SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาเขมร) ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5         ปี การศึกษา 2555
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 ภาษาเขมรในชีวิตประจําวัน                      เวลา         ตลอดปี การศึกษา
แผนที่ 1 เรื่ อง การฟังและการพูดภาษาเขมร                     เวลา                     1 ชวโมง
                                                                                            ั่
วันที่ ....... เดือน .............................. พ.ศ. ………         ผู้สอน นางสาวไพจิตตรี กรชม

1. สาระสําคัญ
           ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา ลักษณะของภาษาเขมร เสียง คําและประโยคถ้อยคําของสํานวน
ที่ใช้โดยทัวไป การทักทาย การขอโทษ ขอบคุณและอําลา การแนะนําตัว การกล่าวถึงบุคคลใกล้ตวและเรื่ องใกล้
            ่                                                                                       ั
ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รู ปร่ าง ส่ วนสูง สิ่ งต่างๆ จํานวนนับ สี ขนาด ตําแหน่งสิ่งของ อาหาร เครื่ องดื่ม การบอก
วันเวลา การบอกทิศทาง สัตว์ การซื้อของ ภูมิประเทศและฤดูกาล สุขภาพและอนามัย การท่องเที่ยว ภายในวง
คําศัพท์ประมาณ 120 – 200 คา (คาศพทที่เป็นรูปธรรม) พัฒนาทักษะการสื่อสารทั้งการฟังและการพูดภาษาเขมร
                                   ํ ํ ั ์
เพื่อเตรี ยมพร้อมสําหรับการสู่การเป็ นประชาคมอาเซียนต่อไป

2. มาตรฐานการเรียนรู้
       ต 1.1 : เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
       ต 1.2 : มีทกษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
                   ั
                อย่างมีประสิ ทธิภาพ
       ต 1.3 : นําเสนอข้อมูลข่าวสารความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆโดยการพูดและการเขียน
       ต 2.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนําไปใช้ได้อย่าง
               เหมาะสมกับกาลเทศะ
       ต 3.1 : ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กบกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นและเป็ นพื้นฐานในการ
                                                           ั
                 พัฒนา แสวงหาความรู ้และเปิ ดโลกทัศน์ของตน
       ต 4.1 : ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม

3. ตวชี้วด/จุดประสงค์การเรียนรู้
    ั ั
         ตวชี้วด
          ั ั
         ต 1.1 ป 1/1 ปฏิบติตามคําสังง่ายๆ ที่ฟัง
                              ั       ่
         ป 1/3         เลือกภาพตรงตามความหมายของคําและกลุ่มคําที่ฟัง
                 ป 1/4 ตอบคําถามจากการฟังเรื่ องใกล้ตว
                                                     ั
         ต 1.2 ป 1/1 พดโตตอบดวยคาส้ นๆ ง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง
                           ู ้     ้ ํ ั
                 ป 1/2 ใช้คาสังง่ายๆ ตามแบบที่ฟัง
                             ํ ่
                 ป 1/3 บอกความต้องการง่ายๆ ของตนเองตามแบบที่ฟัง
                 ป 1/4 พดขอและใหขอมลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟัง
                         ู          ้ ้ ู
ต 1.3 ป 1/1 พดใหขอมลเกี่ยวกบตนเองและเรื่องใกลตว
                          ู ้ ้ ู        ั                   ้ั
        ต 2.1 ป 1/1 พูดและทําท่าประกอบ ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
        ต 3.1 ป 1/1 บอกคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น
        ต 4.1 ป 1/1 ฟัง/พดในสถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยน
                            ู
        จุดประสงค์การเรียนรู้
        1. สามารถฟังและพูดภาษาเขมรของคําและกลุ่มคําเบื้องต้นได้
        2. สามารถปฏิบติตามคําสัง ฟังและพูดตามสถานการณ์เบื้องต้นที่เกิดขึ้นได้
                        ั         ่
        3. สามารถบอกคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นได้
        4. มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา

4. สาระการเรียนร้ ู
       สาระการเรียนรู้แกนกลาง
       1. การฟังภาษาเขมร
       2. การพูดภาษาเขมร

5. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
       1. ความสามารถในการสื่อสาร
       2. ความสามารถในการใชทกษะชีวิต
                             ้ ั

6. คณลกษณะอนพงประสงค์
    ุ ั        ั ึ
        คุณลักษณะอังพึงประสงค์ 8 ประการ

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้
       กระบวนการ Listen to Say
             1. ขั้นสังเกต รับรู ้
             2. ขั้นฝึก/ปฏิบติ
                             ั
             3. ขั้นนําไปใช้

9. กจกรรมการเรียนร้ ู
      ิ
         9.1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
             1. ครู แจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกเรี ยนทราบ
                                                  ั
             2. ครู ถามนักเรี ยนในชั้นว่า ในห้องใครที่สามารถพูดและฟังภาษาเขมรได้บาง(ไม่มี) และถามต่อ
                                                                                      ้
อีกว่าใครเคยได้ยนคําพูดภาษาเขมรบ้าง(เคย) แล้วนักเรี ยนเคยสงสัยไหมคําที่เขาพูดนั้นแปลว่าอะไร ัย)
                  ิ                                                                          (สงส
             3. ครู ทกทายนักเรี ยนเป็ นภาษาเขมร พร้อมทั้งอธิบายให้ นักเรี ยน ฟัง เกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้น
                         ั
เกี่ยวกับประเทศกัมพูชา การใช้ชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรม ลักษณะของภาษาเขมร เสียง คําและประโยค
ถ้อยคําของสํานวนที่ใช้โดยทัวไป ซึ่งนักเรี ยนจะต้องพูดและฟังภายในวงคําศัพท์ประมาณ
                            ่                                                                  120 – 200 คา
                                                                                                          ํ
(คาศพทที่เป็นรูปธรรม) และใช้ภาษาเขมรในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม
   ํ ั ์
          9.2 ขั้นสอน
              ข้ นสั งเกต รับรู้
                   ั
                 1. ครู แนะนําตัวเองเป็ นภาษาเขมรให้นกเรี ยนฟัง ดังตัวอย่างนี้ “ กรู ชะเมาะ ไพจิตตรี กรชม
                                                     ั
ชะเมาะลีง กรู มิก เกิอดมะนึ ซรกกุดเวียน เคตตาพระยา กรู เมียนบองกะมม มวยเนี๊ยะ บองกันเลาะ มวยเนี๊ยะ
เอยปะเตียหาวกรู ทา มม กรู เดงอัญเยยคะแมตะปี โกนกะเมง เกอะซรกกรู เจือมเจียแดนคะแม เปรอคะแมอัญเยย
คะเนีย แตเนอะซรกมันเมนมะนึคะแม อาวกรู เกิอดมะนึเซียม แตเดงอัญเยย ตะเซ เริ๊ อบคะแมบานหมอด งัย
แนะกรู นองปะเกือบโกนโรงเรนสดับ อัญเยยคะแมกรบคะเนียจ๊ ะ”
                   2. แปลความหมายทีละคําให้นกเรี ยนฟัง “ครู ชื่อไพจิตตรี กรชม ชื่อเล่น ครู มิก เป็ นคนบ้าน
                                              ั
กุดเวียน อําเภอตาพระยา มีพี่สาว 1 คน พี่ชาย 1 คน ที่บานเรี ยกครู ว่า มม (ใชเ้ รียกลกสาวคนเลก) ครู พดเขมร
                                                      ้                            ู         ็       ู
เป็ นตั้งแต่เด็กๆ เพราะบ้านครู ติดชายแดนเขมร เลยใช้ภาษาเขมรพูดคุยกัน แต่ในหมู่บานไม่ใช่คนเขมร พ่อครู
                                                                                     ้
เป็ นคนไทย แต่พด เขียน อ่าน ภาษาเขมรได้หมด วันนี้ครู จะสอนเด็กนักเรี ยนฟัง พูดเขมรทุกคนค่ะ”
                    ู
                3. ครู เขียนคําอ่านทีละคํา และพูดให้นกเรี ยนพูดตาม พร้อมความหมาย
                                                     ั
                 4. ให้นกเรี ยนลองแนะนําตัวเองเป็ นภาษาเขมร เช่น ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น หมู่บาน อําเภออะไร
                                   ั                                                         ้
                 5. ให้นกเรี ยนจับคู่ แล้วสลับกันพูดและฟัง เพื่อให้เกิดทักษะ
                              ั
                 6. ครูนาบตรคาที่เป็นตวเลขไทย ๐ – ๙ ติดบนกระดาน แล้วให้นกเรี ยนนับเลขพร้อมๆ กัน
                                ํ ั ํ        ั                                  ั
                 7. ครู สอนนักเรี ยนนับตัวเลขเป็ นภาษาเขมรตั้งแต่ 1 – 5 ก่อนแล้วแนะนําว่าถ้าเป็ นเลข 6 จะ
เกิดจากการรวมกันของ 5 กบ 1 เช่น มวย ปี ร์ เบ็ย บวน ปรํา ปรํามวย ปรําปี ร์ ปรําเบ็ย ปรําบวน
                                     ั
                 8. ครู นาบัตรภาพต่างๆ ติดที่หน้ากระดาน 5 -10 ภาพ(ในแต่ละวน) แล้วถามนักเรี ยนทีละภาพ
                                 ํ                                            ั
ว่าคือภาพอะไร หลังจากที่นกเรี ยนตอบได้แล้วว่าแต่ละภาพนั้นหมายถึงอะไร ครู จึงบอกคําอ่านแบบภาษาเขมร
                                       ั
ทีละภาพและเขียนคําอ่านของแต่ลาคํา สอนให้นกเรี ยนพูด ออกเสียงตามทุกๆ ภาพ
                                           ํ       ั
                 9. ติดบัตรภาพวันละ 5 – 10 ภาพ(ทุกๆ วันที่ทาการสอน) และทําการสอนนักเรี ยนตามขั้นตอน
                                                              ํ
ทุกๆ วัน และบางครั้งอาจนําคําเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ในการแต่งเป็ นประโยคสั้นๆ หรื อเป็ นบทสนทนากัน
              ข้ นฝึ ก/ปฏิบัติ
                    ั
               10. ใหนกเรียนฝึ กพูด ฝึ กฟังจากคําสังที่ครู กาหนดให้
                         ้ ั                          ่     ํ      ภายในวงคําศัพท์ประมาณ 120 – 200 คา   ํ
(คาศพทที่เป็นรูปธรรม)
   ํ ั ์
              ข้ นนําไปใช้
                  ั
               11. ใหนกเรียนนําคําศัพท์ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในแต่ละวัน
                          ้ ั
               12. ใหใช้ภาษาเขมรในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม
                       ้
        9.3 ขั้นสรุ ป
             1. นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปเรื่ องการฟังและการพูดภาษาเขมร
             2. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนซักถาม และแสดงความคิดเห็น
                                         ั
10. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
          1. หนังสือเรี ยนการอ่านภาษาเขมรเบื้องต้น(ฉบบศึกษาดวยตนเอง)
                                                     ั      ้
          2. www.google.com/ภาษาเขมร

11. การวัดผลประเมินผลการเรียน
       11.1 ตัวบ่ งชี้ความสําเร็จ นักเรี ยนร้อยละ 80.00 มีความรู้ความสามารถดังนี้
                1. ความสามารถในการสื่อสาร
                2. ความสามารถในการใชทกษะชีวิต้ ั
                3. สามารถฟังและพูดภาษาเขมรของคําและกลุ่มคําเบื้องต้นได้
                4. สามารถปฏิบติตามคําสัง ฟังและพูดตามสถานการณ์เบื้องต้นที่เกิดขึ้นได้
                                  ั        ่
                5. สามารถบอกคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นได้
                6. มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา
                7. คุณลักษณะอังพึงประสงค์ 8 ประการ
       11.2 วธีการวด / ประเมนผล
              ิ       ั         ิ
            1. สังเกตทักษะการบอกความหมายของบตรภาพ    ั
            2. สังเกตทักษะการฟังและพูดภาษาเขมร
            3. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
            4. ประเมินสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน ด้านมีความสามารถในการสื่อสารและทักษะการใช้ชีวิต
       11.3 เครื่องมือวัด / ประเมนผลและเกณฑ์การวัดผล
                                    ิ
           1. แบบสังเกตทักษะการบอกความหมายของบตรภาพ       ั
            2. แบบสังเกตทักษะการฟังและพูดภาษาเขมร
            3. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
            4. แบบประเมินสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยนด้านความสามารถในการสื่อสารและทักษะการใช้ชีวิต

12. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
13. ข้ อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา
              ข้ อเสนอแนะของรองผู้อานวยการโรงเรียนวัดพวงนิมต
                                                     ํ                                             ิ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................


                                                                                                         (ลงชื่อ).................................................
                                                                                                                  ( นายสมศักดิ์ แสงแจ่ม )
                                                                                                           รองผูอานวยการโรงเรี ยนวัดพวงนิมิต
                                                                                                                   ้ํ

              ข้ อเสนอแนะของผู้อานวยการโรงเรียนวัดพวงนิมต
                                              ํ                                              ิ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................


                                                                                                             (ลงชื่อ).................................................
                                                                                                                       ( นายสมยศ เพ็ชรวงษา)
                                                                                                                   ผูอานวยการโรงเรี ยนวัดพวงนิมิต
                                                                                                                     ้ํ
                                                                                                                      ……… / ……… / ………
14. บันทึกหลังสอน
              14.1 ผลการเรี ยนรู ้ / ปั ญหา / อุปสรรค
              จากการจัดการเรี ยนการสอน มีนกเรี ยนทั้งหมด ................... คน มีผลการประเมินตามตัวชี้วดดังนี้
                                                                   ั                                                                                               ั
                      1.1 ผูเ้ รี ยนที่ ผ่ าน ตวช้ ีวด มีจานวน ...............................คน คิดเป็ นร้อยละ................
                                                      ั ั                  ํ
                      1.2 ผูเ้ รี ยนที่ ไม่ ผ่าน ตวช้ ีวด มีจานวน ...............................คน คิดเป็ นร้อยละ................
                                                           ั ั               ํ
และนักเรี ยนมีความรู ้ ความสามารถดังนี้
             1. มีความสามารถในการสื่อสาร                                           ด้านปริ มาณ ................................
             ด้านคุณภาพ ................................
             2. มีความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ด้านปริ มาณ ................................
                                                             ั
                                                                                                ด้านคุณภาพ ................................
             3. สามารถฟังและพูดภาษาเขมรของคําและกลุ่มคําเบื้องต้นได้ ด้านปริ มาณ ................................
                                                                                                                           ด้านคุณภาพ ................................
             4. สามารถปฏิบติตามคําสัง ฟังและพูดตามสถานการณ์เบื้องต้นที่เกิดขึ้นได้
                                        ั               ่
               ด้านปริ มาณ ................................
                                                                                                                           ด้านคุณภาพ ................................
             5. สามารถบอกคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นได้ ด้านปริ มาณ ................................
                                                                                                                           ด้านคุณภาพ ................................
             6. มีความรู ้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา ด้านปริ มาณ ................................
                                                                                                                           ด้านคุณภาพ ................................
             7. คุณลักษณะอังพึงประสงค์ 8 ประการได้ ด้านปริ มาณ ................................
                                                                                                                           ด้านคุณภาพ ................................
ดังนั้นนักเรี ยนมีความเข้าใจในเรื่ อง...การฟังและการพูดภาษาเขมรได้
      คิดเป็ นร้อยละ ด้านปริ มาณ ................................                                                          ด้านคุณภาพ ................................
              14.2 แนวทางแก้ไข
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
              14.3 ผลการแก้ไข
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

                                                                               (ลงชื่อ) ...................................................... ผสอน
                                                                                                                                                ู้
                                                                                            ( นางสาวไพจิตตรี กรชม )
                                                                                             ……… / ……… / ………
ข้ อเสนอแนะครูพเี่ ลียง         ้
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................


                                                                                        (ลงชื่อ) .................................................. ครู พี่เลี้ยง
   ( นางอมรา กิจเรื องศรี )
         ครู ชานาญการพิเศษ
              ํ

ข้ อเสนอแนะหัวหน้ าช่ วงชั้น
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................


                                                                                     (ลงชื่อ) ......................................... หัวหน้าช่วงชั้น
                                                                                              ( นายโกศล กิจเจริ ญธํารงค์ )
        ครู ชานาญการพิเศษ
             ํ

More Related Content

What's hot

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
Nanthida Chattong
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์KruBowbaro
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง KruBowbaro
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาพัน พัน
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยเพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยครูเจริญศรี
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
Ladawan Munchit
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 

What's hot (20)

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระแบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระ
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยเพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Thipa Srichompoo
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
Teacher Sophonnawit
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
Sumalee Klom
 
คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1Prawly Jantakam
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
aphithak
 
Chi p.1
Chi p.1Chi p.1
Chi p.1
Maliwan Kanwa
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
บทที่ ๓
บทที่ ๓บทที่ ๓
บทที่ ๓
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
 
Smile1 unit1
Smile1 unit1Smile1 unit1
Smile1 unit1
 
คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
Chi p.1
Chi p.1Chi p.1
Chi p.1
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาเขมร) ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5 ปี การศึกษา 2555 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 ภาษาเขมรในชีวิตประจําวัน เวลา ตลอดปี การศึกษา แผนที่ 1 เรื่ อง การฟังและการพูดภาษาเขมร เวลา 1 ชวโมง ั่ วันที่ ....... เดือน .............................. พ.ศ. ……… ผู้สอน นางสาวไพจิตตรี กรชม 1. สาระสําคัญ ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา ลักษณะของภาษาเขมร เสียง คําและประโยคถ้อยคําของสํานวน ที่ใช้โดยทัวไป การทักทาย การขอโทษ ขอบคุณและอําลา การแนะนําตัว การกล่าวถึงบุคคลใกล้ตวและเรื่ องใกล้ ่ ั ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รู ปร่ าง ส่ วนสูง สิ่ งต่างๆ จํานวนนับ สี ขนาด ตําแหน่งสิ่งของ อาหาร เครื่ องดื่ม การบอก วันเวลา การบอกทิศทาง สัตว์ การซื้อของ ภูมิประเทศและฤดูกาล สุขภาพและอนามัย การท่องเที่ยว ภายในวง คําศัพท์ประมาณ 120 – 200 คา (คาศพทที่เป็นรูปธรรม) พัฒนาทักษะการสื่อสารทั้งการฟังและการพูดภาษาเขมร ํ ํ ั ์ เพื่อเตรี ยมพร้อมสําหรับการสู่การเป็ นประชาคมอาเซียนต่อไป 2. มาตรฐานการเรียนรู้ ต 1.1 : เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ต 1.2 : มีทกษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ั อย่างมีประสิ ทธิภาพ ต 1.3 : นําเสนอข้อมูลข่าวสารความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆโดยการพูดและการเขียน ต 2.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนําไปใช้ได้อย่าง เหมาะสมกับกาลเทศะ ต 3.1 : ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กบกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นและเป็ นพื้นฐานในการ ั พัฒนา แสวงหาความรู ้และเปิ ดโลกทัศน์ของตน ต 4.1 : ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม 3. ตวชี้วด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ั ั ตวชี้วด ั ั ต 1.1 ป 1/1 ปฏิบติตามคําสังง่ายๆ ที่ฟัง ั ่ ป 1/3 เลือกภาพตรงตามความหมายของคําและกลุ่มคําที่ฟัง ป 1/4 ตอบคําถามจากการฟังเรื่ องใกล้ตว ั ต 1.2 ป 1/1 พดโตตอบดวยคาส้ นๆ ง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง ู ้ ้ ํ ั ป 1/2 ใช้คาสังง่ายๆ ตามแบบที่ฟัง ํ ่ ป 1/3 บอกความต้องการง่ายๆ ของตนเองตามแบบที่ฟัง ป 1/4 พดขอและใหขอมลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟัง ู ้ ้ ู
  • 2. ต 1.3 ป 1/1 พดใหขอมลเกี่ยวกบตนเองและเรื่องใกลตว ู ้ ้ ู ั ้ั ต 2.1 ป 1/1 พูดและทําท่าประกอบ ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ต 3.1 ป 1/1 บอกคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น ต 4.1 ป 1/1 ฟัง/พดในสถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยน ู จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถฟังและพูดภาษาเขมรของคําและกลุ่มคําเบื้องต้นได้ 2. สามารถปฏิบติตามคําสัง ฟังและพูดตามสถานการณ์เบื้องต้นที่เกิดขึ้นได้ ั ่ 3. สามารถบอกคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นได้ 4. มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา 4. สาระการเรียนร้ ู สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. การฟังภาษาเขมร 2. การพูดภาษาเขมร 5. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการใชทกษะชีวิต ้ ั 6. คณลกษณะอนพงประสงค์ ุ ั ั ึ คุณลักษณะอังพึงประสงค์ 8 ประการ 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการ Listen to Say 1. ขั้นสังเกต รับรู ้ 2. ขั้นฝึก/ปฏิบติ ั 3. ขั้นนําไปใช้ 9. กจกรรมการเรียนร้ ู ิ 9.1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู แจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกเรี ยนทราบ ั 2. ครู ถามนักเรี ยนในชั้นว่า ในห้องใครที่สามารถพูดและฟังภาษาเขมรได้บาง(ไม่มี) และถามต่อ ้ อีกว่าใครเคยได้ยนคําพูดภาษาเขมรบ้าง(เคย) แล้วนักเรี ยนเคยสงสัยไหมคําที่เขาพูดนั้นแปลว่าอะไร ัย) ิ (สงส 3. ครู ทกทายนักเรี ยนเป็ นภาษาเขมร พร้อมทั้งอธิบายให้ นักเรี ยน ฟัง เกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้น ั เกี่ยวกับประเทศกัมพูชา การใช้ชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรม ลักษณะของภาษาเขมร เสียง คําและประโยค
  • 3. ถ้อยคําของสํานวนที่ใช้โดยทัวไป ซึ่งนักเรี ยนจะต้องพูดและฟังภายในวงคําศัพท์ประมาณ ่ 120 – 200 คา ํ (คาศพทที่เป็นรูปธรรม) และใช้ภาษาเขมรในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม ํ ั ์ 9.2 ขั้นสอน  ข้ นสั งเกต รับรู้ ั 1. ครู แนะนําตัวเองเป็ นภาษาเขมรให้นกเรี ยนฟัง ดังตัวอย่างนี้ “ กรู ชะเมาะ ไพจิตตรี กรชม ั ชะเมาะลีง กรู มิก เกิอดมะนึ ซรกกุดเวียน เคตตาพระยา กรู เมียนบองกะมม มวยเนี๊ยะ บองกันเลาะ มวยเนี๊ยะ เอยปะเตียหาวกรู ทา มม กรู เดงอัญเยยคะแมตะปี โกนกะเมง เกอะซรกกรู เจือมเจียแดนคะแม เปรอคะแมอัญเยย คะเนีย แตเนอะซรกมันเมนมะนึคะแม อาวกรู เกิอดมะนึเซียม แตเดงอัญเยย ตะเซ เริ๊ อบคะแมบานหมอด งัย แนะกรู นองปะเกือบโกนโรงเรนสดับ อัญเยยคะแมกรบคะเนียจ๊ ะ” 2. แปลความหมายทีละคําให้นกเรี ยนฟัง “ครู ชื่อไพจิตตรี กรชม ชื่อเล่น ครู มิก เป็ นคนบ้าน ั กุดเวียน อําเภอตาพระยา มีพี่สาว 1 คน พี่ชาย 1 คน ที่บานเรี ยกครู ว่า มม (ใชเ้ รียกลกสาวคนเลก) ครู พดเขมร ้ ู ็ ู เป็ นตั้งแต่เด็กๆ เพราะบ้านครู ติดชายแดนเขมร เลยใช้ภาษาเขมรพูดคุยกัน แต่ในหมู่บานไม่ใช่คนเขมร พ่อครู ้ เป็ นคนไทย แต่พด เขียน อ่าน ภาษาเขมรได้หมด วันนี้ครู จะสอนเด็กนักเรี ยนฟัง พูดเขมรทุกคนค่ะ” ู 3. ครู เขียนคําอ่านทีละคํา และพูดให้นกเรี ยนพูดตาม พร้อมความหมาย ั 4. ให้นกเรี ยนลองแนะนําตัวเองเป็ นภาษาเขมร เช่น ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น หมู่บาน อําเภออะไร ั ้ 5. ให้นกเรี ยนจับคู่ แล้วสลับกันพูดและฟัง เพื่อให้เกิดทักษะ ั 6. ครูนาบตรคาที่เป็นตวเลขไทย ๐ – ๙ ติดบนกระดาน แล้วให้นกเรี ยนนับเลขพร้อมๆ กัน ํ ั ํ ั ั 7. ครู สอนนักเรี ยนนับตัวเลขเป็ นภาษาเขมรตั้งแต่ 1 – 5 ก่อนแล้วแนะนําว่าถ้าเป็ นเลข 6 จะ เกิดจากการรวมกันของ 5 กบ 1 เช่น มวย ปี ร์ เบ็ย บวน ปรํา ปรํามวย ปรําปี ร์ ปรําเบ็ย ปรําบวน ั 8. ครู นาบัตรภาพต่างๆ ติดที่หน้ากระดาน 5 -10 ภาพ(ในแต่ละวน) แล้วถามนักเรี ยนทีละภาพ ํ ั ว่าคือภาพอะไร หลังจากที่นกเรี ยนตอบได้แล้วว่าแต่ละภาพนั้นหมายถึงอะไร ครู จึงบอกคําอ่านแบบภาษาเขมร ั ทีละภาพและเขียนคําอ่านของแต่ลาคํา สอนให้นกเรี ยนพูด ออกเสียงตามทุกๆ ภาพ ํ ั 9. ติดบัตรภาพวันละ 5 – 10 ภาพ(ทุกๆ วันที่ทาการสอน) และทําการสอนนักเรี ยนตามขั้นตอน ํ ทุกๆ วัน และบางครั้งอาจนําคําเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ในการแต่งเป็ นประโยคสั้นๆ หรื อเป็ นบทสนทนากัน  ข้ นฝึ ก/ปฏิบัติ ั 10. ใหนกเรียนฝึ กพูด ฝึ กฟังจากคําสังที่ครู กาหนดให้ ้ ั ่ ํ ภายในวงคําศัพท์ประมาณ 120 – 200 คา ํ (คาศพทที่เป็นรูปธรรม) ํ ั ์  ข้ นนําไปใช้ ั 11. ใหนกเรียนนําคําศัพท์ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในแต่ละวัน ้ ั 12. ใหใช้ภาษาเขมรในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม ้ 9.3 ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปเรื่ องการฟังและการพูดภาษาเขมร 2. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนซักถาม และแสดงความคิดเห็น ั
  • 4. 10. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรี ยนการอ่านภาษาเขมรเบื้องต้น(ฉบบศึกษาดวยตนเอง) ั ้ 2. www.google.com/ภาษาเขมร 11. การวัดผลประเมินผลการเรียน 11.1 ตัวบ่ งชี้ความสําเร็จ นักเรี ยนร้อยละ 80.00 มีความรู้ความสามารถดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการใชทกษะชีวิต้ ั 3. สามารถฟังและพูดภาษาเขมรของคําและกลุ่มคําเบื้องต้นได้ 4. สามารถปฏิบติตามคําสัง ฟังและพูดตามสถานการณ์เบื้องต้นที่เกิดขึ้นได้ ั ่ 5. สามารถบอกคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นได้ 6. มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา 7. คุณลักษณะอังพึงประสงค์ 8 ประการ 11.2 วธีการวด / ประเมนผล ิ ั ิ 1. สังเกตทักษะการบอกความหมายของบตรภาพ ั 2. สังเกตทักษะการฟังและพูดภาษาเขมร 3. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ 4. ประเมินสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน ด้านมีความสามารถในการสื่อสารและทักษะการใช้ชีวิต 11.3 เครื่องมือวัด / ประเมนผลและเกณฑ์การวัดผล ิ 1. แบบสังเกตทักษะการบอกความหมายของบตรภาพ ั 2. แบบสังเกตทักษะการฟังและพูดภาษาเขมร 3. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ 4. แบบประเมินสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยนด้านความสามารถในการสื่อสารและทักษะการใช้ชีวิต 12. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ...............................................................................................................................................................................
  • 5. 13. ข้ อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา ข้ อเสนอแนะของรองผู้อานวยการโรงเรียนวัดพวงนิมต ํ ิ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)................................................. ( นายสมศักดิ์ แสงแจ่ม ) รองผูอานวยการโรงเรี ยนวัดพวงนิมิต ้ํ ข้ อเสนอแนะของผู้อานวยการโรงเรียนวัดพวงนิมต ํ ิ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)................................................. ( นายสมยศ เพ็ชรวงษา) ผูอานวยการโรงเรี ยนวัดพวงนิมิต ้ํ ……… / ……… / ………
  • 6. 14. บันทึกหลังสอน 14.1 ผลการเรี ยนรู ้ / ปั ญหา / อุปสรรค จากการจัดการเรี ยนการสอน มีนกเรี ยนทั้งหมด ................... คน มีผลการประเมินตามตัวชี้วดดังนี้ ั ั 1.1 ผูเ้ รี ยนที่ ผ่ าน ตวช้ ีวด มีจานวน ...............................คน คิดเป็ นร้อยละ................ ั ั ํ 1.2 ผูเ้ รี ยนที่ ไม่ ผ่าน ตวช้ ีวด มีจานวน ...............................คน คิดเป็ นร้อยละ................ ั ั ํ และนักเรี ยนมีความรู ้ ความสามารถดังนี้ 1. มีความสามารถในการสื่อสาร ด้านปริ มาณ ................................ ด้านคุณภาพ ................................ 2. มีความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ด้านปริ มาณ ................................ ั ด้านคุณภาพ ................................ 3. สามารถฟังและพูดภาษาเขมรของคําและกลุ่มคําเบื้องต้นได้ ด้านปริ มาณ ................................ ด้านคุณภาพ ................................ 4. สามารถปฏิบติตามคําสัง ฟังและพูดตามสถานการณ์เบื้องต้นที่เกิดขึ้นได้ ั ่ ด้านปริ มาณ ................................ ด้านคุณภาพ ................................ 5. สามารถบอกคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นได้ ด้านปริ มาณ ................................ ด้านคุณภาพ ................................ 6. มีความรู ้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา ด้านปริ มาณ ................................ ด้านคุณภาพ ................................ 7. คุณลักษณะอังพึงประสงค์ 8 ประการได้ ด้านปริ มาณ ................................ ด้านคุณภาพ ................................ ดังนั้นนักเรี ยนมีความเข้าใจในเรื่ อง...การฟังและการพูดภาษาเขมรได้ คิดเป็ นร้อยละ ด้านปริ มาณ ................................ ด้านคุณภาพ ................................ 14.2 แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... 14.3 ผลการแก้ไข ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) ...................................................... ผสอน ู้ ( นางสาวไพจิตตรี กรชม ) ……… / ……… / ………
  • 7. ข้ อเสนอแนะครูพเี่ ลียง ้ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) .................................................. ครู พี่เลี้ยง ( นางอมรา กิจเรื องศรี ) ครู ชานาญการพิเศษ ํ ข้ อเสนอแนะหัวหน้ าช่ วงชั้น ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) ......................................... หัวหน้าช่วงชั้น ( นายโกศล กิจเจริ ญธํารงค์ ) ครู ชานาญการพิเศษ ํ