SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
The ASSURE Model
การใช้สื่อการสอนอย่างเป็ นระบบ โดยใช้แบบจาลอง
ในการใช้สื่อการสอนนั้น ผู้สอนควรจะมีการวางแผนการใช้สื่ออย่างรัดกุมและเป็นระ บบ
ทั้งนี้เพื่อนามาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ซึ่งจะทาให้ผู้สอนเกิดความมั่นใจในการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ท า ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ สู ง สุ ด ต า ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล
และตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่วางไว้การวางแผนการใช้สื่อการสอนโดยใช้แนวคิดของ วิธีระบบ เป็นแนว
ทางหนึ่งที่ทาให้การวางแผนการใช้สื่อการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ " The ASSURE
Model" เป็นแบบจาลองที่ได้รับความนิยมในการนาไปใช้ เพื่อวางแผนการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
2
แบบจาลอง The ASSURE Model มีรายละเอียดดังนี้
Analyze learners: วิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน
State objectives: กาหนดวัตถุประสงค์
Selectmethods, media, and materials: เลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุอุปกรณ์
Utilize media and materials: ใช้สื่อและใช้วัสดุปกรณ์
Require learner participation: กาหนดให้มีการตอบสนองของผู้เรียน
Evaluate and revise: ประเมินการใช้สื่อและปรับปรุง
Analyze learners: วิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน
การวิเคราะห์ลักษณะของผู้เรียน จะทาให้ผู้สอนเข้าใจลักษณะของผู้เรียนและสามารถเลือกใช้สื่อการเรี
ยนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนและบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน การวิเคราะห์ผู้เรียนนั้นจะวิเคร
าะห์ใน 2 ลักษณะ คือ
1.
ลักษณะทั่วไป เป็นลักษณะที่ไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่จะสอน แต่เกี่ยวข้องกับการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนโ
ดยตรง ได้แก่ เพศ อายุ ชั้นปีที่เรียน ระดับสติปัญญา ความถนัด วัฒนธรรม สังคม ฯลฯ
2. ลักษณะเฉพาะ เป็นลักษณะที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่จะสอน ซึ่งจะมีผลต่อการเลือกวิธีการสอนและสื่
อการเรียนการสอน ได้แก่
2.1 ความรู้และทักษะพื้นฐานของผู้เรียนในเนื้อหาที่จะสอน
2.2 ทักษะที่เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น ทักษะด้านภาษา คณิตศาสตร์ การใช้เหตุผล
2.3 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จะสอนนั้นหรือยัง
2.4 ทัศนคติของผู้เรียนต่อวิชาที่จะเรียน
3
State objectives: กาหนดวัตถุประสงค์
การเรียนการสอน
ในแต่ละครั้งต้องกาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ซึ่งควรเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ที่กาหนดความสามารถข
องผู้เรียนว่าจะทาอะไรได้บ้าง ในระดับใด และภายใต้เงื่อนไขใดไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้สามารถเลือกใช้วิธีการส
อนและสื่อการเรียนการสอนได้เหมาะสม
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่กาหนดขึ้นสาหรับการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ควรให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ทางก
ารศึกษาทั้ง 3 ด้าน คือ
1. พุทธิพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อวัดการเรียนรู้ของผู้เรียนเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ
สติปัญญา และการพัฒนา
2. จิตพิสัย
เป็นวัตถุประสงค์ทางด้านความคิด ทัศนคติ ความรู้สึก ค่านิยมและการเสริมสร้างทางปัญญา
3. ทักษะพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับการกระทา การแสดงออกหรือการปฏิบัติ
Select methods, media, and materials: เลือกวิธีการ เลือกสื่อ และเลือกวัสดุอุปกรณ์
การที่จะมีสื่อที่เหมาะสมในการเรียนการสอนนั้น สามารถทาได้ 3 วิธีด้วยกัน คือ
1. การเลือกสื่อที่มีอยู่แล้ว หมายถึง
การพิจารณาเลือกสื่อการเรียนการสอน ที่มีอยู่แล้วจากแหล่งต่างๆ
เพื่อนามาใช้ในการเรียนการสอน การเลือกสื่อที่มีอยู่แล้วควรมีเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้
1.1 ลักษณะผู้เรียน
1.2 วัตถุประสงค์การเรียนการสอน
1.3 เทคนิคหรือวิธีการเรียนการสอน
1.4 สภาพการณ์และข้อจากัดในการใช้สื่อการเรียนการสอนแต่ละชนิด
2. การปรับปรุงหรือดัดแปลงสื่อที่มีอยู่แล้ว หมายถึง
การจัดการปรับปรุงสื่อหรือจัดหาสื่อเพื่อนามาชดเชยสื่อการสอนที่มีอยู่แล้ว
แต่ไม่เหมาะสมกับการใช้ในการเรียนการสอน ให้พิจารณาว่าสามารถนามาปรับปรุงให้เหมาะสมกั
บวัตถุประสงค์การเรียนการสอนได้หรือไม่ ถ้าปรับปรุงได้ก็ให้ปรับปรุงก่อนนาไปใช้
3. การออกแบบสื่อใหม่ หมายถึง การดาเนินการออกแบบและสร้างสื่อการเรียนการสอนขึ้นมาใหม่
เพื่อทดแทนสื่อเก่าที่มีอยู่แล้ว แต่ไม่สามารถนามาใช้ได้หรือไม่เหมาะสมที่จะนามาปรับปรุงใช้
4
หรือไม่มีสื่อการเรียนการสอนที่ต้องการใช้ในแหล่งบริการสื่อการเรียนการสอนใดเลย
ก็จาเป็นต้องออกแบบและสร้างสื่อการเรียนการสอนขึ้นมาใหม่
Utilize media and materials: ใช้สื่อและใช้วัสดุปกรณ์
ขั้นตอนการใช้สื่อการเรียนการสอน มีขั้นตอนที่สาคัญอยู่ 4 ขั้นตอน คือ
1. ตรวจสอบหรืออ่านเนื้อหาในสื่อ / ทดลองใช้
ก่อนที่จะนาสื่อการเรียนการสอนใดมาใช้จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการตรวจสอบเนื้อหาว่าตรงตามวั
ตถุประสงค์หรือไม่ และทดลองใช้ดูว่ามีปัญหาหรือไม่ ถ้ามีจะได้แก้ไขปรับปรุงได้ทัน
2. เตรียมสภาพแวดล้อม / จัดเตรียมสถานที่
การที่จะใช้สื่อการเรียนการสอนจาเป็นที่ต้องมีการเตรียมสถานที่ สิ่งอานวยความสะดวก แสง การ
ระบายอากาศ และอื่น ๆ ให้เหมาะสมกับการใช้สื่อการสอนแต่ละชนิด
3. เตรียมผู้เรียน
ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการใช้สื่อการเรียนการสอนได้ดีนั้น จะต้องมีการเตรียมผู้เรียนให้พร้อม
ที่จะเรียนเรื่องนั้น ๆ โดย
การแนะนาสิ่งที่จะนาเสนอ อาจจะเป็นเรื่องย่อ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น การเร้าความสนใจ หรือเ
น้นจุดที่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ ปัจจัยเหล่านี้จะทาให้ผู้เรียนมีเป้าหมายในการฟังหรือดูสิ่งที่ผู้
สอนนาเสนออันจะนาไปสู่การเรียนรู้ที่ดีได้
4. การนาเสนอ / ควบคุมชั้นเรียน
ผู้สอนที่ทาหน้าที่ผู้เสนอสื่อการเรียนการสอนนั้น ในการนาเสนอควรปฏิบัติดังนี้
4.1 ต้องทาตัวเป็นตัวกลางที่จะทาให้การนาเสนอครั้งนั้นประสบความสาเร็จ โดยการทาตัวให้
เป็นธรรมชาติ หลีกเลี่ยงท่าทางที่ไม่เหมาะสมที่ติดเป็นนิสัย เช่น หักนิ้ว บิดข้อมือ กดปาก
กา เพราะจะทาให้ผู้เรียนสนใจ ท่าทางเหล่านี้แทน
4.2 ท่าทางการยืน ต้องยืนหันหน้าให้ผู้เรียน ถ้ายืนเฉียงก็ต้องหันหน้าหาผู้เรียนไม่ควรหัน ข้าง
หรือหันหลังให้ผู้เรียน
4.3 ขณะที่บรรยายนาเสนอสื่อการเรียนการสอนต้องสอดแทรกอารมณ์ขันบ้าง
4.4 ประเมินความสนใจของผู้เรียน
โดยใช้การกวาดสายตามองผู้เรียนให้ทั่วทั้งชั้นซึ่งเป็นการแสดงความสนใจผู้เรียน และวิเค
ราะห์สีหน้า ท่าทางของผู้เรียนไปพร้อมกัน
4.5 อย่าใช้เวลาเตรียมสื่อนานเกินไปจะทาให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย
4.6 นาเสนอให้ถูกวิธีตามที่ได้มีการทดลองใช้มาก่อนแล้ว
5
Require learner participation: กาหนดให้มีการตอบสนองของผู้เรียน
การใช้สื่อในการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ผู้สอนต้องจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่ว
มในการเรียนการสอนให้มากที่สุด โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ ตอบสนองโดยเปิดเผย (overt respond)
โดยการพูดหรือเขียน และการตอบสนองภายในตัวผู้เรียน ( covert response
) โดยการท่องจาหรือคิดในใจ เมื่อผู้เรียนมีการตอบสนองผู้สอนควรให้การเสริมแรงทันที
เพื่อให้ผู้เรียนทราบว่าตนมีความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้องหรือไม่ โดยการให้ทาแบบฝึกหัด
การตอบคาถาม การอภิปราย หรือการใช้บทเรียนแบบโปรแกรม
Evaluate and revise: ประเมินการใช้สื่อและปรับปรุง
หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว จาเป็นต้องมีการประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนเ
พื่อให้ได้ข้อมูลที่ช่วยให้ผู้สอนทราบว่า การเรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใดสิ่งที่ต้องประเมินไ
ด้แก่
1. การประเมินผลกระบวนการเรียนการสอน จะทาให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพั
ฒนาวิธีการสอนและการใช้สื่อการเรียนในครั้งต่อ ๆ ไปให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. การประเมินสื่อและวิธีการเรียนการสอน เพื่อให้ทราบว่าสื่อและวิธีการสอนที่ใช้มีประสิทธิภาพมาก
น้อยเพียงใด ต้องปรับปรุงแก้ไขหรือไม่ ช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้นหรือไม่
การประเมินผลสื่อการเรียนการสอนควรให้ครอบคลุม ด้านความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรี
ยนการสอน ด้านคุณภาพของสื่อเช่น ขนาด รูปร่าง สี ความชัดเจนของสื่อ
3. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์แต่ละข้อที่กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด
บทสรุป ASSURE model
จากรูปแบบจาลอง The ASSURE
model จะเน้นถึงการวางแผนการใช้สื่ออย่างเป็นระบบในสภาพของห้องเรียนจริง
เพื่อให้ผู้สอนสามารถนารูปแบบจาลองนี้ มาใช้วางแผนการสอนได้อย่างมีประสิทธิผล
ถ้าหากผู้สอนสามารถดาเนินการได้ตามกระบวนการได้ถูกต้องทุกขั้นตอนจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เป็นอ
ย่างดี
6
บรรณานุกรม
กิดานันท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2543.
Robert Heinich, et al.Instruction media and technologiesfor learning. 7th ed.
Pearson Education Ltd. 1993.377 p.
http://52040337kanokphan.blogspot.com/2011/10/assure-model-assure-model-heinich.html
รวบรวมโดย ผศ.ดร.ทวี สระน้ำคำ
คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนก่น

More Related Content

What's hot

การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Real PN
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2lalidawan
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาFern's Supakyada
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนPrachyanun Nilsook
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาAiijoo Yume
 
Introduction to innovation part ii
Introduction to innovation part iiIntroduction to innovation part ii
Introduction to innovation part iikhon Kaen University
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปThunyalak Thumphila
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาMintra Subprue
 
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาสาวกปิศาจ Kudo
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2เนตร นภา
 

What's hot (20)

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Introduction to innovation part ii
Introduction to innovation part iiIntroduction to innovation part ii
Introduction to innovation part ii
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
 
SCORM STANDARD
 SCORM STANDARD SCORM STANDARD
SCORM STANDARD
 

Viewers also liked

ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศcodexstudio
 
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)khon Kaen University
 
Intro to instructional design
Intro to instructional designIntro to instructional design
Intro to instructional designMart Laanpere
 
Dick careyisd model_gi
Dick careyisd model_giDick careyisd model_gi
Dick careyisd model_giG_I
 
Bloom's Taxonomy
Bloom's TaxonomyBloom's Taxonomy
Bloom's Taxonomyriverryder
 
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL napadon2
 
Electrical Hazards on Airport
Electrical Hazards on AirportElectrical Hazards on Airport
Electrical Hazards on AirportRLarivee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
Group 4 collaborative project the addie and assure models multimedia
Group 4 collaborative project   the addie and assure models multimediaGroup 4 collaborative project   the addie and assure models multimedia
Group 4 collaborative project the addie and assure models multimediajuando_m
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนananphar
 
Blooms Taxonomy Made Easy
Blooms Taxonomy Made EasyBlooms Taxonomy Made Easy
Blooms Taxonomy Made EasyLaura Davis
 

Viewers also liked (17)

Edgar Dale’s Cone of Experience
Edgar Dale’s Cone of ExperienceEdgar Dale’s Cone of Experience
Edgar Dale’s Cone of Experience
 
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
 
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
 
ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
 
Berlo’s smcr model
Berlo’s smcr modelBerlo’s smcr model
Berlo’s smcr model
 
Lecture 1
Lecture 1Lecture 1
Lecture 1
 
Intro to instructional design
Intro to instructional designIntro to instructional design
Intro to instructional design
 
Dick careyisd model_gi
Dick careyisd model_giDick careyisd model_gi
Dick careyisd model_gi
 
Bloom's Taxonomy
Bloom's TaxonomyBloom's Taxonomy
Bloom's Taxonomy
 
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
 
Electrical Hazards on Airport
Electrical Hazards on AirportElectrical Hazards on Airport
Electrical Hazards on Airport
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
Group 4 collaborative project the addie and assure models multimedia
Group 4 collaborative project   the addie and assure models multimediaGroup 4 collaborative project   the addie and assure models multimedia
Group 4 collaborative project the addie and assure models multimedia
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
Cone of experience
Cone of experienceCone of experience
Cone of experience
 
Bloom's Taxonomy
Bloom's Taxonomy Bloom's Taxonomy
Bloom's Taxonomy
 
Blooms Taxonomy Made Easy
Blooms Taxonomy Made EasyBlooms Taxonomy Made Easy
Blooms Taxonomy Made Easy
 

Similar to The assure model

บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Kanatip Sriwarom
 
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sattakamon
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7josodaza
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้lalidawan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Aob Ammipercar
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7hadesza
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้onnichabee
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)nwichunee
 

Similar to The assure model (20)

บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from khon Kaen University

การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูkhon Kaen University
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300khon Kaen University
 
EdT KKU student handbook 2015-08-02
EdT KKU student handbook 2015-08-02EdT KKU student handbook 2015-08-02
EdT KKU student handbook 2015-08-02khon Kaen University
 
Designing of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of EducationDesigning of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of Educationkhon Kaen University
 
The top 10 characteristics of a 21st century classroom
The top 10 characteristics of a 21st century classroomThe top 10 characteristics of a 21st century classroom
The top 10 characteristics of a 21st century classroomkhon Kaen University
 
Information technology in 21th Century Classroom
Information technology in 21th Century ClassroomInformation technology in 21th Century Classroom
Information technology in 21th Century Classroomkhon Kaen University
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learningkhon Kaen University
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1khon Kaen University
 
P D C A cycle for Physical Education
P D C A cycle for Physical EducationP D C A cycle for Physical Education
P D C A cycle for Physical Educationkhon Kaen University
 

More from khon Kaen University (16)

Asean country
Asean countryAsean country
Asean country
 
Bloom's taxonomy for learning
Bloom's taxonomy for learningBloom's taxonomy for learning
Bloom's taxonomy for learning
 
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
 
EdT KKU student handbook 2015-08-02
EdT KKU student handbook 2015-08-02EdT KKU student handbook 2015-08-02
EdT KKU student handbook 2015-08-02
 
Designing of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of EducationDesigning of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of Education
 
Problem based learning
Problem based learningProblem based learning
Problem based learning
 
Webbasic
WebbasicWebbasic
Webbasic
 
The top 10 characteristics of a 21st century classroom
The top 10 characteristics of a 21st century classroomThe top 10 characteristics of a 21st century classroom
The top 10 characteristics of a 21st century classroom
 
Information technology in 21th Century Classroom
Information technology in 21th Century ClassroomInformation technology in 21th Century Classroom
Information technology in 21th Century Classroom
 
241203 t2 y2556_course_ syllabus
241203 t2 y2556_course_ syllabus241203 t2 y2556_course_ syllabus
241203 t2 y2556_course_ syllabus
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learning
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
 
Car tax 2556
Car tax 2556Car tax 2556
Car tax 2556
 
P D C A cycle for Physical Education
P D C A cycle for Physical EducationP D C A cycle for Physical Education
P D C A cycle for Physical Education
 

The assure model

  • 1. The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็ นระบบ โดยใช้แบบจาลอง ในการใช้สื่อการสอนนั้น ผู้สอนควรจะมีการวางแผนการใช้สื่ออย่างรัดกุมและเป็นระ บบ ทั้งนี้เพื่อนามาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ซึ่งจะทาให้ผู้สอนเกิดความมั่นใจในการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท า ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ สู ง สุ ด ต า ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล และตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่วางไว้การวางแผนการใช้สื่อการสอนโดยใช้แนวคิดของ วิธีระบบ เป็นแนว ทางหนึ่งที่ทาให้การวางแผนการใช้สื่อการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ " The ASSURE Model" เป็นแบบจาลองที่ได้รับความนิยมในการนาไปใช้ เพื่อวางแผนการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 2. 2 แบบจาลอง The ASSURE Model มีรายละเอียดดังนี้ Analyze learners: วิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน State objectives: กาหนดวัตถุประสงค์ Selectmethods, media, and materials: เลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุอุปกรณ์ Utilize media and materials: ใช้สื่อและใช้วัสดุปกรณ์ Require learner participation: กาหนดให้มีการตอบสนองของผู้เรียน Evaluate and revise: ประเมินการใช้สื่อและปรับปรุง Analyze learners: วิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน การวิเคราะห์ลักษณะของผู้เรียน จะทาให้ผู้สอนเข้าใจลักษณะของผู้เรียนและสามารถเลือกใช้สื่อการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนและบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน การวิเคราะห์ผู้เรียนนั้นจะวิเคร าะห์ใน 2 ลักษณะ คือ 1. ลักษณะทั่วไป เป็นลักษณะที่ไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่จะสอน แต่เกี่ยวข้องกับการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนโ ดยตรง ได้แก่ เพศ อายุ ชั้นปีที่เรียน ระดับสติปัญญา ความถนัด วัฒนธรรม สังคม ฯลฯ 2. ลักษณะเฉพาะ เป็นลักษณะที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่จะสอน ซึ่งจะมีผลต่อการเลือกวิธีการสอนและสื่ อการเรียนการสอน ได้แก่ 2.1 ความรู้และทักษะพื้นฐานของผู้เรียนในเนื้อหาที่จะสอน 2.2 ทักษะที่เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น ทักษะด้านภาษา คณิตศาสตร์ การใช้เหตุผล 2.3 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จะสอนนั้นหรือยัง 2.4 ทัศนคติของผู้เรียนต่อวิชาที่จะเรียน
  • 3. 3 State objectives: กาหนดวัตถุประสงค์ การเรียนการสอน ในแต่ละครั้งต้องกาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ซึ่งควรเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ที่กาหนดความสามารถข องผู้เรียนว่าจะทาอะไรได้บ้าง ในระดับใด และภายใต้เงื่อนไขใดไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้สามารถเลือกใช้วิธีการส อนและสื่อการเรียนการสอนได้เหมาะสม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่กาหนดขึ้นสาหรับการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ควรให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ทางก ารศึกษาทั้ง 3 ด้าน คือ 1. พุทธิพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อวัดการเรียนรู้ของผู้เรียนเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ สติปัญญา และการพัฒนา 2. จิตพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ทางด้านความคิด ทัศนคติ ความรู้สึก ค่านิยมและการเสริมสร้างทางปัญญา 3. ทักษะพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับการกระทา การแสดงออกหรือการปฏิบัติ Select methods, media, and materials: เลือกวิธีการ เลือกสื่อ และเลือกวัสดุอุปกรณ์ การที่จะมีสื่อที่เหมาะสมในการเรียนการสอนนั้น สามารถทาได้ 3 วิธีด้วยกัน คือ 1. การเลือกสื่อที่มีอยู่แล้ว หมายถึง การพิจารณาเลือกสื่อการเรียนการสอน ที่มีอยู่แล้วจากแหล่งต่างๆ เพื่อนามาใช้ในการเรียนการสอน การเลือกสื่อที่มีอยู่แล้วควรมีเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้ 1.1 ลักษณะผู้เรียน 1.2 วัตถุประสงค์การเรียนการสอน 1.3 เทคนิคหรือวิธีการเรียนการสอน 1.4 สภาพการณ์และข้อจากัดในการใช้สื่อการเรียนการสอนแต่ละชนิด 2. การปรับปรุงหรือดัดแปลงสื่อที่มีอยู่แล้ว หมายถึง การจัดการปรับปรุงสื่อหรือจัดหาสื่อเพื่อนามาชดเชยสื่อการสอนที่มีอยู่แล้ว แต่ไม่เหมาะสมกับการใช้ในการเรียนการสอน ให้พิจารณาว่าสามารถนามาปรับปรุงให้เหมาะสมกั บวัตถุประสงค์การเรียนการสอนได้หรือไม่ ถ้าปรับปรุงได้ก็ให้ปรับปรุงก่อนนาไปใช้ 3. การออกแบบสื่อใหม่ หมายถึง การดาเนินการออกแบบและสร้างสื่อการเรียนการสอนขึ้นมาใหม่ เพื่อทดแทนสื่อเก่าที่มีอยู่แล้ว แต่ไม่สามารถนามาใช้ได้หรือไม่เหมาะสมที่จะนามาปรับปรุงใช้
  • 4. 4 หรือไม่มีสื่อการเรียนการสอนที่ต้องการใช้ในแหล่งบริการสื่อการเรียนการสอนใดเลย ก็จาเป็นต้องออกแบบและสร้างสื่อการเรียนการสอนขึ้นมาใหม่ Utilize media and materials: ใช้สื่อและใช้วัสดุปกรณ์ ขั้นตอนการใช้สื่อการเรียนการสอน มีขั้นตอนที่สาคัญอยู่ 4 ขั้นตอน คือ 1. ตรวจสอบหรืออ่านเนื้อหาในสื่อ / ทดลองใช้ ก่อนที่จะนาสื่อการเรียนการสอนใดมาใช้จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการตรวจสอบเนื้อหาว่าตรงตามวั ตถุประสงค์หรือไม่ และทดลองใช้ดูว่ามีปัญหาหรือไม่ ถ้ามีจะได้แก้ไขปรับปรุงได้ทัน 2. เตรียมสภาพแวดล้อม / จัดเตรียมสถานที่ การที่จะใช้สื่อการเรียนการสอนจาเป็นที่ต้องมีการเตรียมสถานที่ สิ่งอานวยความสะดวก แสง การ ระบายอากาศ และอื่น ๆ ให้เหมาะสมกับการใช้สื่อการสอนแต่ละชนิด 3. เตรียมผู้เรียน ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการใช้สื่อการเรียนการสอนได้ดีนั้น จะต้องมีการเตรียมผู้เรียนให้พร้อม ที่จะเรียนเรื่องนั้น ๆ โดย การแนะนาสิ่งที่จะนาเสนอ อาจจะเป็นเรื่องย่อ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น การเร้าความสนใจ หรือเ น้นจุดที่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ ปัจจัยเหล่านี้จะทาให้ผู้เรียนมีเป้าหมายในการฟังหรือดูสิ่งที่ผู้ สอนนาเสนออันจะนาไปสู่การเรียนรู้ที่ดีได้ 4. การนาเสนอ / ควบคุมชั้นเรียน ผู้สอนที่ทาหน้าที่ผู้เสนอสื่อการเรียนการสอนนั้น ในการนาเสนอควรปฏิบัติดังนี้ 4.1 ต้องทาตัวเป็นตัวกลางที่จะทาให้การนาเสนอครั้งนั้นประสบความสาเร็จ โดยการทาตัวให้ เป็นธรรมชาติ หลีกเลี่ยงท่าทางที่ไม่เหมาะสมที่ติดเป็นนิสัย เช่น หักนิ้ว บิดข้อมือ กดปาก กา เพราะจะทาให้ผู้เรียนสนใจ ท่าทางเหล่านี้แทน 4.2 ท่าทางการยืน ต้องยืนหันหน้าให้ผู้เรียน ถ้ายืนเฉียงก็ต้องหันหน้าหาผู้เรียนไม่ควรหัน ข้าง หรือหันหลังให้ผู้เรียน 4.3 ขณะที่บรรยายนาเสนอสื่อการเรียนการสอนต้องสอดแทรกอารมณ์ขันบ้าง 4.4 ประเมินความสนใจของผู้เรียน โดยใช้การกวาดสายตามองผู้เรียนให้ทั่วทั้งชั้นซึ่งเป็นการแสดงความสนใจผู้เรียน และวิเค ราะห์สีหน้า ท่าทางของผู้เรียนไปพร้อมกัน 4.5 อย่าใช้เวลาเตรียมสื่อนานเกินไปจะทาให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย 4.6 นาเสนอให้ถูกวิธีตามที่ได้มีการทดลองใช้มาก่อนแล้ว
  • 5. 5 Require learner participation: กาหนดให้มีการตอบสนองของผู้เรียน การใช้สื่อในการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ผู้สอนต้องจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่ว มในการเรียนการสอนให้มากที่สุด โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ ตอบสนองโดยเปิดเผย (overt respond) โดยการพูดหรือเขียน และการตอบสนองภายในตัวผู้เรียน ( covert response ) โดยการท่องจาหรือคิดในใจ เมื่อผู้เรียนมีการตอบสนองผู้สอนควรให้การเสริมแรงทันที เพื่อให้ผู้เรียนทราบว่าตนมีความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้องหรือไม่ โดยการให้ทาแบบฝึกหัด การตอบคาถาม การอภิปราย หรือการใช้บทเรียนแบบโปรแกรม Evaluate and revise: ประเมินการใช้สื่อและปรับปรุง หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว จาเป็นต้องมีการประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนเ พื่อให้ได้ข้อมูลที่ช่วยให้ผู้สอนทราบว่า การเรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใดสิ่งที่ต้องประเมินไ ด้แก่ 1. การประเมินผลกระบวนการเรียนการสอน จะทาให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพั ฒนาวิธีการสอนและการใช้สื่อการเรียนในครั้งต่อ ๆ ไปให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. การประเมินสื่อและวิธีการเรียนการสอน เพื่อให้ทราบว่าสื่อและวิธีการสอนที่ใช้มีประสิทธิภาพมาก น้อยเพียงใด ต้องปรับปรุงแก้ไขหรือไม่ ช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้นหรือไม่ การประเมินผลสื่อการเรียนการสอนควรให้ครอบคลุม ด้านความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรี ยนการสอน ด้านคุณภาพของสื่อเช่น ขนาด รูปร่าง สี ความชัดเจนของสื่อ 3. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์แต่ละข้อที่กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด บทสรุป ASSURE model จากรูปแบบจาลอง The ASSURE model จะเน้นถึงการวางแผนการใช้สื่ออย่างเป็นระบบในสภาพของห้องเรียนจริง เพื่อให้ผู้สอนสามารถนารูปแบบจาลองนี้ มาใช้วางแผนการสอนได้อย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากผู้สอนสามารถดาเนินการได้ตามกระบวนการได้ถูกต้องทุกขั้นตอนจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เป็นอ ย่างดี
  • 6. 6 บรรณานุกรม กิดานันท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2543. Robert Heinich, et al.Instruction media and technologiesfor learning. 7th ed. Pearson Education Ltd. 1993.377 p. http://52040337kanokphan.blogspot.com/2011/10/assure-model-assure-model-heinich.html รวบรวมโดย ผศ.ดร.ทวี สระน้ำคำ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนก่น