็นอาชีพเสริม และอาชีพหลักได้ ขึ้นอยู่กับราคาและเทศกาล เดือนหนึ่ง ๆ สร้างรายได้ประมาณ 2,000-3,000 บาท (ดัดแปลงข้อมูลจาก www.moac-info.net/modules/news/.../75_4_55329_katong.pdf -) ข้อมูลที่ ๒ ใบตองแห้งนาไปใช้ในงานศิลปกรรมไทยได้หลายอย่าง เช่น นาไปทารักสมุก ในงานของช่าง เขียน ช่าง+ปั้น ช่างแกะ และช่างหุ่น เพราะรักสมุกใบตองแห้ง ช่วยในการเคลือบและปกป้ องเนื้อ ไม้ ขัดแต่งง่าย เมื่อแห้งผิวเป็นมัน น้าหนักเบา เหมาะในการทาหัวโขน และการลงรักปิดทอง ข้อมูลที่ ๓ ในงานศพ ในสมัยโบราณ มีการนาใบตองมารองศพ ก่อนนาศพวางลงในโลง นอกจากนี้ใบตองยังมี บทบาทสาคัญมากในพิธีกรรมต่างๆ โดยการนามาทากระทงใส่ของ ใส่ดอกไม้ และประดิษฐ์เป็น กระทงบายศรี กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 17. ๗๐ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ข้อมูลที่ ๔ ในชีวิตประจาวัน ใช้ใบตองในการห่อผักสดและอาหาร เนื่องจากใบตองสดมีความชื้น ดังนั้นเมื่อใช้ ห่อผักสดหรืออาหาร ความชื้นจะช่วยรักษาผักหรืออาหารให้สดอยู่เสมอ นอกจากนี้ใบตองยังทนทาน ต่อความเย็นและความร้อน ดังนั้นเมื่อนาใบตองห่ออาหารแล้วเอาไปปิ้ง นึ่ง ต้ม ใบตองก็จะไม่สลาย หรือละลายเหมือนเช่นพลาสติก จึงมีอาหารหลายอย่างที่ห่อใบตองแล้วนาไปนึ่ง เช่น ห่อข้าวต้ม ผัด ขนม+กล้วย ขนมตาล ขนมใส่ไส้ หรือเอาไปปิ้ง เช่น ข้าวเหนียวปิ้ง หรือนาไปต้ม เช่น ข้าวต้ม มัด หรือข้าวต้มจิ้ม อาหารเหล่านี้เมื่อนาไปต้ม ปิ้ง หรือนึ่งแล้ว ยังทาให้เกิดความหอมของใบตองอีก ด้วย สาหรับใบตองแห้งนามาใช้ทากระทงเพื่อใส่อาหาร ห่อกะละแม มวนบุหรี่ โดยใบตองแห้งก็จะมี กลิ่นหอมเช่นกัน ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้มีการทดลองนาเอาใบตองแห้งมาอัดกันแน่นหลายๆ ชั้น ทาเป็นภาชนะใส่ของแทนการใช้โฟม (ดัดแปลงข้อมูลจาก http://www.polyboon.com/stories/story000070.html) สานวนภาษาที่เรียงเรียงแล้ว ใบตองเป็นวัสดุธรรมชาติที่มีบทบาทคู่กับครัวเรือนของไทยมาช้านาน ทั้งใบตองสดและ ใบตองแห้ง สามารถนามาสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งสิ้น บทบาทหนึ่งของใบตองคือการนาทา เป็นภาชนะบรรจุและห่อหุ้มอาหาร ในชีวิตประจาวันของคนในสมัยก่อนนิยมใช้ใบตองสดห่อผักสด เนื่องจากใบตองสดมีความชื้นซึ่งจะช่วยให้ผักสดนาน ปัจจุบันยังพบเห็นการใช้ประโยชน์ของใบตอง ในลักษณะนี้บ้างตามต่างจังหวัด ในด้านการนาใบตองมาใช้บรรจุอาหารและขนม เช่น ห่อหมก ตะโก้ ขนมตาล และขนมไทยอื่นๆ รวมทั้งขนมเข่ง ขนมประจาเทศกาลตรุษสารทของชาวจีนที่เลือกใช้เฉพาะ กระทงใบตองแห้ง ก็เป็นวัฒนธรรมการกินที่ยังคงปรากฏให้เห็นอยู่จนทุกวันนี้ บทบาทของใบตองในการประกอบอาหารไทย ใบตองสดจะถูกนามาห่ออาหารแล้วนาไปปิ้ง นึ่ง หรือต้ม เช่น ข้าวต้มผัด ข้าวเหนียวปิ้ง และขนมใส่ไส้ เป็นต้น เนื่องจากคุณสมบัติของใบตองที่ คงทนต่อความร้อนได้ ไม่ละลายเหมือนผลิตภัณฑ์จากพลาสติก อีกทั้งกลิ่นหอมของใบตองทาให้ อาหารมีกลิ่นชวนรับประทาน ดังเช่นการนาใบตองอ่อนมาห่อกาละแม ยิ่งเพิ่มเสน่ห์ด้วยกลิ่นหอม อบอวลให้แก่ขนมที่มีรสชาติกลมกล่อมอยู่แล้ว จากตัวอย่างข้างต้นจะพบว่าข้อมูลที่ได้รวบรวมมา มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของ ใบตองมากมาย แต่ก็มีอีกหลายประเด็นไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กาลังศึกษา จึงต้องตัดข้อมูลเหล่านั้นทิ้ง กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 18. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๑ ไป ผู้จัดทารายงานไม่ควรเสียดายข้อมูลที่มีอยู่และพยายามนามาเขียนแทรกลงไป เพราะจะทาให้ เนื้อหาผิดไปจากโครงเรื่องที่กาหนดไว้ ๓. บทสรุป บทสรุป เป็นข้อความที่อยู่ตอนท้ายของเนื้อหา อาจเป็นเพียงย่อหน้าเดียวหรือแยกเป็นบท ต่างหากก็ได้ ซึ่งขนาดของบทสรุปจะสัมพันธ์กับขนาดของบทนา ข้อความในส่วนนี้เป็นการสรุป รายละเอียดงานวิชาการที่ได้เรียบเรียงไว้ ประเด็นที่นามาสรุปอาจเป็นผลการศึกษาที่ได้จากการค้นคว้า ข้อมูล หรือเป็นข้อมูลเพื่อตอบคาถามประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับรายงานได้ครบถ้วนชัดเจน บทสรุปมี ประโยชน์ในการทาให้ผู้อ่านจับประเด็นของเรื่องทั้งหมดได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างการเขียนบทสรุปรายงานขนาดเล็ก สรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาและวิเคราะห์ลีลาภาษาร้อยแก้วในบทพระราชนิพนธ์ในพระราชวรวงศ์เธอ กรม หมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) จากเรื่องจดหมายจางวางหร่าและนิทานเวตาล ผู้ศึกษาพบว่าลีลาภาษาร้อย แก้วที่ปรากฏมีการใช้ภาษาอย่างประณีต โดดเด่นอย่างมีเอกลักษณ์ พระนิพนธ์เรื่องจดหมายจางวางหร่า ก็จะงดงามด้วยลีลาภาษาร้อยแก้วแห่งโวหารข้อคิดตลอดทั้งเรื่อง ส่วนพระนิพนธ์ร้อยแก้วที่มี จุดมุ่งหมายเพื่อความบันเทิงอย่างนิทานเวตาล แม้จะมีลีลาภาษาร้อยแก้วครบทุกลีลา แต่ปรากฏลีลา ภาษาข้อคิดโวหารและลีลาภาษาสุนทรียะค่อนข้างมากกว่าลีลาภาษาประเภทอื่น ทั้งนี้สอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายที่มุ่งให้ข้อคิด ความบันเทิงและให้อรรถรสทางวรรณศิลป์ ข้อสังเกตจากการศึกษาที่พบ มี ๒ ประเด็น คือ ประเด็นที่ ๑ ผู้แต่งเป็นผู้มีอารมณ์ขันแสดงออก โดยใช้การใช้ภาษา การใช้บริบทแวดล้อมของภาษา การใช้คา การสร้างพฤติกรรมตัวละครให้น่าขัน ประเด็นที่ ๒ การใช้คา สานวนของผู้แต่งซึ่งเป็นคาง่ายๆ แต่สร้างความมีชีวิตชีวาให้กับเรื่องราวด้วย สานวนภาษาที่ไม่เหมือนใคร ซึ่งทาให้บทนิพนธ์ทั้งสองเรื่องนี้จึงยังเป็นที่ประทับใจและชื่นชอบของ ผู้อ่านทุกยุคทุกสมัยตราบจนทุกวันนี้ (ดัดแปลงจากรายงานเรื่อง “ลีลาภาษาร้อยแก้วในบทพระนิพนธ์ในพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์” ของ สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ) กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 19. ๗๒ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร การใช้ภาษาในการเรียบเรียงเนื้อหารายงาน ภาษาการเขียนรายงานมีลักษณะเป็นภาษาแบบแผน ไม่ใช้ภาษาปากหรือภาษาพูด แต่ควรเป็น ภาษาสุภาพและเหมาะกับผู้อ่าน การใช้ภาษาในการเรียบเรียงรายงานควรพิจารณาในประเด็นต่างๆ ดังนี้ ๑. ความถูกต้องและสมบูรณ์ ๑.๑ การสะกดคา ในการเขียนรายงานผู้จัดทาต้องพิถีพิถันในการตรวจสอบความถูกต้องของ การสะกดคาที่ใช้เสมอ หากไม่แน่ใจควรเปิดพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไม่ควร เดาสุ่มหรือปล่อยข้ามไปโดยไม่มีการตรวจสอบ หากเป็นคาทับศัพท์ซึ่งปัจจุบันมีการเขียนที่ต่างกันมาก ดังนั้นควรยึดหลักการเขียนตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถานจึงจะเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ เลี่ยงการ ฉีกคาออกจากกันเมื่อขึ้นบรรทัดใหม่ หากจาเป็นต้องฉีกคาแล้วก็ควรใส่เครื่องหมายยติภังค์หรือยัตติภังค์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายขีดกลางบรรทัด (-) เพื่อแสดงว่ามีส่วนของคาที่อยู่ในบรรทัดใหม่ เช่น มหาวิทยาลัย ราชภัฏ- สวนสุนันทา กระทรวงวิทยาศาสตร์-และเทคโนโลยี แต่ไม่ควรฉีกคาในกรณีที่คานั้นเป็นคา เดียวกัน แต่อ่านออกเสียงหลายพยางค์ เช่น สามา-รถ ปฏิสัง-ขรณ์ สวนสุ-นันทา เป็นต้น ๑.๒ การเขียนตัวเลข โดยปกติการแสดงจานวนนิยมเขียนด้วยตัวเลขอยู่แล้ว ทั้งวันที่ เดือน ปี อายุ เลขหน้า เลขบท เลขตาราง จานวนเงิน จานวนนับหน้าคาลักษณนาม จานวนนับทาง คณิตศาสตร์ และจานวนหน้าคาว่า เปอร์เซ็นต์ แต่ความนิยมเขียนจานวนด้วยตัวอักษรก็พบในกรณีดังนี้  สิ่งที่กล่าวถึงมีจานวนต่ากว่า ๑๐ โดยเฉพาะ เลข ๐ และ ๑ เช่น หนึ่งในล้าน ค่า เป็นศูนย์ สี่ครั้ง ภาพสามมิติ เป็นต้น แต่สาหรับข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีนิยมเขียนเป็นตัวเลขไม่ว่าจะมีค่าเท่าใด เช่น อุณหภูมิ ๔๓ องศา เซลเซียส กาลังไฟ ๒๒๐ โวลต์  ตัวเลขที่เป็นคาแรกของประโยค ชื่อเรื่อง หรือหัวข้อในหนังสือ เช่น ชายสาม โบสถ์ สี่สหายปราบโจร ร้อยแปดพันเก้า เจ็ดดรุณี เป็นต้น  เศษส่วน เช่น หนึ่งในสามของรายได้ หนึ่งต่อหนึ่ง เศษสองส่วนสี่ เป็นต้น  สาหรับตัวเลขตั้งแต่หลักล้านขึ้นไปให้ใช้ตัวเลขและอักษรประสมกัน เช่น ๗ หมื่นล้านบาท ๖๐ ล้านคน ๒๐๐ ล้านบาท เป็นต้น ๑.๓ การเว้นระยะหลังเครื่องหมายวรรคตอน เพื่อความเป็นระเบียบแบบแผนและสวยงาม เมื่อ มีการพิมพ์ข้อความหลังเครื่องหมายจุลภาค (,) อัฒภาค (;) ทวิภาค (:) และอัญประกาศ (“ ”) ให้เว้นวรรค ๑ เคาะ แต่ถ้ามีเครื่องหมายมหัพภาค (.) นามาก่อนให้เว้นวรรค ๒ เคาะ ๑.๔ ความสม่าเสมอ ดังที่ได้กล่าวแล้วว่าภาษาในการเขียนรายงานต้องเป็นภาษาแบบแผน ดังนั้นการใช้ภาษาตลอดทั้งเล่มรายงานต้องเป็นภาษาระดับเดียวกัน ไม่ควรนาภาษาระดับไม่เป็น ทางการเข้ามาปะปน เช่น การเดินทางโดยรถโดยสารประจาทางเป็นยานพาหนะที่สาคัญของคนเมือง หากวันใดรถเมล์เกิดการประท้วงผู้คนคงลาบาก กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 20. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๓ ๑.๕ การใช้ประโยคและย่อหน้าที่สมบูรณ์ ประโยคที่สมบูรณ์เกิดจากการเรียงคาได้ถูกต้องตาม หลักไวยากรณ์ไทย ไม่ใช้ประโยคกากวม ทาให้ตีความได้หลายอย่าง มีความเป็นเหตุเป็นผลสอดคล้อง กัน และควรหลีกเลี่ยงสานวนภาษาต่างประเทศ ส่วนย่อหน้าที่สมบูรณ์เกิดจากขั้นตอนการวางโครง เรื่อง ทาให้แต่ละย่อหน้ามีเอกภาพ สารัตถภาพ คือมีประเด็นหลักที่ต้องการนาเสนอเพียงประเด็นเดียว เท่านั้น และข้อมูลที่เรียบเรียงมีความสัมพันธ์กันเกี่ยวข้องกันไปจนจบย่อหน้า ๑.๖ หลีกเลี่ยงคาที่ไม่ควรใช้ ได้แก่ การใช้ภาษาพูดหรือภาษาปาก คาหยาบ คาไม่สุภาพ คาสแลง คาย่อที่ไม่เป็นที่รู้จัก คาโบราณที่ไม่เป็นที่ไม่เป็นที่รู้จักแล้ว คาที่มีความหมายกากวม ยกเว้น คาเหล่านี้จาเป็นต้องนาเสนอเนื่องจากเกี่ยวข้องกับเนื้อหาหรือเป็นผลการค้นคว้า ส่วนคาศัพท์เทคนิค และคาศัพท์ยาก หากนามาใช้ควรมีคาอธิบายกากับเสมอเพื่อให้ผู้อ่านรายงานได้เข้าใจ โดยอาจรวบรวม ไว้ในอภิธานศัพท์ในส่วนประกอบตอนท้ายของรายงาน ๒. ความกะทัดรัด หลีกเลี่ยงการเขียนรายงานด้วยการใช้คาฟุ่มเฟือยในประโยค ข้อความ ฟุ่มเฟือยในย่อหน้า การทารายงานโดยการเขียนข้อความยืดยาวเพื่อให้มีปริมาณงานมากขึ้นไม่ใช่สิ่งที่ดี แต่หากเมื่อมีการวางโครงเรื่องอย่างเหมาะสม ใช้ภาษากระชับ รัดกุมเพื่อสื่อความหมายได้ชัดเจนจะทา ให้รายงานน่าอ่านมากกว่า ๓. ความชัดเจน ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดดซึ่งคาแต่ละคามีความหมายโดยไม่ต้องมีการ เปลี่ยนรูปคาเหมือนภาษาอังกฤษ การเรียงลาดับคาและการเว้นวรรคตอน เป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ ความหมายของคาเปลี่ยนไปได้ เช่น เขาสั่งให้ไปทา แตกต่างจาก เขาสั่งไปให้ทา และ เขาสั่งทาไปให้ หรือประโยคว่า น้อยซื้อข้าวหมูแดงมากินกับนิด ความหมายแตกต่างจาก น้อยซื้อข้าวหมู แดงมากิน กับนิด เป็นต้น ดังนั้นต้องการสื่อความหมายอย่างใดก็ควรพิจารณารูปภาษาให้ละเอียดถี่ถ้วนเสมอ ๔. การลาดับความ ก่อนลงมือเขียนต้องมีการจัดลาดับความ หรือกาหนดจุดมุ่งหมายในการจะ นาเสนอโดยการวางโครงเรื่อง ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดกรอบความคิดและลาดับความสาคัญของเนื้อหาให้ เหมาะสมก่อนจะลงมือเขียน และขณะที่เขียนก็ให้หมั่นกลับไปดูโครงเรื่องที่กาหนดไว้เพื่อจะได้ไม่หลง ออกนอกประเด็น ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม4 ภาคผนวก อภิธานศัพท์ ดัชนี ใบรองปก และ ปกหลัง ๑. ภาคผนวก ภาคผนวกเป็นข้อความที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายงาน อาจช่วยขยายเนื้อหาของรายงาน หรือเป็นข้อความที่ยาวเกินกว่าจะนาไปใส่เป็นเชิงอรรถได้ นอกจากนั้นอาจเป็นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ กับการทารายงาน เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แผนที่ แต่ถ้าข้อมูลนั้นไม่จาเป็นก็ไม่ควรนามา ประกอบในรายงาน เพียงเพื่อให้ตัวเล่มมีปริมาณหน้าเพิ่มขึ้น 4 ศึกษาเพิ่มเติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเชิงวิชาการ กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 21. ๗๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ๒. อภิธานศัพท์ อภิธานศัพท์ เป็นการอธิบายคาศัพท์ที่สาคัญ คาศัพท์เทคนิคในสาขาวิชานั้นๆ คาศัพท์ที่ใช้ ในความหมายเฉพาะในรายงานเท่านั้น หรืออาจเป็นคาศัพท์ยากที่ผู้จัดทารายงานคาดว่าผู้อ่านอาจไม่ เข้าใจ โดยจัดเรียงตามลาดับตัวอักษร ซึ่งอภิธานศัพท์อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ เพราะว่าถ้าในรายงานมี ศัพท์ที่ต้องมี การอธิบายเพิ่มเติมจานวนไม่มาก ผู้จัดทาอาจจะใช้วิธีการอธิบายคาศัพท์เหล่านั้นใน ส่วนที่เป็นบันทึกเพิ่มเติมส่วนท้ายของแต่ละบท หรือทาเชิงอรรถเสริมความในส่วนล่างของหน้ารายงาน ก็ได้ ตัวอย่างอภิธานศัพท์ในรายงานเรื่อง “ความสัมพันธ์ของพุทธศาสนากับคนไทย” ท้ายรายงาน อภิธานศัพท์ การถวายสังฆทาน การถวายสิ่งของจตุปัจจัยวัตถุแก่หมู่พระสงฆ์ โดยไม่เลือกระบุถวาย เฉพาะเจาะจงแก่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่ง ตลกบาตร ถุงใส่บาตรที่มีสายสาหรับคล้องบ่า เรียกว่า ถลกบาตร ก็มี เมื่อแยกส่วนออก จะมีส่วนประกอบคือสายโยก คือสายของตลกบาตร สาหรับคล้องบ่า และ ตะเครียว คือถุงตาข่ายที่ถักด้วยด้ายหรือไหมเป็นตาโปร่งมีหูรูด หุ้มตลกบาตรอีก ชั้นหนึ่ง เรียกว่า ตะเครียว ก็มี พระใช้เมื่อออกบิณฑบาต เบญจธรรม ธรรมะ ๕ ประการ คู่กับเบญจศีล ได้แก่ เมตตา ทาน ความสารวมในกาม สัจจะ สติ ปวารณา วันที่สิ้นการจาพรรษาแห่งพระสงฆ์คือ วันขึ้น ๑๕ ค่าเดือน ๑๑ ในวันนี้จะมี พิธีกรรมทางศาสนายอมให้สงฆ์ว่ากล่าวตักเตือนได้ สังเวชนียสถาน สถานเป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช, ที่ที่ให้เกิดความสังเวช มี ๔ คือ ๑. ที่ พระพุทธเจ้าประสูติ คือ อุทยาน ลุมพินีปัจจุบันเรียกลุมพินีหรือรุมมินเด ๒. ที่ พระพุทธเจ้า ตรัสรู้ คือ ควงโพธิ์ ที่ตาบล พุทธคยา ๓. ที่พระพุทธเจ้าทรง แสดงปฐมเทศนา คือ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวง เมืองพาราณสี ปัจจุบัน เรียก สารนาถ ๔. ที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน คือที่สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา หรือกุสินคร บัดนี้เรียกว่ากาเซีย กลับสู่หน้าสารบัญ
  • 22. G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๕ ๓. ดัชนีหรือดรรชนี เป็นรายการคาที่ปรากฏในรายงาน อาจแบ่งเป็นหัวข้อต่างๆ เช่น รายการ ชื่อต้นไม้ ชื่อพืชสมุนไพร ชื่อพันธุ์สัตว์ป่าคุ้มครอง เป็นต้น ซึ่งแต่ละรายการคาจะจัดเรียงตามลาดับ ตัวอักษรเพื่อให้ค้นหาสะดวก โดยที่ผู้อ่านไม่ต้องอ่านรายงานทั้งฉบับเมื่อต้องการทราบเนื้อหาเฉพาะ เรื่องนั้น การทารายงานอาจจะมีหรือไม่มีดัชนีก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ตัวอย่างดัชนี ดัชนี รายการคา หน้า กฎแห่งการกลายเสียง ๑๙๔ กะเหรี่ยง-ภาษา ๑๑๓ การกลายเสียง ๓๗, ๒๐๖ ความหมายกว้างออก ๒๙๙ ความหมายแคบเข้า ๒๙๗ คาซ้อน ๒๒,๒๗๙ ชวา-ภาษา ๙๙ ญี่ปุ่น – ภาษา ๑๒๓ นิรุกติศาสตร์ ๕ บาลี – ภาษา ๗๑ ภาษาคาโดด ๕๐ ภาษาถิ่น ๓๗,๑๒๘ ลักษณะของรายงานการค้นคว้าที่ดี พูลสุข เอกไทยเจริญ (๒๕๕๑, หน้า ๑๖๕-๑๖๖) กล่าวถึงการเขียนรายงานหรือภาคนิพนธ์ที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้ ๑. เนื้อเรื่อง ถูกต้องครบถ้วน ครอบคลุมประเด็นที่ต้องการนาเสนอ มีการจัดลาดับเนื้อเรื่อง อย่าง เหมาะสม ชัดเจน มีเอกภาพ สารัตถภาพ และสัมพันธภาพ มีวิธีการนาเสนอที่ดี อ่านเข้าใจง่าย ๒. ภาษา ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม เป็นภาษาเขียนที่เรียบง่ายอย่างพิถีพิถัน ไม่คลุมเครือ สั้น กลับสู่หน้าสารบัญ