SlideShare a Scribd company logo
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยยินดีต้อนรับเข้าสู่ค่ายวิชาการ๓๑  มกราคม ๒๕๕๓ณ โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม
ระดับของภาษาไทย       ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ต้องเปลี่ยนระดับภาษาให้เหมาะกับกาลเทศะและบุคคล เมื่อใช้ภาษาต่างเวลา ต่างสถานที่ และต่างฐานะบุคคลกัน ต้องเลือกสรรใช้ถ้อยคำต่างกัน ทั้ง ๆ ที่ต้องการให้มีความหมายเดียวกัน ในการพูดหรือการเขียนทั่ว ๆ ไป สามารถแบ่งคำในภาษาไทยออกเป็น ๓ ระดับ ดังนี้     ๑.ภาษาแบบแผน      ๒.ภาษากึ่งแบบแผน      ๓.ภาษาปาก
ภาษาแบบแผน คือ ภาษาที่ยอมรับกันว่าเป็นภาษาที่ถูกต้องดีงาม และประณีต เป็นภาษาที่ใช้ในระดับพิธีการและระดับทางการ เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนตำรา ในการติดต่อราชการ เป็นต้น  ภาษากึ่งแบบแผน คือ ภาษาที่ใช้ในการสนทนาที่ต้องรักษามารยาท หรือสนทนาระหว่างผู้มีฐานะต่างกัน รวมทั้งภาษาเขียนที่ไม่รู้ว่าผู้อ่านจะเป็นใครบ้าง เป็นภาษาที่ใช้ในระดับกึ่งทางการ หรือไม่เป็นทางการ เป็นภาษาที่ใช้พูดหรือเขียนในที่ชุมนุมชน เช่น การอภิปราย การพูดทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การเขียนข่าวหรือบทความทั่วไป เป็นต้น     ภาษาปาก คือ ภาษาที่เป็นภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียน เป็นภาษาระดับกันเอง เช่น ภาษาที่ใช้พูดจาติดต่อกันในชีวิตประจำวัน ภาษาที่ใช้ในธุรกิจส่วนตัว ภาษาที่ใช้กับเพื่อนสนิท เป็นต้น
    การเลือกใช้คำทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนให้เหมาะสมกับระดับภาษาเป็นสิ่งสำคัญที่จะแสดงว่าผู้ใช้ภาษาเป็นผู้มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสม    
ระดับของภาษาโดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น ๕ ระดับ ดังนี้ ๑. ระดับพิธีการ คือภาษาที่ใช้ในพระราชพิธีหรือกิจกรรมที่จัดขึ้นอย่างเป็นพิธีการ ตัวอย่างเช่นภาษาที่ใช้ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร การกล่าวเปิดประชุม การกล่าวรายงานการจัดงานทางรัฐพิธี การกล่าวคำถวายพระพรแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เป็นต้น ตัวอย่างภาษาระดับมาตรฐานราชการ     ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแห่งสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราช      จงคุ้มครองประเทศชาติและประชาชาวไทยให้ผ่านพ้นสรรพอุปัทว์พิบัติ     ทั้งปวง อริราชศัตรูภาบนอกอย่าล่วงเข้าทำอันตรายได้ ศัตรูหมู่พาลภาย     ในให้วอดวายพ่ายแพ้ภัยตัว บันดาลความสุขความมั่นคงให้บังเกิดทั่ว     ภูมิมณฑล บันดาลความร่มเย็นแก่อเนกนิกรชนครบคามเขตขอบขัณฑสีมา"
๒. ระดับทางการ คือภาษาที่ใช้ในการบรรยาย การอภิปราย หรือการเขียนข้อความที่ปรากฏต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ เช่น การอภิปรายในรัฐสภาการบรรยายพิเศษของวิทยากร ในการประชุมสัมมนา เป็นต้น ตัวอย่างภาษาระดับมาตรฐานราชการในบทความวิชาการ"บทละครไทยเป็นอีกรูปเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรมไทย บทละครของไทยเป็นวรรณกรรมที่ประพันธ์ขึ้นทั้งเพื่ออ่านและเพื่อแสดง รูปแบบที่นิยมกันมาแต่เดิมคือบทละครรำ ต่อมามีการปรับปรุงละครรำให้ทันสมัยขึ้นตามความนิยมแบบตะวันตก จึงมีรูปแบบใหม่เกิดขึ้น ได้แก่ ละครดึกดำบรรพ์ ละครพันทาง เป็นต้น  ๓. ภาษาระดับกึ่งทางการ เป็นภาษาที่เราใช้กันมากในชีวิตประจำวัน เช่นภาษาที่ใช้ในการประชุมกลุ่มย่อย การบรรยายเนื้อหาวิชาในชั้นเรียน      ภาษาที่ปรากฏในข่าวและบทความในหนังสือพิมพ์ เป็นต้น ตัวอย่างภาษาระดับกึ่งทางการในบทความแสดงความคิดเห็น"ฉะนั้นในช่วงเรียนอยู่ในระดับมัธยม ผู้ที่มีความขยันมุ่งมั่นจะเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้จะไม่สนใจสิ่งแวดล้อมรอบกายทั้งสิ้น ยกเว้นสิ่งที่เขาคิดว่าจะสามารถทำให้เขาสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ ชีวิตนักเรียนมัธยมจึงมีแต่ติวติวและติว
   ๔. ภาษาระดับไม่เป็นทางการ เป็นภาษาที่ใช้ในการสนทนาในกลุ่มเล็ก ๆที่มีประมาณ ๓-๔ คน ในโอกาสทั่วไปที่ไม่เป็นทางการ เช่นการสนทนาของผู้    ร่วมประชุมระหว่างการพักรับประทานอาหารว่าง การสนทนาระหว่างเพื่อนร่วมงานในขณะพักรับประทานอาหารกลางวัน เรื่องที่สนทนาก็เป็นเรื่องทั่วไปไม่จำกัดเฉพาะวิชาการ๕. ภาษาระดับกันเอง เป็นการใช้ภาษาพูดคุยระหว่างคนคุ้นเคยและคนสนิท มักใช้ในวงจำกัดที่ต้องการความเป็นส่วนตัว เช่น การสนทนาภายในครอบครัว การสนทนากับเพื่อสนิท เป็น ตัวอย่างการใช้ภาษาระดับกันเองหรือภาษาปากในนวนิยาย"มึงจะไปไหน ไอ้มั่น...กูสั่งให้ปล่อยมันไว้อย่างนั้น ไม่ต้องสนใจ กูอยากนั่งดูมัน        มองมันตายช้าๆเลือดไหลออกจนหมดตัว และหยุดหายใจในที่สุด ถึงจะสมกับ        ความแค้นของกู"
ตัวอย่างการเปรียบเทียบระดับภาษา      
การใช้ภาษาไม่ว่าระดับใดก็ตาม ต้องให้คนในกลุ่มสังคมนั้นสามารถสื่อสารกันได้เข้าใจ และควรคำนึงถึงความถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะเป็นสำคัญ เพื่อให้กระบวนการสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น เพราะมิเช่นนั้นภาษาอาจทำให้เกิดปัญหาในกระบวนการสื่อสารได้ เนื่องจากว่ามีความแตกต่างกันในการใช้ภาษา ซึ่งอาจเกิดจาก อายุและประสบการณ์อาชีพ การศึกษา ฐานะทางสังคม เพศ             จะเห็นได้ว่าในกระบวนการสื่อสารนั้น ต้องอาศัยภาษาเป็นเครื่องมือ ทั้ง วัจนภาษาและอวัจนภาษา เพื่อให้การสื่อสารประสบความสำเร็จ และการสื่อสารจะประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบของการสื่อสารที่เหมาะสม เพราะทุกองค์ประกอบต่างก็เอื้อต่อกระบวนการสื่อสารด้วยกันทั้งสิ้น
...สวัสดี...

More Related Content

What's hot

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
งานแผ่นพับ
งานแผ่นพับงานแผ่นพับ
งานแผ่นพับ
saojung
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
พัน พัน
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
candy109
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
pop Jaturong
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
Sasithorn Fakkaew
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
pop Jaturong
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
Aj.Mallika Phongphaew
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
kingkarn somchit
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Aj.Mallika Phongphaew
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
Ponpirun Homsuwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
kingkarn somchit
 

What's hot (20)

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
งานแผ่นพับ
งานแผ่นพับงานแผ่นพับ
งานแผ่นพับ
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
111
111111
111
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 

Similar to ระดับของภาษา

Language
LanguageLanguage
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
Sumalee Klom
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
Thidarat Termphon
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
nongnoch
 
Pdca เขมร
Pdca เขมรPdca เขมร
Pdca เขมรItnog Kamix
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
pop Jaturong
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
DisneyP
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
chartphysic
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ssusere4367d
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2kruthirachetthapat
 
04 standard+188
04 standard+18804 standard+188
04 standard+188
Prachoom Rangkasikorn
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศthanakit553
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
Ku'kab Ratthakiat
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
Teacher Sophonnawit
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
Boonlert Aroonpiboon
 

Similar to ระดับของภาษา (20)

Language
LanguageLanguage
Language
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Pdca เขมร
Pdca เขมรPdca เขมร
Pdca เขมร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
 
04 standard+188
04 standard+18804 standard+188
04 standard+188
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ระดับของภาษา

  • 2. ระดับของภาษาไทย       ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ต้องเปลี่ยนระดับภาษาให้เหมาะกับกาลเทศะและบุคคล เมื่อใช้ภาษาต่างเวลา ต่างสถานที่ และต่างฐานะบุคคลกัน ต้องเลือกสรรใช้ถ้อยคำต่างกัน ทั้ง ๆ ที่ต้องการให้มีความหมายเดียวกัน ในการพูดหรือการเขียนทั่ว ๆ ไป สามารถแบ่งคำในภาษาไทยออกเป็น ๓ ระดับ ดังนี้     ๑.ภาษาแบบแผน      ๒.ภาษากึ่งแบบแผน      ๓.ภาษาปาก
  • 3. ภาษาแบบแผน คือ ภาษาที่ยอมรับกันว่าเป็นภาษาที่ถูกต้องดีงาม และประณีต เป็นภาษาที่ใช้ในระดับพิธีการและระดับทางการ เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนตำรา ในการติดต่อราชการ เป็นต้น  ภาษากึ่งแบบแผน คือ ภาษาที่ใช้ในการสนทนาที่ต้องรักษามารยาท หรือสนทนาระหว่างผู้มีฐานะต่างกัน รวมทั้งภาษาเขียนที่ไม่รู้ว่าผู้อ่านจะเป็นใครบ้าง เป็นภาษาที่ใช้ในระดับกึ่งทางการ หรือไม่เป็นทางการ เป็นภาษาที่ใช้พูดหรือเขียนในที่ชุมนุมชน เช่น การอภิปราย การพูดทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การเขียนข่าวหรือบทความทั่วไป เป็นต้น    ภาษาปาก คือ ภาษาที่เป็นภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียน เป็นภาษาระดับกันเอง เช่น ภาษาที่ใช้พูดจาติดต่อกันในชีวิตประจำวัน ภาษาที่ใช้ในธุรกิจส่วนตัว ภาษาที่ใช้กับเพื่อนสนิท เป็นต้น
  • 5. ระดับของภาษาโดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น ๕ ระดับ ดังนี้ ๑. ระดับพิธีการ คือภาษาที่ใช้ในพระราชพิธีหรือกิจกรรมที่จัดขึ้นอย่างเป็นพิธีการ ตัวอย่างเช่นภาษาที่ใช้ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร การกล่าวเปิดประชุม การกล่าวรายงานการจัดงานทางรัฐพิธี การกล่าวคำถวายพระพรแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เป็นต้น ตัวอย่างภาษาระดับมาตรฐานราชการ ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแห่งสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราช จงคุ้มครองประเทศชาติและประชาชาวไทยให้ผ่านพ้นสรรพอุปัทว์พิบัติ ทั้งปวง อริราชศัตรูภาบนอกอย่าล่วงเข้าทำอันตรายได้ ศัตรูหมู่พาลภาย ในให้วอดวายพ่ายแพ้ภัยตัว บันดาลความสุขความมั่นคงให้บังเกิดทั่ว ภูมิมณฑล บันดาลความร่มเย็นแก่อเนกนิกรชนครบคามเขตขอบขัณฑสีมา"
  • 6. ๒. ระดับทางการ คือภาษาที่ใช้ในการบรรยาย การอภิปราย หรือการเขียนข้อความที่ปรากฏต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ เช่น การอภิปรายในรัฐสภาการบรรยายพิเศษของวิทยากร ในการประชุมสัมมนา เป็นต้น ตัวอย่างภาษาระดับมาตรฐานราชการในบทความวิชาการ"บทละครไทยเป็นอีกรูปเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรมไทย บทละครของไทยเป็นวรรณกรรมที่ประพันธ์ขึ้นทั้งเพื่ออ่านและเพื่อแสดง รูปแบบที่นิยมกันมาแต่เดิมคือบทละครรำ ต่อมามีการปรับปรุงละครรำให้ทันสมัยขึ้นตามความนิยมแบบตะวันตก จึงมีรูปแบบใหม่เกิดขึ้น ได้แก่ ละครดึกดำบรรพ์ ละครพันทาง เป็นต้น ๓. ภาษาระดับกึ่งทางการ เป็นภาษาที่เราใช้กันมากในชีวิตประจำวัน เช่นภาษาที่ใช้ในการประชุมกลุ่มย่อย การบรรยายเนื้อหาวิชาในชั้นเรียน ภาษาที่ปรากฏในข่าวและบทความในหนังสือพิมพ์ เป็นต้น ตัวอย่างภาษาระดับกึ่งทางการในบทความแสดงความคิดเห็น"ฉะนั้นในช่วงเรียนอยู่ในระดับมัธยม ผู้ที่มีความขยันมุ่งมั่นจะเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้จะไม่สนใจสิ่งแวดล้อมรอบกายทั้งสิ้น ยกเว้นสิ่งที่เขาคิดว่าจะสามารถทำให้เขาสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ ชีวิตนักเรียนมัธยมจึงมีแต่ติวติวและติว
  • 7. ๔. ภาษาระดับไม่เป็นทางการ เป็นภาษาที่ใช้ในการสนทนาในกลุ่มเล็ก ๆที่มีประมาณ ๓-๔ คน ในโอกาสทั่วไปที่ไม่เป็นทางการ เช่นการสนทนาของผู้ ร่วมประชุมระหว่างการพักรับประทานอาหารว่าง การสนทนาระหว่างเพื่อนร่วมงานในขณะพักรับประทานอาหารกลางวัน เรื่องที่สนทนาก็เป็นเรื่องทั่วไปไม่จำกัดเฉพาะวิชาการ๕. ภาษาระดับกันเอง เป็นการใช้ภาษาพูดคุยระหว่างคนคุ้นเคยและคนสนิท มักใช้ในวงจำกัดที่ต้องการความเป็นส่วนตัว เช่น การสนทนาภายในครอบครัว การสนทนากับเพื่อสนิท เป็น ตัวอย่างการใช้ภาษาระดับกันเองหรือภาษาปากในนวนิยาย"มึงจะไปไหน ไอ้มั่น...กูสั่งให้ปล่อยมันไว้อย่างนั้น ไม่ต้องสนใจ กูอยากนั่งดูมัน มองมันตายช้าๆเลือดไหลออกจนหมดตัว และหยุดหายใจในที่สุด ถึงจะสมกับ ความแค้นของกู"
  • 9. การใช้ภาษาไม่ว่าระดับใดก็ตาม ต้องให้คนในกลุ่มสังคมนั้นสามารถสื่อสารกันได้เข้าใจ และควรคำนึงถึงความถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะเป็นสำคัญ เพื่อให้กระบวนการสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น เพราะมิเช่นนั้นภาษาอาจทำให้เกิดปัญหาในกระบวนการสื่อสารได้ เนื่องจากว่ามีความแตกต่างกันในการใช้ภาษา ซึ่งอาจเกิดจาก อายุและประสบการณ์อาชีพ การศึกษา ฐานะทางสังคม เพศ จะเห็นได้ว่าในกระบวนการสื่อสารนั้น ต้องอาศัยภาษาเป็นเครื่องมือ ทั้ง วัจนภาษาและอวัจนภาษา เพื่อให้การสื่อสารประสบความสำเร็จ และการสื่อสารจะประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบของการสื่อสารที่เหมาะสม เพราะทุกองค์ประกอบต่างก็เอื้อต่อกระบวนการสื่อสารด้วยกันทั้งสิ้น