SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
23 มิถุนายน 2561
Author: Steven Pressfield
Publisher: Black Irish Entertainment LLC;
May 31, 2012
Turning Pro is an inspiring instruction manual that’ll help you create the work
you were meant to do by dividing your life into two phases, the amateur and the
professional, and getting you from one into the other.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 Steven Pressfield เป็นผู้ประพันธ์ที่มีชื่อเสียงใน
การเขียนนวนิยายและสารคดี
 Turning Pro เป็นคู่มือซึ่งจะช่วยให้คุณก้าวไปอีก
ขั้น ตามที่ Steve กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะ
สร้างความแตกต่างว่า “ผมเขียนไว้ในหนังสือ
The War of Art ที่ผมแบ่งชีวิตของผมออกเป็น
สองส่วน คือ ก่อนและหลังที่จะเป็นมืออาชีพ
ผมว่าอย่างหลังดีกว่า”
เกริ่นนา
 มีหลายวิธีในการสร้างพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ ซึ่งหมายถึง
ความพยายามที่จะเติมเต็มศักยภาพของเรา
 ในทางวิทยาศาสตร์ มีรูปแบบการรักษาโรคหรือเงื่อนไขบางอย่าง
ที่ต้องได้รับการเยียวยา และทางศาสนามีรูปแบบทางจริยธรรม
ซึ่งบอกว่าเราต้องชดใช้สาหรับความผิดของเรา
 Pressfield เสนอวิธีที่สามคือ เป็นมือสมัครเล่นหรือเป็นมืออาชีพ
การก้าวสู่มืออาชีพ (Turning Pro)
 หนังสือเล่มนี้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
 ส่วนแรก อธิบายการเสพติดในนิสัยที่ไม่ดีของมือสมัครเล่น
 ส่วนที่สอง ทาให้เห็นภาพว่า มืออาชีพและมือสมัครเล่นต่างกัน
อย่างไร
 ส่วนที่สาม เกี่ยวกับการเพาะบ่มความเป็นมืออาชีพ
สามบทเรียนที่จะช่วยคุณในการก้าวสู่มืออาชีพ
 1. ลักษณะเฉพาะของมือสมัครเล่นคือ กลัวความเป็นตัวของ
ตัวเอง และกลัวถูกปฏิเสธ
 2. อุปสรรคสาคัญสาหรับมือสมัครเล่นคือ การวิ่งตามผู้รู้ หรือ
ผู้เชี่ยวชาญ
 3. เมื่อคุณฝึกปฏิบัติ เพื่อประโยชน์ในการทางานของคุณและไม่
มีอะไรอื่น นั่นแหละคุณกาลังก้าวสู่มืออาชีพ
Steven Pressfield
บทเรียนที่ 1: มือสมัครเล่นกลัวความเป็นตัวตนที่แท้จริง และผลที่
จะตามมา
 ไม่มีใครเกิดมาเป็นมืออาชีพ
 เราทุกคนเริ่มจากเป็นมือสมัครเล่น ที่เสพติดอยู่ใน ‘ร่มเงาของ
อาชีพ (shadow careers)' ซึ่งเราเป็นอยู่ในปัจจุบัน เพราะขาด
ความกล้า ที่จะไล่ล่าตามความต้องการที่แท้จริงของเรา
 "ความกลัวคือแก่นหลักของมือสมัครเล่น ได้แก่กลัวความ
ล้มเหลว กลัวความสาเร็จ กลัวความโง่เขลา กลัวความยากจน
กลัวความเหงา กลัวความตาย
 แต่ความกลัวที่ยิ่งใหญ่ของมือสมัครเล่นคือ การถูกแยกจากชน
เผ่า (being excluded from the tribe) ได้แก่ กลุ่ม พรรคพวก แม่
และพ่อ ครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ
 มือสมัครเล่นกลัวว่า ถ้าเขาหันมาเป็นมืออาชีพ และมีชีวิตตามที่
เขาต้องการ เขาจะต้องอยู่กับความเป็นตัวตนของเขาจริงๆ และ
ถ้าชนเผ่าค้นพบว่าเขาเป็นใคร เขาจะถูกขับออกไป และไม่มีใคร
สมาคมด้วย"
 คนส่วนใหญ่ ไม่เคยออกจากความกลัวที่ปราศจากเหตุผล
 ผู้คนจะกดดันคุณ เมื่อคุณ "แยกออกจากกลุ่ม (go rogue)" แต่
คุณก็จะได้พบกับคนอื่น ๆ ที่ค้นพบตัวเองด้วย
 อย่างไรก็ตาม สาหรับบางคนที่ออกจากเปลือกหอยของความกลัว
แต่ก็ยังคงมีสิ่งกีดขวางอื่น ๆ รออยู่
Steven Pressfield
บทเรียนที่ 2: อุปสรรคที่สาคัญอย่างหนึ่งสาหรับมือสมัครเล่น คือ
พยายามที่จะเอาใจผู้รู้ พี่เลี้ยง ผู้เชี่ยวชาญ และครูผู้สอน
 "เมื่อผลงานของผมได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรก ผมก็หันไป
ปรึกษากับผู้รู้ที่ผมเคยอ่านผลงานของเขา นี่เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการตามธรรมชาติ แต่ก็เป็นอันตราย เพราะคุณเพิ่งผจญ
ภัยสู่ดินแดนใหม่ที่ไม่เคยรู้และน่ากลัว ซึ่งคุณก็รู้ว่าไม่มีเส้นทางที่
ชัดเจน ดังนั้น คุณจะเชื่อทุกคาพูดของคนที่บอกกับคุณ"
 ไม่มีอะไรผิดพลาดกับการฟังคาแนะนาจากมืออาชีพ แต่การยึด
มั่นในครู ที่ปรึกษา แม้กระทั่งคู่สมรส ที่เป็นไอคอน จะทาให้เรา
สูญพลังไป
 เช่นเดียวกับการเป็นนักร้องที่รอการค้นพบ บล็อกเกอร์ที่หวังว่า
โพสต์จะเป็นไวรัส นักว่ายน้าที่หวังว่าจะได้รับการยอมรับจากโค้ช
เรื่องทั้งหมดเหล่านี้ เป็นสิ่งที่คุณจะต้องพบ ในการทางานด้วย
วิธีการของคุณเอง
 ความเป็นอัจฉริยะของพี่เลี้ยงจะไม่ไปด้วยกับคุณ คุณต้อง เลือก
ตัวเอง (choose yourself) ตามคาพูดของ Steve คือ
 "จากประสบการณ์ของผม เมื่อเราแสดงให้เห็นถึงคุณภาพหรือ
คุณธรรมกับคนอื่นได้ แสดงว่าเราเองมีคุณภาพอยู่แล้ว แต่เรา
กลัวที่จะยอมรับ (และมีชีวิตอยู่) กับความจริงนั้น"
 ช่วงเวลาที่คุณดึงพลังในตัวของคุณกลับมาได้ มนต์วิเศษได้
เริ่มต้นขึ้นแล้ว
Steven Pressfield
บทเรียนที่ 3: การฝึกปฏิบัติ (practice) เพื่อประโยชน์ในการทางาน
แสดงถึงความเป็นมืออาชีพที่แท้จริง
 Steve ได้รับการตีพิมพ์หนังสือเล่มแรกของเขาเมื่อตอนอายุ 52
ปี แม้ว่าเขาจะเขียนนิยายมาตั้งแต่อายุยี่สิบกว่า คุณคิดว่าคนที่มี
เหตุผลคงล้มเลิกไปแล้ว แต่มืออาชีพจะต้องบังคับตัวเองในการ
ทางาน ในขอบเขตที่นอกเหนือจากเหตุผล เพราะ Steve และมือ
อาชีพคนอื่น ๆ ยินดีทาในสิ่งที่ตนเองชอบ ประหนึ่งว่าเขาจะไม่
ทาอะไรอื่นอีก
 “สุดท้าย ผมตระหนักว่าผมไม่มีทางเลือก ผมไม่สามารถทาอะไร
อื่นได้อีก (นอกจากการเขียนหนังสือ) ผมพบกับความหดหู่ จน
ผมไม่สามารถยืนได้ เมื่อผมเขียนนวนิยายหรือบทภาพยนตร์ที่
ผมไม่สามารถขายได้ ผมก็ไม่มีทางเลือกอื่น นอกจากเขียนใหม่
อีก ความจริงก็คือ ผมกาลังสนุกกับตัวเอง อาจจะไม่มีใครชอบสิ่ง
ที่ผมกาลังทาอยู่ แต่ผมชอบ ผมได้เรียนรู้ ผมทาได้ดีขึ้น “
 เมื่อถึงจุดนี้ งานของคุณจะกลายเป็น การฝึกปฏิบัติ (practice)
เป็นพิธีกรรมที่ทาด้วยตนเอง ซึ่งไม่จาเป็นต้องมีเหตุผลใด ๆ
 Steve กล่าวว่า "เป็นกฎระเบียบที่เข้มงวด โดยมีเจตนาที่จะ
ยกระดับจิตใจและจิตวิญญาณ ให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้ น"
 ดังนั้น การฝึกปฏิบัติแต่ละครั้ง จึงอาศัยเวลา สถานที่ และเจตนา
เป็นกิจวัตรที่เรียบง่ายและสม่าเสมอ ซึ่งจะช่วยให้งานออกมามี
คุณภาพ
การฝึกปฏิบัติคืออะไร?
 การฝึกปฏิบัติ คือการปฏิบัติตามระเบียบที่กาหนดอย่างเข้มงวด
โดยมีเจตนาที่จะยกระดับจิตใจและจิตวิญญาณ ให้อยู่ในระดับที่
สูงขึ้น
 การฝึกฝนปฏิบัติ หมายถึงการยึดมั่นในพิธีการ
 การฝึกฝนปฏิบัติอาจหมายถึง การทุ่มเท การใช้ชีวิตประจาวัน
อย่างมุ่งมั่น และมีเจตนาที่มุ่งเน้น
ลักษณะของการฝึกปฏิบัติ
 การฝึกปฏิบัติใช้สถานที่ (A practice has a space)
 การฝึกปฏิบัติใช้เวลา (A practice has a time)
 การฝึกปฏิบัติมีเจตนา (A practice has an intention)
 เรามาฝึกปฏิบัติเสมือนนักรบ (We come to a practice as warriors)
 เรามาฝึกปฏิบัติด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตน (We come to a
practice in humility)
 เรามาฝึกปฏิบัติเสมือนเป็นนักเรียน (We come to a practice as
students)
 การฝึกปฏิบัติทาได้ตลอดชีวิต (A practice is lifelong)
มืออาชีพ
 มืออาชีพ เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต พร้อมเสมอที่จะเรียนรู้ ยินดี
เสมอที่จะแสดงตนได้ทุกสภาวะ
 นี่คือผลพวงจากการที่เขาฝึกฝนปฏิบัติตราบเท่าที่เขาต้องการ จน
เขามั่นใจในฝีมือของเขาว่าเป็นเลิศ
คุณภาพที่มืออาชีพมี แต่มือสมัครเล่นไม่มี:
 1. มืออาชีพแสดงตนได้ทุกวัน (The professional shows up every
day)
 2. มืออาชีพอยู่กับงานตลอดทั้งวัน (The professional stays on
the job all day)
 3. มืออาชีพมีความมุ่งมั่นในระยะยาว (The professional is
committed over the long haul)
 4. สาหรับมืออาชีพ มีเดิมพันที่สูงและมีความเป็นความจริง (For
the professional, the stakes are high and real Further)
อุปนิสัยของมืออาชีพ
 มืออาชีพ เป็นผู้มีความอดทน (The professional is patient)
 มืออาชีพ แสวงหาความเป็นระเบียบ (The professional seeks order)
 มืออาชีพ ไขความจริง (The professional demystifies)
 มืออาชีพ กล้าเผชิญกับความกลัว (The professional acts in the face
of fear)
 มืออาชีพ ไม่มีข้อแก้ตัวใด ๆ (The professional accepts no excuses)
 มืออาชีพ ทาตามกติกา (The professional plays it as it lays)
 มืออาชีพ เตรียมพร้อมเสมอ (The professional is prepared)
 มืออาชีพ ไม่อวดเก่ง (The professional does not show off)
อุปนิสัยของมืออาชีพ (ต่อ)
 มืออาชีพ อุทิศตัวเองเพื่อความชานาญการด้านเทคนิค (The
professional dedicates himself to mastering technique)
 มืออาชีพ ไม่ลังเลที่จะขอความช่วยเหลือ (The professional does
not hesitate to ask for help)
 มืออาชีพ ไม่ยึดถือความสาเร็จหรือความล้มเหลวว่าเป็นเรื่อง
ส่วนตัว (The professional does not take failure or success
personally)
 มืออาชีพ ไม่ใช่เป็นเพียงแค่มีเครื่องมือ (The professional does
not identify with his or her instrument)
อุปนิสัยของมืออาชีพ (ต่อ)
 มืออาชีพ ทนต่อความยากลาบากได้ (The professional endures
adversity)
 มืออาชีพ ตรวจสอบตัวเอง (The professional self-validates)
 มืออาชีพ ค้นพบรูปแบบใหม่ของตัวเองได้ (The professional
reinvents herself)
 มืออาชีพ ได้รับการยอมรับจากมืออาชีพคนอื่น ๆ (The
professional is recognized by other professionals)
Steven Pressfield
สรุป
 คุณสามารถแบ่งชีวิตของคุณออกเป็นสองส่วนคือ ก่อนและหลัง
เป็นมืออาชีพ
 ทั้งหมดที่คุณต้องทาเพื่อเป็นการก้าวสู่มืออาชีพคือ การตัดสินใจ
 เมื่อคุณเป็นมืออาชีพแล้ว ชีวิตจะง่ายขึ้น
ข้อคิดสาคัญ
 การเป็นมือสมัครเล่น หมายถึงการติดบ่วงอยู่ในสถานการณ์ที่
ผ่านมาในชีวิตของคุณ และไม่เคยคิดจะก้าวออกมา
 อย่าอยู่ในร่มเงาชีวิต เพราะคุณกลัวที่จะไล่ล่าความฝันของคุณ
 เราทุกคนมีบางส่วนของคนเสพติด และบางส่วนของศิลปิน
 มือสมัครเล่น หนีความกลัว มืออาชีพ มองรอบ ๆ และหันหน้า
เข้าหาความกลัว
Steven Pressfield

More Related Content

More from maruay songtanin

529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

การก้าวสู่มืออาชีพ Turning pro

  • 2. Author: Steven Pressfield Publisher: Black Irish Entertainment LLC; May 31, 2012 Turning Pro is an inspiring instruction manual that’ll help you create the work you were meant to do by dividing your life into two phases, the amateur and the professional, and getting you from one into the other.
  • 3. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  Steven Pressfield เป็นผู้ประพันธ์ที่มีชื่อเสียงใน การเขียนนวนิยายและสารคดี  Turning Pro เป็นคู่มือซึ่งจะช่วยให้คุณก้าวไปอีก ขั้น ตามที่ Steve กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะ สร้างความแตกต่างว่า “ผมเขียนไว้ในหนังสือ The War of Art ที่ผมแบ่งชีวิตของผมออกเป็น สองส่วน คือ ก่อนและหลังที่จะเป็นมืออาชีพ ผมว่าอย่างหลังดีกว่า”
  • 4. เกริ่นนา  มีหลายวิธีในการสร้างพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ ซึ่งหมายถึง ความพยายามที่จะเติมเต็มศักยภาพของเรา  ในทางวิทยาศาสตร์ มีรูปแบบการรักษาโรคหรือเงื่อนไขบางอย่าง ที่ต้องได้รับการเยียวยา และทางศาสนามีรูปแบบทางจริยธรรม ซึ่งบอกว่าเราต้องชดใช้สาหรับความผิดของเรา  Pressfield เสนอวิธีที่สามคือ เป็นมือสมัครเล่นหรือเป็นมืออาชีพ
  • 5. การก้าวสู่มืออาชีพ (Turning Pro)  หนังสือเล่มนี้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ  ส่วนแรก อธิบายการเสพติดในนิสัยที่ไม่ดีของมือสมัครเล่น  ส่วนที่สอง ทาให้เห็นภาพว่า มืออาชีพและมือสมัครเล่นต่างกัน อย่างไร  ส่วนที่สาม เกี่ยวกับการเพาะบ่มความเป็นมืออาชีพ
  • 6. สามบทเรียนที่จะช่วยคุณในการก้าวสู่มืออาชีพ  1. ลักษณะเฉพาะของมือสมัครเล่นคือ กลัวความเป็นตัวของ ตัวเอง และกลัวถูกปฏิเสธ  2. อุปสรรคสาคัญสาหรับมือสมัครเล่นคือ การวิ่งตามผู้รู้ หรือ ผู้เชี่ยวชาญ  3. เมื่อคุณฝึกปฏิบัติ เพื่อประโยชน์ในการทางานของคุณและไม่ มีอะไรอื่น นั่นแหละคุณกาลังก้าวสู่มืออาชีพ
  • 8. บทเรียนที่ 1: มือสมัครเล่นกลัวความเป็นตัวตนที่แท้จริง และผลที่ จะตามมา  ไม่มีใครเกิดมาเป็นมืออาชีพ  เราทุกคนเริ่มจากเป็นมือสมัครเล่น ที่เสพติดอยู่ใน ‘ร่มเงาของ อาชีพ (shadow careers)' ซึ่งเราเป็นอยู่ในปัจจุบัน เพราะขาด ความกล้า ที่จะไล่ล่าตามความต้องการที่แท้จริงของเรา
  • 9.  "ความกลัวคือแก่นหลักของมือสมัครเล่น ได้แก่กลัวความ ล้มเหลว กลัวความสาเร็จ กลัวความโง่เขลา กลัวความยากจน กลัวความเหงา กลัวความตาย  แต่ความกลัวที่ยิ่งใหญ่ของมือสมัครเล่นคือ การถูกแยกจากชน เผ่า (being excluded from the tribe) ได้แก่ กลุ่ม พรรคพวก แม่ และพ่อ ครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ  มือสมัครเล่นกลัวว่า ถ้าเขาหันมาเป็นมืออาชีพ และมีชีวิตตามที่ เขาต้องการ เขาจะต้องอยู่กับความเป็นตัวตนของเขาจริงๆ และ ถ้าชนเผ่าค้นพบว่าเขาเป็นใคร เขาจะถูกขับออกไป และไม่มีใคร สมาคมด้วย"
  • 10.  คนส่วนใหญ่ ไม่เคยออกจากความกลัวที่ปราศจากเหตุผล  ผู้คนจะกดดันคุณ เมื่อคุณ "แยกออกจากกลุ่ม (go rogue)" แต่ คุณก็จะได้พบกับคนอื่น ๆ ที่ค้นพบตัวเองด้วย  อย่างไรก็ตาม สาหรับบางคนที่ออกจากเปลือกหอยของความกลัว แต่ก็ยังคงมีสิ่งกีดขวางอื่น ๆ รออยู่
  • 12. บทเรียนที่ 2: อุปสรรคที่สาคัญอย่างหนึ่งสาหรับมือสมัครเล่น คือ พยายามที่จะเอาใจผู้รู้ พี่เลี้ยง ผู้เชี่ยวชาญ และครูผู้สอน  "เมื่อผลงานของผมได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรก ผมก็หันไป ปรึกษากับผู้รู้ที่ผมเคยอ่านผลงานของเขา นี่เป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการตามธรรมชาติ แต่ก็เป็นอันตราย เพราะคุณเพิ่งผจญ ภัยสู่ดินแดนใหม่ที่ไม่เคยรู้และน่ากลัว ซึ่งคุณก็รู้ว่าไม่มีเส้นทางที่ ชัดเจน ดังนั้น คุณจะเชื่อทุกคาพูดของคนที่บอกกับคุณ"
  • 13.  ไม่มีอะไรผิดพลาดกับการฟังคาแนะนาจากมืออาชีพ แต่การยึด มั่นในครู ที่ปรึกษา แม้กระทั่งคู่สมรส ที่เป็นไอคอน จะทาให้เรา สูญพลังไป  เช่นเดียวกับการเป็นนักร้องที่รอการค้นพบ บล็อกเกอร์ที่หวังว่า โพสต์จะเป็นไวรัส นักว่ายน้าที่หวังว่าจะได้รับการยอมรับจากโค้ช เรื่องทั้งหมดเหล่านี้ เป็นสิ่งที่คุณจะต้องพบ ในการทางานด้วย วิธีการของคุณเอง
  • 14.  ความเป็นอัจฉริยะของพี่เลี้ยงจะไม่ไปด้วยกับคุณ คุณต้อง เลือก ตัวเอง (choose yourself) ตามคาพูดของ Steve คือ  "จากประสบการณ์ของผม เมื่อเราแสดงให้เห็นถึงคุณภาพหรือ คุณธรรมกับคนอื่นได้ แสดงว่าเราเองมีคุณภาพอยู่แล้ว แต่เรา กลัวที่จะยอมรับ (และมีชีวิตอยู่) กับความจริงนั้น"  ช่วงเวลาที่คุณดึงพลังในตัวของคุณกลับมาได้ มนต์วิเศษได้ เริ่มต้นขึ้นแล้ว
  • 16. บทเรียนที่ 3: การฝึกปฏิบัติ (practice) เพื่อประโยชน์ในการทางาน แสดงถึงความเป็นมืออาชีพที่แท้จริง  Steve ได้รับการตีพิมพ์หนังสือเล่มแรกของเขาเมื่อตอนอายุ 52 ปี แม้ว่าเขาจะเขียนนิยายมาตั้งแต่อายุยี่สิบกว่า คุณคิดว่าคนที่มี เหตุผลคงล้มเลิกไปแล้ว แต่มืออาชีพจะต้องบังคับตัวเองในการ ทางาน ในขอบเขตที่นอกเหนือจากเหตุผล เพราะ Steve และมือ อาชีพคนอื่น ๆ ยินดีทาในสิ่งที่ตนเองชอบ ประหนึ่งว่าเขาจะไม่ ทาอะไรอื่นอีก
  • 17.  “สุดท้าย ผมตระหนักว่าผมไม่มีทางเลือก ผมไม่สามารถทาอะไร อื่นได้อีก (นอกจากการเขียนหนังสือ) ผมพบกับความหดหู่ จน ผมไม่สามารถยืนได้ เมื่อผมเขียนนวนิยายหรือบทภาพยนตร์ที่ ผมไม่สามารถขายได้ ผมก็ไม่มีทางเลือกอื่น นอกจากเขียนใหม่ อีก ความจริงก็คือ ผมกาลังสนุกกับตัวเอง อาจจะไม่มีใครชอบสิ่ง ที่ผมกาลังทาอยู่ แต่ผมชอบ ผมได้เรียนรู้ ผมทาได้ดีขึ้น “
  • 18.  เมื่อถึงจุดนี้ งานของคุณจะกลายเป็น การฝึกปฏิบัติ (practice) เป็นพิธีกรรมที่ทาด้วยตนเอง ซึ่งไม่จาเป็นต้องมีเหตุผลใด ๆ  Steve กล่าวว่า "เป็นกฎระเบียบที่เข้มงวด โดยมีเจตนาที่จะ ยกระดับจิตใจและจิตวิญญาณ ให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้ น"  ดังนั้น การฝึกปฏิบัติแต่ละครั้ง จึงอาศัยเวลา สถานที่ และเจตนา เป็นกิจวัตรที่เรียบง่ายและสม่าเสมอ ซึ่งจะช่วยให้งานออกมามี คุณภาพ
  • 19. การฝึกปฏิบัติคืออะไร?  การฝึกปฏิบัติ คือการปฏิบัติตามระเบียบที่กาหนดอย่างเข้มงวด โดยมีเจตนาที่จะยกระดับจิตใจและจิตวิญญาณ ให้อยู่ในระดับที่ สูงขึ้น  การฝึกฝนปฏิบัติ หมายถึงการยึดมั่นในพิธีการ  การฝึกฝนปฏิบัติอาจหมายถึง การทุ่มเท การใช้ชีวิตประจาวัน อย่างมุ่งมั่น และมีเจตนาที่มุ่งเน้น
  • 20. ลักษณะของการฝึกปฏิบัติ  การฝึกปฏิบัติใช้สถานที่ (A practice has a space)  การฝึกปฏิบัติใช้เวลา (A practice has a time)  การฝึกปฏิบัติมีเจตนา (A practice has an intention)  เรามาฝึกปฏิบัติเสมือนนักรบ (We come to a practice as warriors)  เรามาฝึกปฏิบัติด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตน (We come to a practice in humility)  เรามาฝึกปฏิบัติเสมือนเป็นนักเรียน (We come to a practice as students)  การฝึกปฏิบัติทาได้ตลอดชีวิต (A practice is lifelong)
  • 21. มืออาชีพ  มืออาชีพ เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต พร้อมเสมอที่จะเรียนรู้ ยินดี เสมอที่จะแสดงตนได้ทุกสภาวะ  นี่คือผลพวงจากการที่เขาฝึกฝนปฏิบัติตราบเท่าที่เขาต้องการ จน เขามั่นใจในฝีมือของเขาว่าเป็นเลิศ
  • 22. คุณภาพที่มืออาชีพมี แต่มือสมัครเล่นไม่มี:  1. มืออาชีพแสดงตนได้ทุกวัน (The professional shows up every day)  2. มืออาชีพอยู่กับงานตลอดทั้งวัน (The professional stays on the job all day)  3. มืออาชีพมีความมุ่งมั่นในระยะยาว (The professional is committed over the long haul)  4. สาหรับมืออาชีพ มีเดิมพันที่สูงและมีความเป็นความจริง (For the professional, the stakes are high and real Further)
  • 23. อุปนิสัยของมืออาชีพ  มืออาชีพ เป็นผู้มีความอดทน (The professional is patient)  มืออาชีพ แสวงหาความเป็นระเบียบ (The professional seeks order)  มืออาชีพ ไขความจริง (The professional demystifies)  มืออาชีพ กล้าเผชิญกับความกลัว (The professional acts in the face of fear)  มืออาชีพ ไม่มีข้อแก้ตัวใด ๆ (The professional accepts no excuses)  มืออาชีพ ทาตามกติกา (The professional plays it as it lays)  มืออาชีพ เตรียมพร้อมเสมอ (The professional is prepared)  มืออาชีพ ไม่อวดเก่ง (The professional does not show off)
  • 24. อุปนิสัยของมืออาชีพ (ต่อ)  มืออาชีพ อุทิศตัวเองเพื่อความชานาญการด้านเทคนิค (The professional dedicates himself to mastering technique)  มืออาชีพ ไม่ลังเลที่จะขอความช่วยเหลือ (The professional does not hesitate to ask for help)  มืออาชีพ ไม่ยึดถือความสาเร็จหรือความล้มเหลวว่าเป็นเรื่อง ส่วนตัว (The professional does not take failure or success personally)  มืออาชีพ ไม่ใช่เป็นเพียงแค่มีเครื่องมือ (The professional does not identify with his or her instrument)
  • 25. อุปนิสัยของมืออาชีพ (ต่อ)  มืออาชีพ ทนต่อความยากลาบากได้ (The professional endures adversity)  มืออาชีพ ตรวจสอบตัวเอง (The professional self-validates)  มืออาชีพ ค้นพบรูปแบบใหม่ของตัวเองได้ (The professional reinvents herself)  มืออาชีพ ได้รับการยอมรับจากมืออาชีพคนอื่น ๆ (The professional is recognized by other professionals)
  • 27. สรุป  คุณสามารถแบ่งชีวิตของคุณออกเป็นสองส่วนคือ ก่อนและหลัง เป็นมืออาชีพ  ทั้งหมดที่คุณต้องทาเพื่อเป็นการก้าวสู่มืออาชีพคือ การตัดสินใจ  เมื่อคุณเป็นมืออาชีพแล้ว ชีวิตจะง่ายขึ้น
  • 28. ข้อคิดสาคัญ  การเป็นมือสมัครเล่น หมายถึงการติดบ่วงอยู่ในสถานการณ์ที่ ผ่านมาในชีวิตของคุณ และไม่เคยคิดจะก้าวออกมา  อย่าอยู่ในร่มเงาชีวิต เพราะคุณกลัวที่จะไล่ล่าความฝันของคุณ  เราทุกคนมีบางส่วนของคนเสพติด และบางส่วนของศิลปิน  มือสมัครเล่น หนีความกลัว มืออาชีพ มองรอบ ๆ และหันหน้า เข้าหาความกลัว