SlideShare a Scribd company logo
ร่วมกับ 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 
การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาไทย 
โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
สาหรับ โรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
กลุ่มเป้าหมาย : ผู้บริหารโรงเรียนและครู 
ระหว่างวันที่ 30 ตุลาคม – 30 พฤศจิกายน 2557
การศึกษา 
กาลังศึกษาระดับปริญญาโท 
2552 – 2555 ระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ 
มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 
2546 – 2551 ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 
การทางาน 
2557 วิทยากร ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
2556 หัวหน้าฝ่ายบริหารจัดการเว็บไซต์ สสท. สกสค. กระทรวงศึกษาธิการ 
2556 คณะทางานที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 
2556 คณะทางานผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
เว็บไซต์ดาวน์โหลดเอกสารบรรยาย 
http://gg.gg/thai2
เทคโนโลยีและแนวโน้มของเทคโนโลยีทางด้านการเรียนการสอน
Topic หัวข้อการบรรยาย 
1. Flipped Classroom 
2. Moocs (Open Courses) 
3. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 
4. การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 
5. Google Apps for Education 
6. เทคนิควิธีใช้ระบบเครือข่ายเพื่อการจัดการเรียนรู้ LMS 
7. E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ 
8. ความบันเทิงภาคการเรียน Gamification for Education 
9. Application for Education … 
10. ระบบการจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาการเข้าถึงระบบเครือข่ายด้วยเทคโนโลยี Hybrid 
11. การออกแบบและพัฒนาสื่อการสอนแบบ Cloud Learning 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ภาษาถึง 13 ภาษา 
พื้นที่เกือบ 5 ล้าน ตร.กม. 
ประชากร 600 กว่าล้านคน
นโยบายของรัฐ? 
IT Infrastructure? 
ศาสนา? 
Social Media? 
ระบบการศึกษา? 
เวลา ? 
ภาษา? 
ฐานะ? 
วัฒนธรรม? 
สมรรถนะ? 
ศักยภาพผู้สอน? 
Social Network? 
ความขยัน? 
ศักยภาพผู้เรียน?
Social Media?
Social Media 6 ประเภท 
1. Collaborative projects การทางานร่วมกันออนไลน์ เช่น Wikipedia 
2. Blogs and micro blogs การสื่อสารให้คนอื่นได้รับทราบ เช่น Twitter 
3. Content communities ชุมชนของเนื้อหา เช่น Youtube 
4. Social networking sites เช่น Facebook 
5. Virtual game worlds เกมออนไลน์ 
6. Virtual social worlds ชีวิตที่สองในโลกเสมือน
แบ่งเป็น 2 รูปแบบ 
แบบปิด 
 กลุ่มเพื่อน สังคมเฉพาะ 
 เครือข่ายในโรงเรียน 
แบบเปิด 
 เครือข่ายสาธารณะ
Like 
Comment 
Share 
Cloud 
Green 
Happy
ตัวอย่างแรก 
มีประเทศหนึ่ง สอนคนให้ทิ้งขยะลงถัง รณรงค์ 
หลายอย่าง แต่ก็ไม่สาเร็จ แต่พอเปลี่ยนจาก 
การบังคับเป็นการสร้างความสนุก 
ผลเป็นอย่างไร มาดูกัน
อีกตัวอย่าง 
การรณรงค์ให้คนเดินขึ้นบันไดเพื่อสุขภาพ
Socrates 2.0 
Game Over 
Try Again
นอกจาก Social ยังมีเรื่องอื่นมาประกอบการสอนอีก 
•ห้องเรียน 
• หนังสือเล่มหนา 
• กระดาษดา 
• การส่งงานผ่านเฟรสไดร้ท์ 
•Worksheet 
• PowerPoint 
• Quiz/Eeercise 
•การเรียนยุคใหม่ 
• E-Book 
• ห้องเรียน LMS FB Page 
• เอกสารออนไลน์ 
• Document (pdf/Google Docs) 
• Slideshare 
• Google froms/Online Quiz
สิ่งสาคัญพื้นฐานในการเรียนรู้ 
สร้างองค์ 
ความรู้ใหม่ 
ประเมิน 
วิเคราะห์ 
ประยุกต์ใช้ 
ความเข้าใจ 
จาได้
บันทึกตาราง 
เข้าเรียน 
บันทึกเสียง 
ถ่ายรูป 
สแกนงาน 
ค้นหาข้อมูล เนื้อหาการเรียน 
ปรึกษา งาน การบ้าน 
ตรวจสอบ และส่งงาน 
Line 
Line
เซอร์จอร์น แดลแนล 
ยูเนสโก 
•เซอร์ จอร์น แดลแนล ปัจจุบันโลก 
เปลี่ยนไปแล้ว การเรียนหนังสือ ไม่ 
จาเป็นต้องเดินทางมาเรียนที่ใดที่ 
หนึ่งอีกแล้ว เราควรเรียนได้ทุกที่ 
ทุกเวลา
Think BIG 
Integrating Social Media & Education 
in a BIG way
What's MOOC? 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
MOOCs 
Massive Open Online Courses 
หลักสูตรออนไลน์ระบบเปิด ที่รองรับการเรียนจานวนมาก 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
เมื่อก้าวสู่ยุคศตวรรษที่ 21 เป็นโลกแห่งเสรี การศึกษาก็เช่นเดียวกัน
MOOCs : Massive Open Online Courses 
1. หลักสูตรการเรียนแบบออนไลน์ที่สามารถสมัครเรียนได้ฟรี 
2. รองรับผู้เรียนได้จานวนมหาศาล สามารถเรียนผ่านระบบเว็บไซต์ได้ 
3. ใช้เครื่องมือที่เป็นระบบเปิด เช่น LMS, iTuneU, Google Apps 
4. สามารถที่จะออกใบประกาศนียบัตรหลังจากผ่านการประเมินจากการทดสอบ 
5. เนื้อหาแบบเปิด (open licensing of content) 
6. เนื้อหาอาจเป็น วีดีโอ เสียง เอกสาร หรืออยู่ในรูปแบบอื่นๆ ที่สามารถดูออนไลน์ได้ 
7. เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาผ่านระบบออนไลน์ 
8. เรียนแบบ E-learning & Mobile Learning 
9. Gamification 
10. MOOCs ไม่ใช่เนื้อหา แต่เป็นหลักสูตร (Courses) ที่มีการเรียนและวัดผลเหมือนการเรียนปกติ 
11. ในไทยเขาทากันแล้วนะ โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย 
12. จะทา MOOCs ไม่จาเป็นต้องมีเว็บไซต์ สามารถใช้สังคมออนไลน์เช่น Facebook ก็ทาได้ขึ้นอยู่ 
กับเครื่องมือและวิธีการใช้ 
ของฟรีก็มีในโลก... 
10 ข้อควรรู้เกี่ยวกับ MOOCs 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
MOOCs : Massive Open Online Courses Open Educational Resource 
ที่มา http://www.thailibrary.in.th/2014/06/26/moocs-2/ 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มีที่ไหนบ้าง... 
MOOCs : Massive Open Online Courses 
ต่างประเทศ ประเทศไทย 
Coursera * 
edX 
Udemy 
iTunesU 
Stanford’s Free courses 
MIT Open Courseware 
Open Yale Courses 
Khan Academy 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
Karn.tv 
Khan Academy Thailand 
EES Club 
ทรูปลูกปัญญา 
Quipper School
Classroom 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
Flipped
Flipped Classroom คืออะไร…? 
“การเรียนรู้แนวใหม่สาหรับศตวรรษที่ 21” 
“ห้องเรียนกลับด้าน” 
“................................” 
ทาไมใครๆ ต่างพูดถึงคาเหล่านี้ ในยุคนี้การเรียนรู้สมัยใหม่จะมาทาอะไรกับเราเรียนการสอนของการศึกษาบ้านเรา 
“Flipped Classroom” คือโมเดลวิเศษขนาดไหน ทาไมใครๆต่างพูดถึงกันมากมาย 
คาจากัดความ 
“กลับด้านวิธีการเรียนการสอน แนะนาแทนการทาตาม นาเสนอเนื้อหาออนไลน์นอกห้องเรียน 
เปลี่ยนการบ้านเป็นห้องเรียน” 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อะไรที่กลับด้าน 
กลับด้านจาก 
1. ผู้สอน พูด บอก 
2. ตอบคาถามเป็น 
3. ให้ข้อมูลอย่างเดียว 
4. ใช้เกรดเป็นตัววัด 
5. มองที่ผลลัพธ์ 
6. บอกให้ทาตาม 
7. นักเรียนทุกคนเรียนรู้เท่าๆกัน 
8. ประเมินผลลัพธ์เชิงปริมาณ 
9. เน้นให้นักเรียนสอบผ่าน 
10. สอนที่โรงเรียน ทาการบ้านที่บ้าน 
11. สอนเนื้อหาทั้งหมดในชั่วโมง 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
กลับด้านเป็น 
1. ผู้แนะนา, ออกแบบ, อานวยความสะดวก 
2. ตั้งคาถามเป็น 
3. ให้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ 
4. ใช้สิ่งที่นักเรียนจะได้รับเป็นตัววัด 
5. มองที่กระบวนการ 
6. ร่วมกันทาเพื่อหาคาตอบ 
7. นักเรียนเรียนรู้ตามความสามารถที่แตกต่างกัน 
8. สร้างผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 
9. เน้นให้นักเรียนคิดเป็น 
10. สอนที่บ้าน เรียนรู้เพิ่มเติมที่โรงเรียน 
11. บันทึกวีดีโอการสอนเพื่อให้นักเรียนดูย้อนหลัง 
Flipped Classroom
ตัวอย่างวิธีปฏิบัติ 
Flipped Classroom 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ผู้เข้าอบรมช่วยกันนาเสนอ
ถ้า คุณขับรถซึ่งบรรทุก คน 43 คน จาก 
กรุงเทพไปเชียงใหม่ แล้วหยุดรับอีก 7 คน 
ขึ้น ม า แ ล้ว ห ยุด จ อ ด ใ ห้ค น ล ง ที่ 
นครสวรรค์ 5 คน จนมาถึงเชียงใหม่ในอีก 
9 ชั่วโมงต่อมา ถามว่าคนขับรถชื่ออะไร
เฉลย 
ก็ ชื่อ คุณ นั่นแหละ 
ในคาถาม บอกว่าคุณคือคนขับรถ
เฉลย เด็กคนที่ 8 เล่นหมากรุกับเด็กคนที่ 4
ตัวอย่างการนาไปใช้ 
Flipped Classroom 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เริ่มต้นง่ายๆ ด้วยตัวเอง 
Flipped Classroom 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
• สร้างวีดีโอการสอนหรือบันทึกวีดีโอการสอนของตัวเอง 
อย่างน้อย 3 วีดีโอต่อสัปดาห์ 
• ให้นักเรียนดูวีดีโอการสอนที่บ้านหรือที่โรงเรียน 
(ถ้าพวกเขาไม่มีอินเตอร์เน็ตที่บ้าน) 
• ในเวลาเรียนให้นักเรียนทาแล็บหรือทากิจกรรมร่วมกันปรึกษาหารือกัน
Flipped Classroom ผลดีที่ได้รับ 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ครูมีเวลามากขึ้นในการอธิบายเนื้อหาที่ยากจะเข้าใจให้นักเรียน 
นักเรียนจะทาการบ้านจนสาเร็จ เมื่อนักเรียนไม่ต้องการทาการบ้านที่บ้าน 
การได้ปรึกษากับเพื่อนที่โรงเรียนจะช่วยให้นักเรียนได้ทาการบ้านจนสาเร็จ 
เมื่อนักเรียนไม่เข้าใจบทเรียนในขณะดูวีดีโอ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเพื่อถาม 
และครูก็สามารถตอบคาถามกับนักเรียนแบบตัวต่อตัวได้ 
ครูได้มีโอกาสช่วยเหลือนักเรียนที่ผู้ปกครองไม่สามารถช่วยพวกเขาได้จากที่บ้าน 
ครูสามารถชี้แนะ ช่วยเหลือได้ในห้องเรียน
ระบบเครือข่ายเพื่อการจัดการเรียนรู้ LMS 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ครูหาระบบการเรียนออนไลน์ฟรี สร้างวิชาที่สนใจและนามาแนะนากับนักเรียน 
ให้นักเรียนลงทะเบียนเข้าไปใช้งานในระบบเสริมจากการเรียนหลัก 
เก็บ ติดตามการใช้งานของนักเรียนในชั้นเรียน การบ้าน การทดสอบ ประเมินผล 
ครูนาผลการเรียนของนักเรียนร่วมพูดคุย แนะนาการหาความรู้เพิ่มเติมในเนื้อหาที่อ่อน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
E-learning 
กับสื่อสังคมออนไลน์
คืออะไร 
E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ 
การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ e-Learning 
 ทางเลือกสาหรับครูผู้สอนในการให้นักเรียนได้เรียนรู้จากหลายช่องทาง 
 ช่องทางทบทวนความรู้ด้วยตนเอง 
 สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ผ่านสังคม 
ออนไลน์ 
 เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ ที่มีอินเทอร์เน็ต 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การนาไปใช้ 
E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
หลังเรียน ครูอาจตั้งคาถามใน Facebook 
เพื่อให้นักเรียนได้เข้ามาร่วมตอบและอภิปราย
การนาไปใช้ 
E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ 
ตัวอย่าง 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ข้อดี 
E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ 
ข้อดีของ e-Learning 
1. ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะเนื้อหาออนไลน์น่าสนใจ 
2. ช่วยให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนได้อย่างละเอียดและ 
ตลอดเวลา 
3. ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตนเองได้ โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลใดก่อนหรือหลัง 
ก็ได้ ตามพื้นฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน ทาให้ได้รับความรู้และมีการจดจาที่ดีขึ้น 
4. ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน และกับเพื่อน ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ มากมาย 
5. เป็นการเรียนที่ผู้เรียนแต่ละคน จะได้รับเนื้อหาของบทเรียนเหมือนเดิมทุกครั้ง 
6. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ รวมทั้งเนื้อหามีความทันสมัย และตอบสนองต่อ 
เหตุการณ์ต่าง ๆ ในปัจจุบันได้อย่างทันที 
7. ทาให้เกิดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียนในวงกว้างขึ้น เป็นการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ตัวอย่างเว็บ 
E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ 
ตัวอย่างเว็บไซต์ 
 http://www.learn.in.th/e-learning/ สถาบันพัฒนาวิชาชีพ สวทช. 
 http://www.e-learning.dss.go.th/ กรมวิทยาศาสตร์ บริการ 
 http://eDLTV.thai.net การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (eDLTV) 
 http://www.learnsquare.com 
 อื่นๆ อีกมากมาย 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
e-Learning: LearnSquare 
http://www.learnsquare.com
eDL-Square 
http://eDLTV.thai.net
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
การใช้บล็อก (Blog) 
เพื่อการจัดการความรู้
คืออะไร 
การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 
บล็อก (Blog) หรือ เว็บบล็อก (Weblog) เป็นเว็บไซต์ 
สาหรับเขียนบันทึก เล่าเรื่อง แบ่งปันประสบการณ์ แบ่งปันความรู้ 
และข่าวสาร 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
Blog for teacher.
การนาไปใช้ 
การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 
ขั้นที่ 1 เลือกเนื้อหาที่จะใช้ 
• ไม่ต้องใช้ทั้งภาคเรียน ควรใช้เพื่อทาให้การเรียนการสอน มีเทคนิควิธีการที่แปลกออกไป โดยมีจุดมุ่งหมาย 
หลักๆ ดังนี้ 
1. เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้อินเทอร์เน็ตในสิ่งที่เป็นประโยชน์ 
2. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการค้นคว้าข้อมูลตามหัวข้อ แล้วนามาเรียบเรียงใหม่ 
3. เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียค่ากระดาษ ค่าหมึก ค่าเย็บเล่มส่งครู 
4. เพื่อให้ผลงานของนักเรียนได้ถูกตรวจสอบจากผู้อื่นด้วย ทาให้ต้องมีการอ้างอิงอย่างถูกต้อง 
5. เพื่อให้ครูและนักเรียนได้รู้จักกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การนาไปใช้ 
การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 
ขั้นที่ 2 สร้างบล็อกสั่งงาน 
 คุณครูเลือกบล็อกที่เปิดใช้บริการฟรีและทดลองสมัครใช้งาน 
 เรียนรู้วิธีการใช้งานระบบ 
ขั้นที่ 3 ให้นักเรียนสมัครสมาชิก และอธิบายการเรียนการสอนสอนโดยใช้บล็อก 
 แนะนาบล็อกกับนักเรียน 
 ให้นักเรียนสมัครเข้าใช้งาน 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การนาไปใช้ 
การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 
ขั้นที่ 4 การสั่งงานและส่งงาน 
 ให้นักเรียนสร้างบล็อกเป็นของตัวเองและคุณครูสั่งงานให้นักเรียนหาข้อมูล 
 การส่งงาน 
 อาจใช้ร่วมกับ Facebook 
 สร้างกลุ่มตั้งหัวข้อ 
 ให้นักเรียนมาโพสต์งานที่ทา 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การนาไปใช้ 
การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 
1. สมัครและสร้างบล็อกของตัวเอง 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
2. ครูสร้างกลุ่มใน Facebook 
- สั่งงานและให้นักเรียนเข้ามาส่งงาน
ตัวอย่าง 
การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 
บล็อกที่มีการเปิดให้ใช้บริการฟรี 
 Gotoknow.org 
 thaigoodview.com 
 blogspot.com 
 wordpress.org 
 อื่นๆ อีกมากมาย http://bit.ly/ZVVzd6 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ความบันเทิงภาคการเรียน 
Gamification for Education
การนาไปใช้ 
Gamification for Education 
สร้างกิจกรรม 
การแข่งขันกลุ่ม 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ตั้งคาถาม 
และให้นักเรียน 
แข่งกันหาคาตอบ 
สรุปด้วยสื่อที่แปลกใหม่ 
มีรางวัลตอบแทน เพื่อกระตุ้นความอยากรู้
ดาวน์โหลดมากมายที่ http://cp.c-ij.com/en/contents/1006/
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
Google™ Apps for Education
คืออะไร? 
Google Apps for Education 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สิ่งสาคัญ 
Google Apps for Education 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
• Google Apps เป็นการให้บริการแบบ Cloud Services ต้องใช้อินเตอร์เน็ต 
• Google Apps สามารถใช้ Domain ของโรงเรียนเราในการเข้าถึงได้* 
หรือจะเข้าใช้โดยตรงจากหน้า google.com เลยก็ได้ 
• Google Apps for Education นั้นจริงๆไม่ฟรี!!! แต่ Google ใจบุญชอบให้ฟรีกับโรงเรียน?... 
• Google Apps for Education นั้นใช้บริการอื่นๆของ Google ได้ทั้งหมด 
ยกเว้นบริการสาหรับนักพัฒนา 
• ผู้ใช้งานทุกคนจะได้รับบัญชีผู้ใช้เป็น Gmail 
• คุณจะได้ Hard disk Online 30 GB ในการเก็บข้อมูลออนไลน์ 
• Google Apps for Education นั้นเป็นบริการพิเศษเฉพาะโรงเรียนหรือ 
องค์กรด้านการศึกษาเท่านั้น 
• คุณสามารถขอใช้ได้ฟรีผ่าน Google ประเทศไทย
มีบริการอะไรบ้าง 
Google Apps for Education 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
Gmail Drive Docs Sites Calendar 
Classroom 
นอกนั้นเป็นบริการปกติของ Google ที่ทุกคนสามารถใช้ได้
ใช้งานกัน #1 
Google Apps for Education 
วันนี้ครูจะให้นักเรียนไปหาข้อมูล 
ประวัติศาสตร์ แล้วส่งภายในวันอาทิตย์ 
นี้ แล้วแชร์มาในไดร์ฟของครู 
แล้ววันจันทร์เรามานาเสนอ 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
หนูหาข้อมูลและทาพรีเซนต์ด้วย Google Present หา 
ข้อมูลใน Youtube และ Google Search แล้วก็แชร์ไปที่ 
Google Drive ของคุณครู แล้วหนูก็ส่งอีเมล์ด้วย Gmail ให้ 
บอกครูแล้วด้วย 
นี่คือประวัติศาสตร์ของไทยสมัยสุโขทัย หนูทาผ่าน Google Present 
ใช้เครื่องไหนก็นาเสนอได้ เพราะไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมเลย
ใช้งานกัน #2 
Google Apps for Education 
นักเรียนทุกคนไปทาแบบฝึกหัดด้วยนะ 
จ๊ะ ครูทาไว้ใน Google form แล้วและ 
แชร์ให้ทุกคนไปแล้วในอีเมล์แล้ว 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
หนูตอบคาถามในแบบฝึกหัดจากลิ้งค์ที่ครูส่งมาในอีเมล์ 
เสร็จแล้วคะ ดีจังเลยสะดวกจริงๆ นี่ไงนักเรียนตอบเข้ามาแล้ว
Hangout 
Google Apps for Education 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ครูและนักเรียนใช้ Hangout เพื่อสอนผ่าน Online แบบ Realtime 
- ช่วยเหลือหรือสอนนักเรียนโดยใช้ Hangout 
- ใช้ Hangout Onair เพื่อสอนผู้เรียนจานวนมาก 
- นักเรียนใช้ Hangout เพื่อเรียนรู้ร่วมกันแบบเห็นหน้า 
- Hangout Free สาหรับทุกคน
Google Classroom 
Google Apps for Education 
- ครูเตรียมเนื้อหาแล้วส่งต่อให้กับนักเรียนทุกคน 
- นักเรียนทุกคนสามารถเข้ามาเรียนและส่งงาน 
- จัดระเบียบห้องเรียนต่างๆที่สอนโดยแบ่งเป็นกลุ่มๆ 
และโฟลเดอร์ที่ใช้ร่วมกันในห้องเรียน 
- สื่อสารร่วมกันทั้งครูและนักเรียน 
- ประหยัดเวลาและเงิน 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
เริ่มต้นใช้งาน Classroom 
Classroom สามารถใช้ได้สาหรับทุกคนที่มีบัญชี Google Apps for Education เข้าสู่ 
classroom.google.com และลงชื่อเข้าใช้ เลือกว่าคุณเป็นครูหรือนักเรียน จากนั้นสร้างหรือ 
เข้าร่วมชั้นเรียน 
Classroom ขณะนี้ใช้ได้เฉพาะกับผู้ใช้ Google Apps for Education เท่านั้น
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ห้องเรียนอัจฉริยะ 
Smart Classroom
ทาความรู้จักกับ Smart Classroom 
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 
 เรียกอีกอย่างว่า “ห้องเรียนต้นแบบ” 
 เป็นการนาเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสื่อการเรียนรู้อิเล็คทรอนิกส์มาผสมผสานกัน 
 มีเครื่องมืออานวยความสะดวกมากขึ้นให้กับครูผู้สอนและผู้เรียน 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) สื่อเทคโนโลยีที่นิยมใช้ 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
1. สื่อประเภทคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะส่วนบุคคล ( Laptop and Computer PC. ) 
2. สื่อคอมพิวเตอร์แบบพกพาหรือโน๊ตบุ๊ค ( Notebook Computer ) 
3. สื่อเทคโนโลยีประเภทเครื่องฉาย Projectors 
4. สื่อเทคโนโลยีประเภทเครื่อง DVD
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
5. สื่อเทคโนโลยีประเภท Transparency Projector 
6. สื่อเทคโนโลยีประเภทเครื่องรับโทรทัศน์ ( Television ) 
7. สื่อเทคโนโลยีแท็บเล็ต ( Tablets ) 
สื่อเทคโนโลยีที่นิยมใช้
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) ตัวอย่าง Smart Classroom 
รูปแบบที่ 1 เน้นการเรียนแบบผสมผสานจากสื่อ Multimedia 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 
รูปแบบที่ 2 เน้นการเรียนเชิงปฏิสัมพันธ์จากสื่อ Digital Podium 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ตัวอย่าง Smart Classroom
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 
รูปแบบที่ 3 เน้นการเรียนจากสื่อเครื่องฉาย Projectors และ Television 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ตัวอย่าง Smart Classroom
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 
รูปแบบที่ 4 เน้นการนาเสนอผ่านสื่อ Smart Board หรือ Interactive Board 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ตัวอย่าง Smart Classroom
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 
รูปแบบที่ 5 เน้นการเรียนจากการใช้สื่อ Tablets 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
ตัวอย่าง Smart Classroom
ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) ประโยชน์ที่ได้รับ 
 1. เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ( Sharing Knowledge ) 
 2. เกิดการแลกเปลี่ยนในเชิงทักษะความสามารถ ( Sharing Ability ) 
 3. เป็นการเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์( Mediation ) 
 4. สนองต่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีความแตกต่างกัน ( Heterogeneity ) 
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

More Related Content

What's hot

Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
Tar Bt
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
Surapon Boonlue
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Tar Bt
 
THAILAND 4.0 กับการบริหารสถานศึกษา
THAILAND 4.0 กับการบริหารสถานศึกษาTHAILAND 4.0 กับการบริหารสถานศึกษา
THAILAND 4.0 กับการบริหารสถานศึกษา
Wichit Thepprasit
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
ssuserea9dad1
 
Report it541 trainfreshy_v2.2
Report it541 trainfreshy_v2.2Report it541 trainfreshy_v2.2
Report it541 trainfreshy_v2.2
siriporn Poungpist
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02Sarawut Fuekhat
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
chaiwat vichianchai
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
Chainarong Maharak
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
Tar Bt
 
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
Prachyanun Nilsook
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
Tar Bt
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอguest082d95
 

What's hot (19)

Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Top child (best ศูนย์ปี 57)
Top child (best ศูนย์ปี 57)Top child (best ศูนย์ปี 57)
Top child (best ศูนย์ปี 57)
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
THAILAND 4.0 กับการบริหารสถานศึกษา
THAILAND 4.0 กับการบริหารสถานศึกษาTHAILAND 4.0 กับการบริหารสถานศึกษา
THAILAND 4.0 กับการบริหารสถานศึกษา
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
 
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodleคู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
 
Report it541 trainfreshy_v2.2
Report it541 trainfreshy_v2.2Report it541 trainfreshy_v2.2
Report it541 trainfreshy_v2.2
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Group 1
Group 1Group 1
Group 1
 

Similar to อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด

มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
Surapon Boonlue
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
Weerachat Martluplao
 
Educational Tech at Australia
Educational Tech at AustraliaEducational Tech at Australia
Educational Tech at Australia
Boonlert Aroonpiboon
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรIps UbonFive
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
Pornpailin
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
Tar Bt
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
dnavaroj
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
ครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
ssuserea9dad1
 
Nccit2014 pitipark
Nccit2014 pitiparkNccit2014 pitipark
Nccit2014 pitiparkAJ Pinrod
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด (20)

57 edu 3.0_080657_econs
57 edu 3.0_080657_econs57 edu 3.0_080657_econs
57 edu 3.0_080657_econs
 
06550135 e learning
06550135 e learning06550135 e learning
06550135 e learning
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Educational Tech at Australia
Educational Tech at AustraliaEducational Tech at Australia
Educational Tech at Australia
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
Science sm by kru.jiraporn
Science sm by kru.jirapornScience sm by kru.jiraporn
Science sm by kru.jiraporn
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 
Nccit2014 pitipark
Nccit2014 pitiparkNccit2014 pitipark
Nccit2014 pitipark
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 

More from Bas Kit

อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
Bas Kit
 
การเตรียมตัวเข้ามหาลัย
การเตรียมตัวเข้ามหาลัยการเตรียมตัวเข้ามหาลัย
การเตรียมตัวเข้ามหาลัย
Bas Kit
 
กำหนดการค่ายกรกฎาคม53
กำหนดการค่ายกรกฎาคม53กำหนดการค่ายกรกฎาคม53
กำหนดการค่ายกรกฎาคม53Bas Kit
 
ค่ายGotogat1
ค่ายGotogat1ค่ายGotogat1
ค่ายGotogat1Bas Kit
 
ขอพระคุณครู
ขอพระคุณครูขอพระคุณครู
ขอพระคุณครูBas Kit
 
ค่ายกรกฎาคม53
ค่ายกรกฎาคม53ค่ายกรกฎาคม53
ค่ายกรกฎาคม53
Bas Kit
 
เชื่อมคำ
เชื่อมคำเชื่อมคำ
เชื่อมคำ
Bas Kit
 

More from Bas Kit (7)

อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
 
การเตรียมตัวเข้ามหาลัย
การเตรียมตัวเข้ามหาลัยการเตรียมตัวเข้ามหาลัย
การเตรียมตัวเข้ามหาลัย
 
กำหนดการค่ายกรกฎาคม53
กำหนดการค่ายกรกฎาคม53กำหนดการค่ายกรกฎาคม53
กำหนดการค่ายกรกฎาคม53
 
ค่ายGotogat1
ค่ายGotogat1ค่ายGotogat1
ค่ายGotogat1
 
ขอพระคุณครู
ขอพระคุณครูขอพระคุณครู
ขอพระคุณครู
 
ค่ายกรกฎาคม53
ค่ายกรกฎาคม53ค่ายกรกฎาคม53
ค่ายกรกฎาคม53
 
เชื่อมคำ
เชื่อมคำเชื่อมคำ
เชื่อมคำ
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (11)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด

  • 2. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาไทย โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับ โรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมาย : ผู้บริหารโรงเรียนและครู ระหว่างวันที่ 30 ตุลาคม – 30 พฤศจิกายน 2557
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. การศึกษา กาลังศึกษาระดับปริญญาโท 2552 – 2555 ระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 2546 – 2551 ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ การทางาน 2557 วิทยากร ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2556 หัวหน้าฝ่ายบริหารจัดการเว็บไซต์ สสท. สกสค. กระทรวงศึกษาธิการ 2556 คณะทางานที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2556 คณะทางานผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 15.
  • 16.
  • 17. Topic หัวข้อการบรรยาย 1. Flipped Classroom 2. Moocs (Open Courses) 3. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 4. การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 5. Google Apps for Education 6. เทคนิควิธีใช้ระบบเครือข่ายเพื่อการจัดการเรียนรู้ LMS 7. E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ 8. ความบันเทิงภาคการเรียน Gamification for Education 9. Application for Education … 10. ระบบการจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาการเข้าถึงระบบเครือข่ายด้วยเทคโนโลยี Hybrid 11. การออกแบบและพัฒนาสื่อการสอนแบบ Cloud Learning มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 18. ภาษาถึง 13 ภาษา พื้นที่เกือบ 5 ล้าน ตร.กม. ประชากร 600 กว่าล้านคน
  • 19. นโยบายของรัฐ? IT Infrastructure? ศาสนา? Social Media? ระบบการศึกษา? เวลา ? ภาษา? ฐานะ? วัฒนธรรม? สมรรถนะ? ศักยภาพผู้สอน? Social Network? ความขยัน? ศักยภาพผู้เรียน?
  • 21. Social Media 6 ประเภท 1. Collaborative projects การทางานร่วมกันออนไลน์ เช่น Wikipedia 2. Blogs and micro blogs การสื่อสารให้คนอื่นได้รับทราบ เช่น Twitter 3. Content communities ชุมชนของเนื้อหา เช่น Youtube 4. Social networking sites เช่น Facebook 5. Virtual game worlds เกมออนไลน์ 6. Virtual social worlds ชีวิตที่สองในโลกเสมือน
  • 22. แบ่งเป็น 2 รูปแบบ แบบปิด  กลุ่มเพื่อน สังคมเฉพาะ  เครือข่ายในโรงเรียน แบบเปิด  เครือข่ายสาธารณะ
  • 23.
  • 24. Like Comment Share Cloud Green Happy
  • 25.
  • 26. ตัวอย่างแรก มีประเทศหนึ่ง สอนคนให้ทิ้งขยะลงถัง รณรงค์ หลายอย่าง แต่ก็ไม่สาเร็จ แต่พอเปลี่ยนจาก การบังคับเป็นการสร้างความสนุก ผลเป็นอย่างไร มาดูกัน
  • 28. Socrates 2.0 Game Over Try Again
  • 29. นอกจาก Social ยังมีเรื่องอื่นมาประกอบการสอนอีก •ห้องเรียน • หนังสือเล่มหนา • กระดาษดา • การส่งงานผ่านเฟรสไดร้ท์ •Worksheet • PowerPoint • Quiz/Eeercise •การเรียนยุคใหม่ • E-Book • ห้องเรียน LMS FB Page • เอกสารออนไลน์ • Document (pdf/Google Docs) • Slideshare • Google froms/Online Quiz
  • 30. สิ่งสาคัญพื้นฐานในการเรียนรู้ สร้างองค์ ความรู้ใหม่ ประเมิน วิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ ความเข้าใจ จาได้
  • 31. บันทึกตาราง เข้าเรียน บันทึกเสียง ถ่ายรูป สแกนงาน ค้นหาข้อมูล เนื้อหาการเรียน ปรึกษา งาน การบ้าน ตรวจสอบ และส่งงาน Line Line
  • 32.
  • 33.
  • 34. เซอร์จอร์น แดลแนล ยูเนสโก •เซอร์ จอร์น แดลแนล ปัจจุบันโลก เปลี่ยนไปแล้ว การเรียนหนังสือ ไม่ จาเป็นต้องเดินทางมาเรียนที่ใดที่ หนึ่งอีกแล้ว เราควรเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา
  • 35. Think BIG Integrating Social Media & Education in a BIG way
  • 37. MOOCs Massive Open Online Courses หลักสูตรออนไลน์ระบบเปิด ที่รองรับการเรียนจานวนมาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เมื่อก้าวสู่ยุคศตวรรษที่ 21 เป็นโลกแห่งเสรี การศึกษาก็เช่นเดียวกัน
  • 38. MOOCs : Massive Open Online Courses 1. หลักสูตรการเรียนแบบออนไลน์ที่สามารถสมัครเรียนได้ฟรี 2. รองรับผู้เรียนได้จานวนมหาศาล สามารถเรียนผ่านระบบเว็บไซต์ได้ 3. ใช้เครื่องมือที่เป็นระบบเปิด เช่น LMS, iTuneU, Google Apps 4. สามารถที่จะออกใบประกาศนียบัตรหลังจากผ่านการประเมินจากการทดสอบ 5. เนื้อหาแบบเปิด (open licensing of content) 6. เนื้อหาอาจเป็น วีดีโอ เสียง เอกสาร หรืออยู่ในรูปแบบอื่นๆ ที่สามารถดูออนไลน์ได้ 7. เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาผ่านระบบออนไลน์ 8. เรียนแบบ E-learning & Mobile Learning 9. Gamification 10. MOOCs ไม่ใช่เนื้อหา แต่เป็นหลักสูตร (Courses) ที่มีการเรียนและวัดผลเหมือนการเรียนปกติ 11. ในไทยเขาทากันแล้วนะ โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย 12. จะทา MOOCs ไม่จาเป็นต้องมีเว็บไซต์ สามารถใช้สังคมออนไลน์เช่น Facebook ก็ทาได้ขึ้นอยู่ กับเครื่องมือและวิธีการใช้ ของฟรีก็มีในโลก... 10 ข้อควรรู้เกี่ยวกับ MOOCs มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 39. MOOCs : Massive Open Online Courses Open Educational Resource ที่มา http://www.thailibrary.in.th/2014/06/26/moocs-2/ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 40. มีที่ไหนบ้าง... MOOCs : Massive Open Online Courses ต่างประเทศ ประเทศไทย Coursera * edX Udemy iTunesU Stanford’s Free courses MIT Open Courseware Open Yale Courses Khan Academy มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Karn.tv Khan Academy Thailand EES Club ทรูปลูกปัญญา Quipper School
  • 41.
  • 42.
  • 44.
  • 45.
  • 46. Flipped Classroom คืออะไร…? “การเรียนรู้แนวใหม่สาหรับศตวรรษที่ 21” “ห้องเรียนกลับด้าน” “................................” ทาไมใครๆ ต่างพูดถึงคาเหล่านี้ ในยุคนี้การเรียนรู้สมัยใหม่จะมาทาอะไรกับเราเรียนการสอนของการศึกษาบ้านเรา “Flipped Classroom” คือโมเดลวิเศษขนาดไหน ทาไมใครๆต่างพูดถึงกันมากมาย คาจากัดความ “กลับด้านวิธีการเรียนการสอน แนะนาแทนการทาตาม นาเสนอเนื้อหาออนไลน์นอกห้องเรียน เปลี่ยนการบ้านเป็นห้องเรียน” มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 47. อะไรที่กลับด้าน กลับด้านจาก 1. ผู้สอน พูด บอก 2. ตอบคาถามเป็น 3. ให้ข้อมูลอย่างเดียว 4. ใช้เกรดเป็นตัววัด 5. มองที่ผลลัพธ์ 6. บอกให้ทาตาม 7. นักเรียนทุกคนเรียนรู้เท่าๆกัน 8. ประเมินผลลัพธ์เชิงปริมาณ 9. เน้นให้นักเรียนสอบผ่าน 10. สอนที่โรงเรียน ทาการบ้านที่บ้าน 11. สอนเนื้อหาทั้งหมดในชั่วโมง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กลับด้านเป็น 1. ผู้แนะนา, ออกแบบ, อานวยความสะดวก 2. ตั้งคาถามเป็น 3. ให้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ 4. ใช้สิ่งที่นักเรียนจะได้รับเป็นตัววัด 5. มองที่กระบวนการ 6. ร่วมกันทาเพื่อหาคาตอบ 7. นักเรียนเรียนรู้ตามความสามารถที่แตกต่างกัน 8. สร้างผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 9. เน้นให้นักเรียนคิดเป็น 10. สอนที่บ้าน เรียนรู้เพิ่มเติมที่โรงเรียน 11. บันทึกวีดีโอการสอนเพื่อให้นักเรียนดูย้อนหลัง Flipped Classroom
  • 48. ตัวอย่างวิธีปฏิบัติ Flipped Classroom มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้เข้าอบรมช่วยกันนาเสนอ
  • 49. ถ้า คุณขับรถซึ่งบรรทุก คน 43 คน จาก กรุงเทพไปเชียงใหม่ แล้วหยุดรับอีก 7 คน ขึ้น ม า แ ล้ว ห ยุด จ อ ด ใ ห้ค น ล ง ที่ นครสวรรค์ 5 คน จนมาถึงเชียงใหม่ในอีก 9 ชั่วโมงต่อมา ถามว่าคนขับรถชื่ออะไร
  • 50. เฉลย ก็ ชื่อ คุณ นั่นแหละ ในคาถาม บอกว่าคุณคือคนขับรถ
  • 51.
  • 52. เฉลย เด็กคนที่ 8 เล่นหมากรุกับเด็กคนที่ 4
  • 53. ตัวอย่างการนาไปใช้ Flipped Classroom มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 54. เริ่มต้นง่ายๆ ด้วยตัวเอง Flipped Classroom มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ • สร้างวีดีโอการสอนหรือบันทึกวีดีโอการสอนของตัวเอง อย่างน้อย 3 วีดีโอต่อสัปดาห์ • ให้นักเรียนดูวีดีโอการสอนที่บ้านหรือที่โรงเรียน (ถ้าพวกเขาไม่มีอินเตอร์เน็ตที่บ้าน) • ในเวลาเรียนให้นักเรียนทาแล็บหรือทากิจกรรมร่วมกันปรึกษาหารือกัน
  • 55.
  • 56. Flipped Classroom ผลดีที่ได้รับ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ครูมีเวลามากขึ้นในการอธิบายเนื้อหาที่ยากจะเข้าใจให้นักเรียน นักเรียนจะทาการบ้านจนสาเร็จ เมื่อนักเรียนไม่ต้องการทาการบ้านที่บ้าน การได้ปรึกษากับเพื่อนที่โรงเรียนจะช่วยให้นักเรียนได้ทาการบ้านจนสาเร็จ เมื่อนักเรียนไม่เข้าใจบทเรียนในขณะดูวีดีโอ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเพื่อถาม และครูก็สามารถตอบคาถามกับนักเรียนแบบตัวต่อตัวได้ ครูได้มีโอกาสช่วยเหลือนักเรียนที่ผู้ปกครองไม่สามารถช่วยพวกเขาได้จากที่บ้าน ครูสามารถชี้แนะ ช่วยเหลือได้ในห้องเรียน
  • 57.
  • 58. ระบบเครือข่ายเพื่อการจัดการเรียนรู้ LMS มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ครูหาระบบการเรียนออนไลน์ฟรี สร้างวิชาที่สนใจและนามาแนะนากับนักเรียน ให้นักเรียนลงทะเบียนเข้าไปใช้งานในระบบเสริมจากการเรียนหลัก เก็บ ติดตามการใช้งานของนักเรียนในชั้นเรียน การบ้าน การทดสอบ ประเมินผล ครูนาผลการเรียนของนักเรียนร่วมพูดคุย แนะนาการหาความรู้เพิ่มเติมในเนื้อหาที่อ่อน
  • 59.
  • 60.
  • 62. คืออะไร E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ e-Learning  ทางเลือกสาหรับครูผู้สอนในการให้นักเรียนได้เรียนรู้จากหลายช่องทาง  ช่องทางทบทวนความรู้ด้วยตนเอง  สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ผ่านสังคม ออนไลน์  เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ ที่มีอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 63. การนาไปใช้ E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หลังเรียน ครูอาจตั้งคาถามใน Facebook เพื่อให้นักเรียนได้เข้ามาร่วมตอบและอภิปราย
  • 64.
  • 65. การนาไปใช้ E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ ตัวอย่าง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 66.
  • 67. ข้อดี E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ ข้อดีของ e-Learning 1. ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะเนื้อหาออนไลน์น่าสนใจ 2. ช่วยให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนได้อย่างละเอียดและ ตลอดเวลา 3. ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตนเองได้ โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลใดก่อนหรือหลัง ก็ได้ ตามพื้นฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน ทาให้ได้รับความรู้และมีการจดจาที่ดีขึ้น 4. ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน และกับเพื่อน ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ มากมาย 5. เป็นการเรียนที่ผู้เรียนแต่ละคน จะได้รับเนื้อหาของบทเรียนเหมือนเดิมทุกครั้ง 6. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ รวมทั้งเนื้อหามีความทันสมัย และตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่าง ๆ ในปัจจุบันได้อย่างทันที 7. ทาให้เกิดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียนในวงกว้างขึ้น เป็นการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 68. ตัวอย่างเว็บ E-learning กับสื่อสังคมออนไลน์ ตัวอย่างเว็บไซต์  http://www.learn.in.th/e-learning/ สถาบันพัฒนาวิชาชีพ สวทช.  http://www.e-learning.dss.go.th/ กรมวิทยาศาสตร์ บริการ  http://eDLTV.thai.net การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (eDLTV)  http://www.learnsquare.com  อื่นๆ อีกมากมาย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 71.
  • 72.
  • 75.
  • 76. คืออะไร การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ บล็อก (Blog) หรือ เว็บบล็อก (Weblog) เป็นเว็บไซต์ สาหรับเขียนบันทึก เล่าเรื่อง แบ่งปันประสบการณ์ แบ่งปันความรู้ และข่าวสาร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Blog for teacher.
  • 77. การนาไปใช้ การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ ขั้นที่ 1 เลือกเนื้อหาที่จะใช้ • ไม่ต้องใช้ทั้งภาคเรียน ควรใช้เพื่อทาให้การเรียนการสอน มีเทคนิควิธีการที่แปลกออกไป โดยมีจุดมุ่งหมาย หลักๆ ดังนี้ 1. เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้อินเทอร์เน็ตในสิ่งที่เป็นประโยชน์ 2. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการค้นคว้าข้อมูลตามหัวข้อ แล้วนามาเรียบเรียงใหม่ 3. เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียค่ากระดาษ ค่าหมึก ค่าเย็บเล่มส่งครู 4. เพื่อให้ผลงานของนักเรียนได้ถูกตรวจสอบจากผู้อื่นด้วย ทาให้ต้องมีการอ้างอิงอย่างถูกต้อง 5. เพื่อให้ครูและนักเรียนได้รู้จักกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 78. การนาไปใช้ การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ ขั้นที่ 2 สร้างบล็อกสั่งงาน  คุณครูเลือกบล็อกที่เปิดใช้บริการฟรีและทดลองสมัครใช้งาน  เรียนรู้วิธีการใช้งานระบบ ขั้นที่ 3 ให้นักเรียนสมัครสมาชิก และอธิบายการเรียนการสอนสอนโดยใช้บล็อก  แนะนาบล็อกกับนักเรียน  ให้นักเรียนสมัครเข้าใช้งาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 79. การนาไปใช้ การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ ขั้นที่ 4 การสั่งงานและส่งงาน  ให้นักเรียนสร้างบล็อกเป็นของตัวเองและคุณครูสั่งงานให้นักเรียนหาข้อมูล  การส่งงาน  อาจใช้ร่วมกับ Facebook  สร้างกลุ่มตั้งหัวข้อ  ให้นักเรียนมาโพสต์งานที่ทา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 80. การนาไปใช้ การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ 1. สมัครและสร้างบล็อกของตัวเอง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2. ครูสร้างกลุ่มใน Facebook - สั่งงานและให้นักเรียนเข้ามาส่งงาน
  • 81.
  • 82.
  • 83. ตัวอย่าง การใช้บล็อก (Blog) เพื่อการจัดการความรู้ บล็อกที่มีการเปิดให้ใช้บริการฟรี  Gotoknow.org  thaigoodview.com  blogspot.com  wordpress.org  อื่นๆ อีกมากมาย http://bit.ly/ZVVzd6 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 85. การนาไปใช้ Gamification for Education สร้างกิจกรรม การแข่งขันกลุ่ม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งคาถาม และให้นักเรียน แข่งกันหาคาตอบ สรุปด้วยสื่อที่แปลกใหม่ มีรางวัลตอบแทน เพื่อกระตุ้นความอยากรู้
  • 86.
  • 88.
  • 90. คืออะไร? Google Apps for Education มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 91. สิ่งสาคัญ Google Apps for Education มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ • Google Apps เป็นการให้บริการแบบ Cloud Services ต้องใช้อินเตอร์เน็ต • Google Apps สามารถใช้ Domain ของโรงเรียนเราในการเข้าถึงได้* หรือจะเข้าใช้โดยตรงจากหน้า google.com เลยก็ได้ • Google Apps for Education นั้นจริงๆไม่ฟรี!!! แต่ Google ใจบุญชอบให้ฟรีกับโรงเรียน?... • Google Apps for Education นั้นใช้บริการอื่นๆของ Google ได้ทั้งหมด ยกเว้นบริการสาหรับนักพัฒนา • ผู้ใช้งานทุกคนจะได้รับบัญชีผู้ใช้เป็น Gmail • คุณจะได้ Hard disk Online 30 GB ในการเก็บข้อมูลออนไลน์ • Google Apps for Education นั้นเป็นบริการพิเศษเฉพาะโรงเรียนหรือ องค์กรด้านการศึกษาเท่านั้น • คุณสามารถขอใช้ได้ฟรีผ่าน Google ประเทศไทย
  • 92. มีบริการอะไรบ้าง Google Apps for Education มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Gmail Drive Docs Sites Calendar Classroom นอกนั้นเป็นบริการปกติของ Google ที่ทุกคนสามารถใช้ได้
  • 93. ใช้งานกัน #1 Google Apps for Education วันนี้ครูจะให้นักเรียนไปหาข้อมูล ประวัติศาสตร์ แล้วส่งภายในวันอาทิตย์ นี้ แล้วแชร์มาในไดร์ฟของครู แล้ววันจันทร์เรามานาเสนอ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หนูหาข้อมูลและทาพรีเซนต์ด้วย Google Present หา ข้อมูลใน Youtube และ Google Search แล้วก็แชร์ไปที่ Google Drive ของคุณครู แล้วหนูก็ส่งอีเมล์ด้วย Gmail ให้ บอกครูแล้วด้วย นี่คือประวัติศาสตร์ของไทยสมัยสุโขทัย หนูทาผ่าน Google Present ใช้เครื่องไหนก็นาเสนอได้ เพราะไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมเลย
  • 94. ใช้งานกัน #2 Google Apps for Education นักเรียนทุกคนไปทาแบบฝึกหัดด้วยนะ จ๊ะ ครูทาไว้ใน Google form แล้วและ แชร์ให้ทุกคนไปแล้วในอีเมล์แล้ว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หนูตอบคาถามในแบบฝึกหัดจากลิ้งค์ที่ครูส่งมาในอีเมล์ เสร็จแล้วคะ ดีจังเลยสะดวกจริงๆ นี่ไงนักเรียนตอบเข้ามาแล้ว
  • 95. Hangout Google Apps for Education มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ครูและนักเรียนใช้ Hangout เพื่อสอนผ่าน Online แบบ Realtime - ช่วยเหลือหรือสอนนักเรียนโดยใช้ Hangout - ใช้ Hangout Onair เพื่อสอนผู้เรียนจานวนมาก - นักเรียนใช้ Hangout เพื่อเรียนรู้ร่วมกันแบบเห็นหน้า - Hangout Free สาหรับทุกคน
  • 96. Google Classroom Google Apps for Education - ครูเตรียมเนื้อหาแล้วส่งต่อให้กับนักเรียนทุกคน - นักเรียนทุกคนสามารถเข้ามาเรียนและส่งงาน - จัดระเบียบห้องเรียนต่างๆที่สอนโดยแบ่งเป็นกลุ่มๆ และโฟลเดอร์ที่ใช้ร่วมกันในห้องเรียน - สื่อสารร่วมกันทั้งครูและนักเรียน - ประหยัดเวลาและเงิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เริ่มต้นใช้งาน Classroom Classroom สามารถใช้ได้สาหรับทุกคนที่มีบัญชี Google Apps for Education เข้าสู่ classroom.google.com และลงชื่อเข้าใช้ เลือกว่าคุณเป็นครูหรือนักเรียน จากนั้นสร้างหรือ เข้าร่วมชั้นเรียน Classroom ขณะนี้ใช้ได้เฉพาะกับผู้ใช้ Google Apps for Education เท่านั้น
  • 98. ทาความรู้จักกับ Smart Classroom ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom)  เรียกอีกอย่างว่า “ห้องเรียนต้นแบบ”  เป็นการนาเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสื่อการเรียนรู้อิเล็คทรอนิกส์มาผสมผสานกัน  มีเครื่องมืออานวยความสะดวกมากขึ้นให้กับครูผู้สอนและผู้เรียน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 99. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) สื่อเทคโนโลยีที่นิยมใช้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1. สื่อประเภทคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะส่วนบุคคล ( Laptop and Computer PC. ) 2. สื่อคอมพิวเตอร์แบบพกพาหรือโน๊ตบุ๊ค ( Notebook Computer ) 3. สื่อเทคโนโลยีประเภทเครื่องฉาย Projectors 4. สื่อเทคโนโลยีประเภทเครื่อง DVD
  • 100. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 5. สื่อเทคโนโลยีประเภท Transparency Projector 6. สื่อเทคโนโลยีประเภทเครื่องรับโทรทัศน์ ( Television ) 7. สื่อเทคโนโลยีแท็บเล็ต ( Tablets ) สื่อเทคโนโลยีที่นิยมใช้
  • 101. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) ตัวอย่าง Smart Classroom รูปแบบที่ 1 เน้นการเรียนแบบผสมผสานจากสื่อ Multimedia มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 102. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) รูปแบบที่ 2 เน้นการเรียนเชิงปฏิสัมพันธ์จากสื่อ Digital Podium มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตัวอย่าง Smart Classroom
  • 103. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) รูปแบบที่ 3 เน้นการเรียนจากสื่อเครื่องฉาย Projectors และ Television มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตัวอย่าง Smart Classroom
  • 104. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) รูปแบบที่ 4 เน้นการนาเสนอผ่านสื่อ Smart Board หรือ Interactive Board มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตัวอย่าง Smart Classroom
  • 105. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) รูปแบบที่ 5 เน้นการเรียนจากการใช้สื่อ Tablets มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตัวอย่าง Smart Classroom
  • 106. ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) ประโยชน์ที่ได้รับ  1. เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ( Sharing Knowledge )  2. เกิดการแลกเปลี่ยนในเชิงทักษะความสามารถ ( Sharing Ability )  3. เป็นการเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์( Mediation )  4. สนองต่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีความแตกต่างกัน ( Heterogeneity ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 107.
  • 108.