SlideShare a Scribd company logo
ระดับภาษาและ
การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง
THA203 ครั้งที่ 3
วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ทดสอบก่อนเรียน
ภาษามีกี่ระดับ อะไรบ้าง จงยกตัวอย่างประกอบ
• ภาษาแบบเป็นทางการ
• ภาษาแบบไม่เป็นทางการ
• ตัวอย่างการใช้ภาษาระดับต่าง ๆ
• ภาษาพูด-ภาษาเขียน
• หลักการใช้ภาษาที่ถูกต้อง
ระดับภาษา
ระดับทางการ ระดับไม่ทางการ
• ภาษาระดับพิธีการ
• ภาษาระดับมาตรฐาน
• ราชการ
• ภาษาระดับกึ่งทางการ
• ภาษาระดับสนทนา
• ภาษาระดับกันเอง
1.ภาษาแบบเป็นทางการ ภาษาที่ใช้อย่าง
เป็นทางการมีลักษณะเป็นพิธีการ ถูกต้อง
ตามแบบแผนของภาษาเขียน
(1.1) ภาษาระดับพิธีการ เป็นภาษาที่สมบูรณ์แบบ รูป
ประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ มีความประณีต
งดงาม อาจใช้ประโยคที่ซับซ้อนและใช้คาระดับสูง
ภาษาระดับนี้จะใช้ในโอกาส สาคัญ ๆ เช่น งาน ราชพิธี
วรรณกรรมชั้นสูง เป็นต้น
(1.2) ภาษาระดับมาตรฐานราชการ หรือ อาจเรียกว่า ภาษาทางการ /
ภาษาราชการ เป็นภาษาที่สมบูรณ์แบบ รูปประโยคถูกต้องตามหลัก
ไวยากรณ์ เน้นความชัดเจน ตรงประเด็นเป็นสาคัญ ใช้ในโอกาส สาคัญ ที่
เป็นทางการ เช่นหนังสือราชการวิทยานิพนธ์ รายงานทางวิชาการ การกล่าว
ปราศรัย การกล่าวเปิดงานสาคัญ ๆ เป็นต้น
ภาษาแบบไม่เป็นทางการ ภาษาที่ไม่เคร่งครัดตามแบบแผน มักใช้ในการสื่อสารทั่วไปใน
ชีวิตประจาวัน หรือ โอกาสทั่วๆ ไปที่ไม่เป็นทางการ
2.1) ภาษาระดับกึ่งทางการ เป็นภาษาที่ยังคงความสุภาพแต่ไม่เคร่งครัดแบบภาษาทางการ
บางครั้งอาจใช้ภาษาระดับสนทนามาปนอยู่ด้วย มันใช้ในการติดต่อธุรกิจการงาน หรือใช้สื่อสาร
กับบุคคลที่ไม่คุ้นเคย หรือ มีคุณวุฒิ และ วัยวุฒิสูงกว่า หรือการบรรยาย การประชุมต่างๆ รวมทั้ง
ใช้ในงานเขียนที่ไม่เป็นทางการเพื่อให้งานเขียนนั้นดูไม่เครียดจนเกินไป เช่น สารคดี บทวิจารณ์
เกี่ยวกับบันเทิงคดีต่างๆ เป็น
2.2) ภาษาระดับสนทนา เป็นภาษาที่ใช้สนทนาโต้ตอบกับบุคคลที่รู้จักในสถานทหรือเวลาที่ไม่
เป็นการส่วนตัว หรือสนทนากับบุคคลที่ยังไม่คุ้นเคย รวมทั้งใช้เจรจาซื้อขายทั่วไป และการประชุม
ที่ไม่เป็นทางการ ภาษาที่ใช้มักมีรูปประโยคง่ายๆ ที่สามารถเข้าใจทันที แต่ยังคงความสุภาพ เช่น
ภาษาที่ใช้ในการรายงานข่าวโทรทัศน์ การเจรจาในเชิงธุระทั่วไป เป็นต้น
ตัวอย่างการใช้ภาษาระดับต่าง ๆ
“...ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแห่งสมเด็จพระบุรพ-มหา กษัตริยาธิ
ราช จงคุ้มครองประเทศชาติและประชาชาวไทยให้ ผ่านพ้นสรรพ
อุปัทวพิบัติทั้งปวง อริราชศัตรูภายนอกอย่าล่วง เข้าทาอันตรายได้
ศัตรูหมู่พาลภายในให้วอดวายพ่ายแพ้ภัย ตัว บันดาลความสุขความ
มันคงให้บังเกิดทั่วภูมิมณฑล บันดาลความร่มเย็นแก่ อเนกนิกรชน
ครบคามเขตขอบ
ขัณฑสีมา...”
“... บทละครไทยเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรม ไทยเป็น
วรรณกรรมที่ประพันธ์ขึ้นทั้งเพื่ออ่านและเพื่อแสดง รูปแบบที่นิยมกัน
มาแต่เดิมคือบทละครราต่อมามีการปรับปรุง ละครราให้ทันสมัยขึ้น
ตามความนิยมแบบตะวันตกจึงมีรูปแบบ ใหม่เกิดขึ้น ได้แก่ ละครดึก
ดาบรรพ์ ละครพันทาง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการรับรูปแบบละครจาก
ตะวันตกมาดัดแปลงให้ เข้ากับสังคมไทยและวัฒนธรรมไทย ทาให้การ
ละครไทย พัฒนาขึ้นโดยมีกระบวนการแสดงที่แตกต่างไปจากละคร
ไทยที่ มีอยู่มาเป็นละครร้อง ละครพูดและละครสังคม”
“... ฉะนั้นในช่วงเรียนอยู่ระดับมัธยม ผู้ที่ขยัน มุ่งมั่นจะเข้า
มหาวิทยาลัยให้ได้จะไม่สนใจสิ่งแวดล้อม รอบกายทั้งสิ้นยกเว้นสิ่งที่
เขาคิดว่าจะสามารถทาให้เขา สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ชีวิตนักเรียน
มัธยมจึงมีแต่ติว ติวและติว กีฬาฉันไม่เล่น กิจกรรมฉันไม่มีเวลาทา
และยิ่งห้องสมุดฉันไม่ทราบว่าจะเข้าไปทาไมเพราะเวลา ทั้งหมด
จะต้องใช้ท่องตาราอย่างเดียวแล้วก็มักจะ ประสบความสาเร็จตามที่
คิดเสียด้วย คือ สอบเช้า มหาวิทยาลัยได้..”
“...จากกรณีที่หลวงพ่อคูณปริสุทโธ เกจิดังแห่งวัด บ้านไร่ ต.กุดพิมาน
อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา ได้อาพาธลงอย่างกะทันหัน มีอาการ
อ่อนเพลียอย่าง หนักเนื่องจากต้องตรากตราทาพิธีปลุกเสกวัตถุมงคล
และเคาะหัวให้กับบรรดาศิษยานุศิษย์จนไม่มีเวลา พักผ่อนเกิดอาการ
หน้ามืดจนกระทั่งลูกศิษย์ต้องหาม ส่งโรงพยาบาลมหาราชนายแพทย์
เจ้าของไข้ได้ตรวจ ร่างกายแล้วแจ้งให้ทราบว่าเป็นไข้หวัด”
“.... มึงจะไปไหนไอ้มั่นกูสั่งให้ปล่อยมันไว้ อย่างนั้นไม่
ต้องสนใจกูอยากนั่งดูมันมองมันตาย ช้าๆ เลือดไหล
ออกจนหมดตัวและหยุดหายใจในที่สุดถึง จะสมกับ
ความแค้นของกู...”
“... บิ๊กจา เตรียมเดินเครื่องวางงานกีฬายาว จะเสนอ
เป็นคณะกรรมาธิการวุฒิสภาการกีฬาดันงบ หนุน
ซีเกมส์ เอเชียนเกมส์ หร้อยกับความเป็น เจ้าเหรียญ
ทองส่วนสมาคมตะกร้อรัว่าแตกเป็นเสี่ยง ให้พิสูจน์
กันในตะกร้อคิงส์คัพหนที่ ๑๒ ใครผลงานดีได้
พิจารณามาทาทีมชาติ”
ภาษาพูด-ภาษาเขียน
ภาษาพูด
• ภาษาที่ใช้สื่อสารทางวาจาในชีวิตประจาวัน
• ใช้ในงานเขียนที่ไม่เป็นทางการ เช่น บทความ
วิจารณ์ข่าว ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา หรือใน
วรรณกรรมประเภทต่าง ๆ
ภาษาพูดสามารถเลือกใช้ถ้อยคาได้หลายระดับ
ขึ้นกับโอกาสที่พูดและฐานะชองบุคคลที่สื่อสาร
ด้วย แต่จะไม่เคร่งครัดมากนัก
ระดับภาษาที่เป็นภาษาพูด ได้แก่ ระดับ
สนทนา ภาษาระดับกันเอง
ภาษาเขียน
ภาษาที่เป็นลายลักษณ์อักษร ใช้เขียนเพื่อบันทึกไว้เป็น หลักฐาน
สามารถนามาอ้างอิงได้
ภาษาเขียนที่ใช้ในงานเอกสารที่เป็นทางการจะใช้ภาษา
มาตรฐาน (ภาษาทางการ) ยึดหลักการใช้ภาษาที่ถูกต้อง อ่านเข้าใจง่าย
และไม่นาภาษาพูดมาปะปน
ระดับภาษาที่จัดเป็นภาษาเขียน ได้แก่
ภาษาระดับพิธีการ ระดับมาตรฐานราชการ
ภาษาระดับกึ่งทางการ จัดเป็นภาษา
เขียนที่ไม่เคร่งครัดนัก
หลักการใช้ภาษา
การใช้คา
• ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
• ความหมาย
• ระดับของคา
การเน้นเสียงหนัก – เบา ในภาษาไทย
เสียงสูง – ต่า = ภาษาไทย
เสียงหนัก – เบา = ภาษาอังกฤษ
บัลเล่ต์ บัลเล่ต์
เน้นหนักที่ท้ายคา
คาสองพยางค์ เก้าอี้-- > เน้นที่พยางค์ที่ 2
คาสามพยางค์ เก้าอี้โยก --> เน้นที่พยางค์ที่ 2, 3
คาสี่พยางค์ หรือมากกว่า เน้นที่ใด?
การเน้นทาให้ความหมายและ
หน้าที่ของคาเปลี่ยนหรือไม่?
• เธอจะได้มาเมื่อไหร่
• เธอจะได้มาเมื่อไหร่
การออกเสียงเน้นหนักเบา มีลักษณะเป็นสามัญ จึงทาให้เราไม่เห็นความสาคัญ
เสียงสั้น – ยาว บ่งความหมาย
 รูปสระ และไม้ไต่คู้
 เสียงสั้นยาว มีหลายระดับ (สระ)
•สั่นยังกับเจ้าเข้า
•จ่ายเงินเกินกาหนด
•ร้องไห้ให้เสียงน้าตา
•ล้างน้าให้ดีอย่าใช้ช้า
•น้าตา ตาน้า
•เปล่า ฉันไม่ได้เล่า
เสียงใดนั้น เสียงใดยาว
รสไพเราะของถ้อยคา
“ คนควรพูดภาษาสเปนกับเทพยดา
พูดฝรั่งเศสกับเพื่อน พูดเยอรมันกับศัตรู
และพูดอิตาเลียนกับสตรี”
จักรพรรดิ์ชาร์ลที่ห้า
สมัยกลาง = ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสาร
ค.ศ. 1572 = Henri Estienne (นักนิรุกติศาสตร์)
ภาษามีไว้เพื่อสื่อความหมาย
เสียง ห ฮ
เสียงการหายใจเข้าออกมากจากช่องหลอดลมโดยแรง ใช้แสดงอารมณ์
หรือเลียนเสียงธรรมชาติ ฮะ
ฮ่ะ
ฮา
ฮึ
หา
ฮื่อ
เฮ้ย
เสียง - ความหมาย
เสียงสูง ต่า กาหนดความหมาย
บางคาวรรณยุกต์ต่าง แต่ความหมายคล้าย
• โกง โก่ง
• แกน แก่น
• รวม ร่วม
• เดียว เดี่ยว
• หนักหนา นักหนา
หมดX Xหมด
หมดเสียง -- เสียงหมด
หมดรูป -- รูปหมด
หมดเงิน -- เงินหมด
หมดดี -- ดีหมด
รักหมด -- หมดรัก
เป็นได้ทั้งคากริยา และคาขยายกริยา
เรื่องของ ใจ
ใจร้อน -- ใจเย็น
ใจแคบ -- ใจกว้าง
เป็นใจ -- ตายใจ
ใจดี -- ดีใจ
แข็งใจ -- อ่อนใจ
ใจอ่อน -- ใจแข็ง
ได้ใจ -- เสียใจ
ใจน้อย -- น้อยใจ
อุปมา
เป็น
• ทาหน้าเป็น น่าหมั่นไส้
• แม่อยากให้ฉันเป็นครู ฉันไม่เป็นหรอก
• เจ็บคราวนี้เป็นตายเท่ากัน
• ลูกเป็นห่วงผูกคอ
• จะเอาเศษผ้าไปทาเนอะไรนะ
เป็น -- >
• มีสามานยนามขยาย : วิชานี้เป็นวิชาที่น่าสนใจ
• มีสรรพนามขยาย : ถ้าฉันเป็นเธอ
• มีสมุหนามขยาย : วัววิ่งมาเป็นฝูงๆ
• มีคาบอกลาดับขยาย :เข้าวิ่งเข้ามาเป็นที่หนึ่ง
• มีคาวิเศษณ์ขยาย : เขาอยากเป็นใหญ่เป็นโต
• มีคาเขื่อมขยาย : ข้อคิดย่อมเป็นของผู้เขียน
• เป็นคากริยา :อยากให้ทาให้เป็นนะ
• เป็นคาขยายคานาม : เขาจับนกเป็นๆมาถอนขน
• เป็นคาขยายกริยา :เขาใช้คนเป็น
เรียงคา เรียงความ
การใช้ประโยค
• การใช้ประโยชน์ต้องพิจารณาให้
ประโยค
• ถูกต้อง
• กะทัดรัด
• ชัดเจน
• สละสลวย
• ลาดับคาในประโยคถูกต้อง
ใครใช้ให้ไป
ให้ใครไปใช้
ไปใช้ใครให้
ใช้ให้ใครไป
ใช้ใครไปให้
เรียงประโยค
องค์ประกอบของประโยค คาที่นามาเรียงกันจะเป็นประโยคได้ก็ต่อเมื่อมีภาคประธานและภาคแสดง
• แมวเล่นในสวน
• แมว (ประธาน) เล่น (อกรรมกริยา) ในสวน (ขยายกริยา)
• อารีขายผลไม้ทุกวัน
• อารี(ประธาน) ขาย(สกรรมกริยา) ผลไม้ (กรรม) ทุกวัน(ขยาย
กริยา)
• ภารโรงสมนึกเป็ นคนดี
• ภารโรง(ประธาน) สมนึก(ขยายประธาน) เป็น (วิกตรรถ
กริยา) คนดี(ขยายกริยา)
• ประโยคประธาน หมายถึงประโยคที่เอาผู้กระทาขึ้นต้นประโยค เช่น แดงเตะตะกร้อ
• ประโยคกรรม หมายถึง ประโยคที่เอาผู้กระทาขึ้นต้นประโยค เช่น นักเรียนถูกครูตาหนิ
• ประโยคกริยา หมายถึง ประโยคที่เอากริยา เกิด มี ปรากฏ ขึ้นต้นประโยค เช่น มีข้าวใน
นา
• ประโยคการิต หมายถึง ประธานของประโยคประโยคกรรมมีผู้รับใช้แทรกเข้ามา เช่น
คุณแม่ให้ฉันรดน้าต้นไม้ (ประธานมีผู้รับใช้) หนังสือถูกครูให้นักเรียนอ่าน(กรรมมีผู้รับ
ใช้) เพื่อนให้ฉันทาการบ้าน(ประธานมีผู้รับใช้)
รูปประโยคหลักของไทย มี 4 แบบ
การจาแนกประโยคตามเจตนาผู้ส่งสาร มี 4 ชนิด
• ประโยคบอกเล่าหรือประโยคแจ้งให้ทราบ
• ประโยคคาถาม
• ประโยคปฏิเสธ
• ประโยคคาสั่งและขอร้อง
ชนิดของประโยค ชนิดของประโยคในภาษาไทยแบ่งตามลักษณะ
• ประโยคความเดียว(เอกรรถประโยค)
• ประโยคความรวม(อเนกรรถประโยค)
ข้อควรระวัง
สับหน้า สับหลัง
• รักษาให้ดี อย่าให้เสียหาย
• รักษาให้ดีอย่าให้หายเสีย
การเลือกใช้คา ข้อควรระวังการใช้คา
งานนาเสนอคาบหน้า

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Aj.Mallika Phongphaew
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
พัน พัน
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
kingkarn somchit
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Ppor Elf'ish
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
Aj.Mallika Phongphaew
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิงแผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
Aing Aingg
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
candy109
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
pinyada
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
justymew
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
kingkarn somchit
 

What's hot (19)

ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิงแผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 

Similar to Tha203 3

Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
pop Jaturong
 
งานแผ่นพับ
งานแผ่นพับงานแผ่นพับ
งานแผ่นพับ
saojung
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
CUPress
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787
CUPress
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
Ponpirun Homsuwan
 

Similar to Tha203 3 (20)

ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
งานแผ่นพับ
งานแผ่นพับงานแผ่นพับ
งานแผ่นพับ
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

More from SasiwimolKongsuwan

Tha464 6
Tha464 6Tha464 6
Tha203 6
Tha203 6Tha203 6
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha464 5
Tha464 5Tha464 5
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 2.1
Tha464 2.1Tha464 2.1
Tha464 2.1
SasiwimolKongsuwan
 
Tha464 1
Tha464 1Tha464 1
Tha203 1
Tha203 1Tha203 1

More from SasiwimolKongsuwan (8)

Tha464 6
Tha464 6Tha464 6
Tha464 6
 
Tha203 6
Tha203 6Tha203 6
Tha203 6
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
Tha464 5
Tha464 5Tha464 5
Tha464 5
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
Tha464 2.1
Tha464 2.1Tha464 2.1
Tha464 2.1
 
Tha464 1
Tha464 1Tha464 1
Tha464 1
 
Tha203 1
Tha203 1Tha203 1
Tha203 1
 

Tha203 3